SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
การกลายพันธุ์ หรือ มิวเทชั่น (mutation)คือ
สภาพของสิ่งมีชีวิตที่เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทาง
พันธุกรรม ทาให้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เกิดการ
กลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)นั้น เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เคยเป็น หรือ แตกต่างไป
จากประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น โดยเฉพาะ การ
เปลี่ยนแปลงของยีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตนั้น
- การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)ที่เซลล์ร่างกาย
(somatic cell)
การกลายพันธุ์ที่เซลล์ร่างกายจะเกิดกับยีน(gene)ในเซลล์ต่างๆ
ของร่างกาย อาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของส่วนของ
ร่างกายไปจากเดิม เช่น เกิดเนื้องอก โรคมะเร็ง เป็นต้น
- การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)ที่เซลล์สืบพันธุ์
การกลายพันธุ์ที่เซลล์สืบพันธุ์ จะเกิดกับยีน(gene)ในเซลล์
สืบพันธุ์ อาจทาให้ยีน(gene)หรือแอลลีล(allele)มีความ
ผิดปกติ และสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ อาจส่งผลภาวะ
ผิดปกติในรุ่นลูกรุ่นหลานได้
1. โครโมโซมมิวเทชั่น (Chromosome mutation)
การเปลี่ยนไปของโครโมโซมมี 2 แบบ คือ
1.1 จำนวนโครโมโซมเปลี่ยนไป ตัวอย่างเช่น
-อะนิวพลอยดี้ (aneuploidy) การเพิ่มหรือลดโครโมโซมเป็นแท่ง
คือจาก 46 แท่งอาจเพิ่มเป็น 47 หรือลดเป็น 45 แท่ง ได้แก่
โมโนโซมิค (momosomic), ไดโซมิค (disomic), ไตรโซมิค
(trisomic), โพลิโซมิค (polysomic)
- ยูพลอยดี้(euploidy) กำรเพิ่มหรือลด
โครโมโซมเป็นชุด ได้แก่ แฮพพลอยด์ (haploid=n)
พบในเซลล์สืบพันธุ์ โมโนพลอยด์(monoploid = n)
พบในเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์สืบพันธุ์
ดิพลอยด์ (diploid = 2n) เซลล์ปกติ
ทริปพลอยด์ (triploid = 3n) ในแตงโมไม่มีเมล็ด
โพลิพลอยด์(polyploid = หลายๆ n) ในข้าวสาลี
1.2 โครงสร้ำงของโครโมโซมเปลี่ยนแปลง เช่น
ดีลีชั่น (deletion) การที่โครโมโซมหายไป
ซึ่งคือชิ้นส่วนหรือเบสหายไปนั่นเอง
ดูพลิเคชั่น (duplication) การเพิ่มของโครโมโซม
อินเวอร์ชั่น (inversion) การกลับหัวกลับหางของ
โครโมโซม
ทรานสโลเคชั่น (translocation) การที่ โครโมโซม
ไม่เป็นคู่ (non-homologous chromosome)
มาแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนกัน
2. ยีนมิวเทชั่น (Gene mutation) คือ กำรที่เบสเปลี่ยนแปลง ได้แก
1. นอนเซ็นต์ (nonsense) ทาให้เบสเปลี่ยนเป็นรหัสพันธุกรรมหยุดสร้างสายโพลิเปปไทด์ คือ
UAA, UAG, UGA
2. มิสเซ็นต์ (missense) เบสเปลี่ยนไป ทาให้เปลี่ยนแบบของกรดอะมิโนตัวใหม่ คล้ายๆ กับการ
substitution
3. ดีลีชั่น (deletion) เบสหายไป
4. แอดดิชั่น (addition) เพิ่มเบสเข้าไป
5. เฟรมชิฟ มิวเทชั่น (frame-shift mutation) การเปลี่ยนเบสโดยการหายหรือการเพิ่มเพียง 1
ตัว ทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยน ทาให้โพลิเปปไทด์ตั้งแต่จุดเปลี่ยนเบสเปลี่ยนแปลงไปตลอด
สาย
6. เบสแทนที่กัน (base pair substitution) จะแทนที่แบบทรานซิชั่น คือ จากพิวรีน ไปเป็นพิ
วรีน และจากไพริมิดีน ไปเป็นไพริมิดีนหรือการแทนที่แบบทรานสเวอร์ชั่น(transversion) คือ
จากพิวรีนไปเป็น ไพริมิดีน
7. กำรเกิด รีเวอร์สแทนต์ (revertant) ในรีเวอร์สชั่น (reversion) (เกิด แอดดิชั่น แล้วตามด้วยดี
ลีชั่น) โดยมีกรดอะมิโนไม่มากที่เปลี่ยนแปลงไป
1. เกิดมิวเทชั่นปกติ (Spontaneous mutation) เกิดเองตาม
ธรรมชาติที่ควบคุมไม่ได้
2. ชักนำให้เกิด (Induced mutation) โดยการกระตุ้นด้วย
มิวทาเจน (mutagen = สารที่ก่อให้เกิดมิวเทชั่น) โดยคนเป็นผู้ทา
สารก่อกลายพันธุ์ (มิวทาเจน = Mutagen)
1.) รังสี (ionizing radiation) มีพลังงานสูง ผลิต Ions, x - ray และรังสี
อื่นๆ
2.) แสง (nonionizing radiation) มีพลังงานสูง มีแรงแทรกซึมต่า เช่น
รังสี UV
3.) สำรเคมี (chemical mutagen) Nitrous acid, mustad gas
4.) Alflatoxin B จากถั่วที่ขึ้นราจาก fungi
5.) 2 - amino 5 - nitrophenol ที่พบใน Hair dye components
6.) caffeine ใน Cola, tea, coffee, pain relievers(ยาแก้ปวด)
7.) Sodium nitrite จากพวกเนื้อรมควัน
สำเหตุของกำรกลำยพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)
- เกิดขึ้นเองโดยธรรมชำติ (spontaneous mutation)หรือ เกิดจากสิ่งก่อ
กลายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น ในการจาลองตัวเองของดีเอ็นเอ ฃ
(DNA replication) อาจมีการนาเบสที่ไม่ถูกต้องใส่เข้าไปในดีเอ็นเอ
(DNA)สายใหม่, รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์โดยที่ไม่ได้เกิดจาก
มนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสีเหนี่ยวนาให้เกิดการกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น,
mutation)
- เกิดจำกกำรเหนี่ยวนำ (induced mutation)เป็นการกลายพันธุ์
(มิวเทชั่น,mutation)ที่มนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสี ทาให้ดีเอ็นเอ(DNA) หรือ
ยีน(gene) หรือ อาร์เอ็นเอ(RNA) