SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
วิช าค่า ยพัฒ นา
         ทัก ษะภาษา
เรื่อ ง แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย
               จัด ทำา โดย
         นางสาวรุ่ง นภา ปัญ ญาดี
         รหัสห้อ ง D5 ชัน ปี 3
               5381123284
                        ้
                  เสนอ
              อาจารย์ พัฐ ฬภ
               รณ์  พรชุต ิ
          มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ
          บ้า นสมเด็จ เจ้า พระยา
แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย น
   ในการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และเสริมสร้างความ
  เป็นพลเมืองอาเซียนให้ผู้เรียนจะช่วยเพิ่มศักยภาพใน
  การเรียนรู้ให้ผู้เรียน อันจะเป็นพลังการขับเคลื่อนการ
  พัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียนในทุกพืนทีอย่างมี
                                               ้ ่
 ประสิทธิภาพ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
      ฐานโดยสำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
     พิจารณาเห็นว่า มีความจำาเป็นอย่างยิ่งทีจะสร้าง
                                             ่
 ศักยภาพให้แก่สถานศึกษาและเขตพื้นทีการศึกษาเกี่ยว
                                         ่
 กับความเป็นประชาคมอาเซียน เพือเตรียมความพร้อม
                                     ่
              ในการเป็นประชาคมอาเซียน
บทนำบเคลื่อนประชาคมอาเซียนในมิตยอาเซีย น
การขั า การจัด กิจ กรรมค่า ิด้านการศึกษาได้
     กำาหนดเป้าหมายเพื่อก้าวสู่ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน โดยให้ความสำาคัญต่อความเสริมสร้าง
  ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ในประเด็นการ
                                  ิ
เสริมสร้าง โอกาสด้านการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างเท่า
เทียม การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษา
  ในภูมภาคทุกระดับ การส่งเสริมความร่วมมือด้านเครือ
        ิ
    ข่ายเยาวชน ตลอดจนการส่งเสริมความเข้าใจอันดี
   ระหว่างกัน โดยกระบวนการเชื่อมโยง และเสริมสร้าง
          ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค
                                       ิ
วิชาการและมาตรฐานการศึกษาให้ความสำาคัญในการขับ
  เคลื่อนการเรียนรู้ประชาคมอาเซียนสู่สถานศึกษา โดย
 เน้นการสร้างความตระหนัก การเสริมสร้างความรู้ ความ
     เข้าใจในการเป็นประชาคมอาเซียน ดังนันเพือเพิ่ม
                                              ้     ่
   ศักยภาพในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างสูงสุดสำานักงาน
  คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยสำานักวิชาการ
                                 ้
     และมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่าการสร้าง
  ศักยภาพให้แก่นกเรียนเป็นเรื่องสำาคัญทีมผลต่อการเตรี
                   ั                      ่ ี
  ยมความพร้อมความเป็นประชาคมอาเซียน จึงได้จัดเล็ง
เห็นการจัดกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์เป็นวิธีที่ดที่สดสำาหรับ
                                                ี ุ
  การเริ่มทีจะเรียนรู้ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและได้จัดทำา
            ่
 เอกสารการจัดกิจกรรมค่ายอาเซียน เพือเป็นแนวในการ
                                        ่
จัดกิจกรรมค่ายเพือเตรียมความพร้อมของเด็กไทยในการ
                     ่
    อยู่ร่วมกับประชากรของประเทศต่างๆ ในประชาคม
                           อาเซียน
การศึกษาเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาเด็กให้มความรู้
                                                  ี
 และทักษะ การส่งเสริมด การจัด ค่า ย
                 แนวคิ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของ
    เด็กให้มทกษะการเรียนรู้บรรลุตามจุดมุงหมายของ
             ี ั                         ่
   หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช
                                   ้
2551 และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
 ด้านเด็กให้ได้มาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามตามหลักสูต
   รกำาหนด โดยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
จิตใจ และอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ทีเน้นการ
                                                ่
ฝึกปฏิบัติจริง ตอบสนองความสามารถ ความถนัดและความ
    สนใจของเด็ก การสร้างองค์ความรู้และค้นพบความ
  สามารถของตนเอง โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ตาม
  ความถนัดและความสนใจของตนเอง มีส่วนร่วมในการ
ลงมือปฏิบัติ สร้างความตระหนักและเกิดองค์ความรู้ ตลอด
จนสร้างสรรค์ผลงานที่มคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น อันจะส่ง
                        ี
ผลประโยชน์สูงสุดกับเด็กให้เป็นผู้มนสัยรักการเรียนรู้และ
                                  ี ิ
พัฒนาเป็นคนไทยทีมความสมบูรณ์ เป็นคนดีมปัญญาและมี
                    ่ ี                    ี
สนับสนุน รวมถึงป้องกันและแก้ปัญหาของนักเรียน ค่าย
 เอื้อต่อการออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ทแตก    ี่
    ต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียน กล่าวคือ การ
เปลี่ยนแหล่งของความรู้ เปลี่ยนวิธีการรับรู้ เปลี่ยนสถาน
ทีเรียนรู้ เปลี่ยนบริบทการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จากตำารา
  ่
เรียนและครูสการเรียนรู้จากผู้รู้อื่นๆ และจากสถานการณ์
                 ู่
จริง ประสบการณ์จริง ได้เห็นของจริงในหลายมิติ และที่
 สำาคัญ คือ ได้ลงมือปฏิบัติการด้วยตนเองจากสถานทีใน     ่
 ห้องสี่เหลี่ยมสู่โลกกว้างที่ไม่มีทสนสุด มีกระบวนการคิด
                                     ี่ ิ้
  วิเคราะห์และการเชื่อมโยงมากขึ้น การเข้าค่ายเป็นการ
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทต้องการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้
                               ี่
อย่างต่อเนืองโดยผ่านกิจกรรมและกระบวนการพัฒนาใน
             ่
 การดำารงชีวิตเป็นหมูคณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้
                             ่
                    รู้จักช่วยตนเองและช่วยผู้อื่น
สร้างสรรค์และพัฒนาสมาชิกค่ายให้เต็มศักยภาพ
 ของแต่ละบุคคลให้มากที่สุด การสร้างบรรยากาศ
ภายในค่ายหรือความรู้สึกที่เด็กจะได้รับในระหว่าง
   การเข้าค่ายเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการเรียนรู้และ
พัฒนาการ บรรยากาศค่ายมีส่วนส่งเสริมให้เกิดการ
  เรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของค่าย ความ
    สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมค่าย ซึ่งส่งผล
 โดยตรงต่อความประทับใจโดยรวมต่อกิจกรรมทั้ง
หลายในค่าย บรรยากาศหลักภายในค่ายจะต้องมี
ความแตกต่างจากสภาพห้องเรียนปกติที่เด็กเคยชิน
 เด็กควรรู้สึกสบายๆ มีความสุข และสนุกกับ การ
       เรียนรู้ อยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตย
ตัว อย่า งกิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ค่า ยที่ด ีม ี
           ประสิท ธิภ าพจะต้อ งพัฒ นา
เด็ก ทุก คนโดยแต่ล ะคนได้เ รีย นรู้เ ติม เต็ม ความ
  กิจ กรรมอุ่น เครื่อ ง เพื่อยภาพของตนเอง ยภาพ
                              ให้รู้จักและเข้าใจถึงศัก
        สามารถและศัก
  ของสมองของตนเอง รู้ถึงการอุ่นเครื่องเตรียมสมองให้
  พร้อมก่อนการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลายมิติ การพัก
  สมอง ก็จะสามารถช่วยให้ผู้เรียน มีการเรียนรู้อย่างมี
  คุณภาพ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกิจกรรมมีดังนี้
  –กิจกรรมบริหารสมอง
  –กิจกรรมรู้จักตัวตนและคนอื่น (กิจกรรมวาดหน้าตัวเอง)
  –กิจกรรมความคาดหวัง
  –กิจกรรมเตรียมความพร้อม (Energize & Fillers)
  –กิจกรรม Hand Sign เป็นต้น
การละลายพฤติกรรมยังเป็นวิธีการเรียนรู้จักกันและกัน
รู้จักชื่อเสียงเรียงนาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การมีเพื่อน
มากขึ้น เป็นเกมที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ หรือเป็นการแนะนำา
                      ำ
หัวข้อใหม่ของการเข้าค่าย กิจกรรมทีใช้ในการละลาย
                                     ่
พฤติกรรมโดยการแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มพื้นฐาน กลุ่ม
หน่วย กลุ่มใหญ่ กิจกรรมมีดังนี้
1. กิจกรรมกลุ่มหน่วย (Unit Group) โดยการรวมจาก
กลุ่มพืนฐานเช่น กิจกรรมวงกลม (Circle)‚ –กิจกรรม
         ้
Grouping by order‚กิจกรรม รวมกลุ่มตามเดือนเกิด
ของตนเอง (ภาษาอังกฤษ) เป็นต้น
2. กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เช่น กิจกรรมซ้อนมือ‚กิจกรรม
Joe Ranger‚กิจกรรมเพลง Love Like an
ocean‚กิจกรรมลมเพลมพัด‚กิจกรรมจับคู่ เป็นต้น
Power) เพือการสร้างกลุ่มงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบทำา
            ่
 งานแบบ ร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำา ร่วมเสนอผลงานอย่าง
สร้างสรรค์ กิจกรรมที่ทาเป็นการจัดตั้งกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่ม
                       ำ
คำาขวัญ เพลง สร้างเอกลักษณ์และนำาเสนอกลุ่ม กิจกรรม
สร้างพลังกลุ่ม และมอบหมายความรับผิดชอบ กิจกรรมมี
                         ดังนี้
–กลุ่มพืนฐาน(กลุ่มละประมาณ 8-10 คน)กิจกรรมต่างๆ
        ้
 ได้แก่ กิจกรรม Morning Exercise, กิจกรรมเชิญธง
     อาเซียน‚กิจกรรม ASEAN EXPRESS‚กิจกรรม
 Song‚กิจกรรมแสดงวัฒนธรรมหลังอาหารเย็น เป็นต้น
กิจ กรรมเรีย นรู้เ รื่อ งประชาคมอาเซีย นและนำา
เสนอผลงาน (ASEAN Spirit Exhibition&
Presentation) กิจ กรรมมีด ัง นี้
–กิจกรรม รู้จักภาษาอาเซียน
–กิจกรรมการเรียนรู้อาเซียน
–กิจกรรมสร้างสรรค์ชิ้นงานนิทานอาเซียน
–กิจกรรมวัฒนธรรมและภาษา
กิจ กรรมทีเ ป็น ฐานการเรีย นรู้ กิจ กรรมมีด ัง นี้
              ่
ฐานที่ 1: Sing A Song
ฐานที่ 2 อาหาร (Food)
ฐานที่ 3 กีฬาและการละเล่น
ฐานที่ 4 ART & CRAFT
ฐานที่ 5 LANGUAGE & Expression
สำาหรับกิจกรรมเพือการเรียนรู้เนือหาหลัก การจัดกิจกรรม
                     ่           ้
   ลัอให้เด็กสามารถเรียค่านือหาหลักผ่ระสิท ธิภ าพ ่
  เพื่
       ก ษณะการจัด นรู้เ ยที่ด ีม ีป านกระบวนการที
                              ้
  สร้างสรรค์ ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ กิจกรรมควรมีความ
 หลากหลาย เหมาะกับสไตล์ของสมาชิกค่ายทีแตกต่างกัน
                                            ่
 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของค่ายนั้นๆ ควรมีลักษณะการ
                          จัดดังนี้
   กิจกรรมในระหว่างค่าย ควรเป็นกิจกรรมนำาไปสูการ ่
       บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของค่าย กิจกรรม
  สร้างสรรค์ สะอาด สนุก สอดแทรกสาระ และสั้น การจัด
 ตารางกิจกรรมทีลำาดับเนือหาจากง่ายไปยากเหมาะสมกับ
                   ่      ้
วัยและการเรียนรู้ของฟสมาชิกค่าย และเหมาะสมกับสภาพ
                       แวดล้อมค่าย
สมาชิกค่ายสามารถเรียนรู้การทำางานจริง ซึ่งอาจร่วมกัน
ทำาจบในค่ายหรืออาจจะใช้ช่วงเวลาในค่ายเพือการพัฒนา
                                              ่
  โครงการ พัฒนาแนวทางและวางแผนการทำางานซึ่งเป็น
เห็น การประชุมหารือ แลกเปลี่ยน ละครเป็นสื่อ การ
สังเกตการณ์ การใช้สถานการณ์จำาลองหรือบทบาทสมมติ
 การสืบค้นความรู้ดวยตนเอง การค้นพบด้วยตนเอง การ
                     ้
เรียนรู้จากการบรรยาย การเรียนรู้ผ่านเกม/การเล่น การ
 จัดฐานเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานทีหรือสถานการณ์จริง
                                   ่
                เทคนิคโค้ชหรือพาเด็กทำา
  กิจกรรมค่าย ทีมการจัดเรื่องกระบวนการเรียนรู้อย่าง
                   ่ ี
เป็นขั้นเป็นตอน โดยมุงเน้นความสามารถในการนำาเสนอ
                       ่
   ความคิด การคิดวิเคราะห์ การคิดเชื่อมโยง การระดม
ความคิดเห็น ความเข้าใจในปัญหา สาเหตุปัญหา การทำา
    งานร่วมกัน จะสามารถพัฒนาสมาชิกค่ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เข้าค่ายสามารถนำาความรู้ที่ได้ไป
                 สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่
สรุกค่าย โดยเฉพาะอย่างยิง
     ค่ายอาเซียน เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่
สร้างสรรค์และมีคุณค่าต่อสมาชิ                              ่
                         ี ป
 ผู้ที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้มปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น หรือเรียนรู้
 เรื่องอาเซียน โครงการฝึกอบรม ประสบความสำาเร็จเป็น
 อย่างสูง การฝึกอบรมดำาเนินไปอย่างราบรื่น การดำาเนิน
    งานค่ายโดยใช้ภาษาอังกฤษในบางกิจกรรมช่วยให้
สมาชิกค่ายตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง
ในการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งต่อไปจะเป็นภาษาอาเซียน สิ่งที่
 สำาคัญ คือ สมาชิกค่ายได้เรียนรู้เรื่องเกียวกับประชาคม
                                          ่
 อาเซียนในแง่มมต่างๆ ทังด้านวัฒนธรรม ประสบการณ์
                   ุ      ้
  เกี่ยวกับประเทศอาเซียนผ่านผัสสะทังหก สมาชิกค่าย
                                       ้
แสดงความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ความร่วมมือ
กับเพือนสมาชิก และพัฒนาความสามารถ ทัศนคติต่อการ
        ่
ก้าวสูประชาคมอาเซียน เรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนหลายๆ
          ่
มิติ พูดคุยแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทังรวบรวมไว้อย่างเป็น
                                     ้
การเผยแพร่ต่อไป การพัฒนาโครงงานของโรงเรียน
  สะท้อนว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถคิดต่อยอดการทำา
     กิจกรรมโครงงานทีจะนำาไปสู่การเผยแพร่และ
                          ่
ประชาสัมพันธ์ความรู้ สร้างความตระหนักในเรื่องอาเซียน
                            ต่อไป
อ้า งอิ
                  ง
    http://www.bkk2.in.th/Topic.as
-
  px?TopicID=45417
-
  http://www.social.obec.go.th/lib
  rary/document/asean/asean-
  camp.pdf

More Related Content

What's hot

บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูPop Punkum
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินสมนึก สุดหล่อ
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 

What's hot (10)

บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
C
CC
C
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Similar to นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนAonaon Krubpom
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 

Similar to นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี (20)

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียน
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี

  • 1. วิช าค่า ยพัฒ นา ทัก ษะภาษา เรื่อ ง แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย จัด ทำา โดย นางสาวรุ่ง นภา ปัญ ญาดี รหัสห้อ ง D5 ชัน ปี 3 5381123284 ้ เสนอ อาจารย์ พัฐ ฬภ รณ์  พรชุต ิ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ บ้า นสมเด็จ เจ้า พระยา
  • 2.
  • 3. แนวทางการจัด กิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ในการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และเสริมสร้างความ เป็นพลเมืองอาเซียนให้ผู้เรียนจะช่วยเพิ่มศักยภาพใน การเรียนรู้ให้ผู้เรียน อันจะเป็นพลังการขับเคลื่อนการ พัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียนในทุกพืนทีอย่างมี ้ ่ ประสิทธิภาพ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐานโดยสำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่า มีความจำาเป็นอย่างยิ่งทีจะสร้าง ่ ศักยภาพให้แก่สถานศึกษาและเขตพื้นทีการศึกษาเกี่ยว ่ กับความเป็นประชาคมอาเซียน เพือเตรียมความพร้อม ่ ในการเป็นประชาคมอาเซียน
  • 4. บทนำบเคลื่อนประชาคมอาเซียนในมิตยอาเซีย น การขั า การจัด กิจ กรรมค่า ิด้านการศึกษาได้ กำาหนดเป้าหมายเพื่อก้าวสู่ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน โดยให้ความสำาคัญต่อความเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ในประเด็นการ ิ เสริมสร้าง โอกาสด้านการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างเท่า เทียม การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษา ในภูมภาคทุกระดับ การส่งเสริมความร่วมมือด้านเครือ ิ ข่ายเยาวชน ตลอดจนการส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างกัน โดยกระบวนการเชื่อมโยง และเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมภาค ิ
  • 5. วิชาการและมาตรฐานการศึกษาให้ความสำาคัญในการขับ เคลื่อนการเรียนรู้ประชาคมอาเซียนสู่สถานศึกษา โดย เน้นการสร้างความตระหนัก การเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจในการเป็นประชาคมอาเซียน ดังนันเพือเพิ่ม ้ ่ ศักยภาพในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างสูงสุดสำานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยสำานักวิชาการ ้ และมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเห็นว่าการสร้าง ศักยภาพให้แก่นกเรียนเป็นเรื่องสำาคัญทีมผลต่อการเตรี ั ่ ี ยมความพร้อมความเป็นประชาคมอาเซียน จึงได้จัดเล็ง เห็นการจัดกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์เป็นวิธีที่ดที่สดสำาหรับ ี ุ การเริ่มทีจะเรียนรู้ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและได้จัดทำา ่ เอกสารการจัดกิจกรรมค่ายอาเซียน เพือเป็นแนวในการ ่ จัดกิจกรรมค่ายเพือเตรียมความพร้อมของเด็กไทยในการ ่ อยู่ร่วมกับประชากรของประเทศต่างๆ ในประชาคม อาเซียน
  • 6. การศึกษาเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาเด็กให้มความรู้ ี และทักษะ การส่งเสริมด การจัด ค่า ย แนวคิ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของ เด็กให้มทกษะการเรียนรู้บรรลุตามจุดมุงหมายของ ี ั ่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช ้ 2551 และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ด้านเด็กให้ได้มาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามตามหลักสูต รกำาหนด โดยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ทีเน้นการ ่ ฝึกปฏิบัติจริง ตอบสนองความสามารถ ความถนัดและความ สนใจของเด็ก การสร้างองค์ความรู้และค้นพบความ สามารถของตนเอง โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ตาม ความถนัดและความสนใจของตนเอง มีส่วนร่วมในการ ลงมือปฏิบัติ สร้างความตระหนักและเกิดองค์ความรู้ ตลอด จนสร้างสรรค์ผลงานที่มคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น อันจะส่ง ี ผลประโยชน์สูงสุดกับเด็กให้เป็นผู้มนสัยรักการเรียนรู้และ ี ิ พัฒนาเป็นคนไทยทีมความสมบูรณ์ เป็นคนดีมปัญญาและมี ่ ี ี
  • 7. สนับสนุน รวมถึงป้องกันและแก้ปัญหาของนักเรียน ค่าย เอื้อต่อการออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ทแตก ี่ ต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียน กล่าวคือ การ เปลี่ยนแหล่งของความรู้ เปลี่ยนวิธีการรับรู้ เปลี่ยนสถาน ทีเรียนรู้ เปลี่ยนบริบทการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จากตำารา ่ เรียนและครูสการเรียนรู้จากผู้รู้อื่นๆ และจากสถานการณ์ ู่ จริง ประสบการณ์จริง ได้เห็นของจริงในหลายมิติ และที่ สำาคัญ คือ ได้ลงมือปฏิบัติการด้วยตนเองจากสถานทีใน ่ ห้องสี่เหลี่ยมสู่โลกกว้างที่ไม่มีทสนสุด มีกระบวนการคิด ี่ ิ้ วิเคราะห์และการเชื่อมโยงมากขึ้น การเข้าค่ายเป็นการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทต้องการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ ี่ อย่างต่อเนืองโดยผ่านกิจกรรมและกระบวนการพัฒนาใน ่ การดำารงชีวิตเป็นหมูคณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้ ่ รู้จักช่วยตนเองและช่วยผู้อื่น
  • 8. สร้างสรรค์และพัฒนาสมาชิกค่ายให้เต็มศักยภาพ ของแต่ละบุคคลให้มากที่สุด การสร้างบรรยากาศ ภายในค่ายหรือความรู้สึกที่เด็กจะได้รับในระหว่าง การเข้าค่ายเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการเรียนรู้และ พัฒนาการ บรรยากาศค่ายมีส่วนส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของค่าย ความ สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมค่าย ซึ่งส่งผล โดยตรงต่อความประทับใจโดยรวมต่อกิจกรรมทั้ง หลายในค่าย บรรยากาศหลักภายในค่ายจะต้องมี ความแตกต่างจากสภาพห้องเรียนปกติที่เด็กเคยชิน เด็กควรรู้สึกสบายๆ มีความสุข และสนุกกับ การ เรียนรู้ อยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตย
  • 9. ตัว อย่า งกิจ กรรมค่า ยอาเซีย น ค่า ยที่ด ีม ี ประสิท ธิภ าพจะต้อ งพัฒ นา เด็ก ทุก คนโดยแต่ล ะคนได้เ รีย นรู้เ ติม เต็ม ความ กิจ กรรมอุ่น เครื่อ ง เพื่อยภาพของตนเอง ยภาพ ให้รู้จักและเข้าใจถึงศัก สามารถและศัก ของสมองของตนเอง รู้ถึงการอุ่นเครื่องเตรียมสมองให้ พร้อมก่อนการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลายมิติ การพัก สมอง ก็จะสามารถช่วยให้ผู้เรียน มีการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกิจกรรมมีดังนี้ –กิจกรรมบริหารสมอง –กิจกรรมรู้จักตัวตนและคนอื่น (กิจกรรมวาดหน้าตัวเอง) –กิจกรรมความคาดหวัง –กิจกรรมเตรียมความพร้อม (Energize & Fillers) –กิจกรรม Hand Sign เป็นต้น
  • 10. การละลายพฤติกรรมยังเป็นวิธีการเรียนรู้จักกันและกัน รู้จักชื่อเสียงเรียงนาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การมีเพื่อน มากขึ้น เป็นเกมที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ หรือเป็นการแนะนำา ำ หัวข้อใหม่ของการเข้าค่าย กิจกรรมทีใช้ในการละลาย ่ พฤติกรรมโดยการแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มพื้นฐาน กลุ่ม หน่วย กลุ่มใหญ่ กิจกรรมมีดังนี้ 1. กิจกรรมกลุ่มหน่วย (Unit Group) โดยการรวมจาก กลุ่มพืนฐานเช่น กิจกรรมวงกลม (Circle)‚ –กิจกรรม ้ Grouping by order‚กิจกรรม รวมกลุ่มตามเดือนเกิด ของตนเอง (ภาษาอังกฤษ) เป็นต้น 2. กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เช่น กิจกรรมซ้อนมือ‚กิจกรรม Joe Ranger‚กิจกรรมเพลง Love Like an ocean‚กิจกรรมลมเพลมพัด‚กิจกรรมจับคู่ เป็นต้น
  • 11. Power) เพือการสร้างกลุ่มงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบทำา ่ งานแบบ ร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำา ร่วมเสนอผลงานอย่าง สร้างสรรค์ กิจกรรมที่ทาเป็นการจัดตั้งกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่ม ำ คำาขวัญ เพลง สร้างเอกลักษณ์และนำาเสนอกลุ่ม กิจกรรม สร้างพลังกลุ่ม และมอบหมายความรับผิดชอบ กิจกรรมมี ดังนี้ –กลุ่มพืนฐาน(กลุ่มละประมาณ 8-10 คน)กิจกรรมต่างๆ ้ ได้แก่ กิจกรรม Morning Exercise, กิจกรรมเชิญธง อาเซียน‚กิจกรรม ASEAN EXPRESS‚กิจกรรม Song‚กิจกรรมแสดงวัฒนธรรมหลังอาหารเย็น เป็นต้น
  • 12. กิจ กรรมเรีย นรู้เ รื่อ งประชาคมอาเซีย นและนำา เสนอผลงาน (ASEAN Spirit Exhibition& Presentation) กิจ กรรมมีด ัง นี้ –กิจกรรม รู้จักภาษาอาเซียน –กิจกรรมการเรียนรู้อาเซียน –กิจกรรมสร้างสรรค์ชิ้นงานนิทานอาเซียน –กิจกรรมวัฒนธรรมและภาษา กิจ กรรมทีเ ป็น ฐานการเรีย นรู้ กิจ กรรมมีด ัง นี้ ่ ฐานที่ 1: Sing A Song ฐานที่ 2 อาหาร (Food) ฐานที่ 3 กีฬาและการละเล่น ฐานที่ 4 ART & CRAFT ฐานที่ 5 LANGUAGE & Expression
  • 13. สำาหรับกิจกรรมเพือการเรียนรู้เนือหาหลัก การจัดกิจกรรม ่ ้ ลัอให้เด็กสามารถเรียค่านือหาหลักผ่ระสิท ธิภ าพ ่ เพื่ ก ษณะการจัด นรู้เ ยที่ด ีม ีป านกระบวนการที ้ สร้างสรรค์ ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ กิจกรรมควรมีความ หลากหลาย เหมาะกับสไตล์ของสมาชิกค่ายทีแตกต่างกัน ่ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของค่ายนั้นๆ ควรมีลักษณะการ จัดดังนี้ กิจกรรมในระหว่างค่าย ควรเป็นกิจกรรมนำาไปสูการ ่ บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของค่าย กิจกรรม สร้างสรรค์ สะอาด สนุก สอดแทรกสาระ และสั้น การจัด ตารางกิจกรรมทีลำาดับเนือหาจากง่ายไปยากเหมาะสมกับ ่ ้ วัยและการเรียนรู้ของฟสมาชิกค่าย และเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมค่าย สมาชิกค่ายสามารถเรียนรู้การทำางานจริง ซึ่งอาจร่วมกัน ทำาจบในค่ายหรืออาจจะใช้ช่วงเวลาในค่ายเพือการพัฒนา ่ โครงการ พัฒนาแนวทางและวางแผนการทำางานซึ่งเป็น
  • 14. เห็น การประชุมหารือ แลกเปลี่ยน ละครเป็นสื่อ การ สังเกตการณ์ การใช้สถานการณ์จำาลองหรือบทบาทสมมติ การสืบค้นความรู้ดวยตนเอง การค้นพบด้วยตนเอง การ ้ เรียนรู้จากการบรรยาย การเรียนรู้ผ่านเกม/การเล่น การ จัดฐานเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานทีหรือสถานการณ์จริง ่ เทคนิคโค้ชหรือพาเด็กทำา กิจกรรมค่าย ทีมการจัดเรื่องกระบวนการเรียนรู้อย่าง ่ ี เป็นขั้นเป็นตอน โดยมุงเน้นความสามารถในการนำาเสนอ ่ ความคิด การคิดวิเคราะห์ การคิดเชื่อมโยง การระดม ความคิดเห็น ความเข้าใจในปัญหา สาเหตุปัญหา การทำา งานร่วมกัน จะสามารถพัฒนาสมาชิกค่ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เข้าค่ายสามารถนำาความรู้ที่ได้ไป สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่
  • 15. สรุกค่าย โดยเฉพาะอย่างยิง ค่ายอาเซียน เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ สร้างสรรค์และมีคุณค่าต่อสมาชิ ่ ี ป ผู้ที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้มปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น หรือเรียนรู้ เรื่องอาเซียน โครงการฝึกอบรม ประสบความสำาเร็จเป็น อย่างสูง การฝึกอบรมดำาเนินไปอย่างราบรื่น การดำาเนิน งานค่ายโดยใช้ภาษาอังกฤษในบางกิจกรรมช่วยให้ สมาชิกค่ายตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง ในการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งต่อไปจะเป็นภาษาอาเซียน สิ่งที่ สำาคัญ คือ สมาชิกค่ายได้เรียนรู้เรื่องเกียวกับประชาคม ่ อาเซียนในแง่มมต่างๆ ทังด้านวัฒนธรรม ประสบการณ์ ุ ้ เกี่ยวกับประเทศอาเซียนผ่านผัสสะทังหก สมาชิกค่าย ้ แสดงความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ความร่วมมือ กับเพือนสมาชิก และพัฒนาความสามารถ ทัศนคติต่อการ ่ ก้าวสูประชาคมอาเซียน เรื่องราวเกี่ยวกับอาเซียนหลายๆ ่ มิติ พูดคุยแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทังรวบรวมไว้อย่างเป็น ้
  • 16. การเผยแพร่ต่อไป การพัฒนาโครงงานของโรงเรียน สะท้อนว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถคิดต่อยอดการทำา กิจกรรมโครงงานทีจะนำาไปสู่การเผยแพร่และ ่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ สร้างความตระหนักในเรื่องอาเซียน ต่อไป
  • 17. อ้า งอิ ง http://www.bkk2.in.th/Topic.as - px?TopicID=45417 - http://www.social.obec.go.th/lib rary/document/asean/asean- camp.pdf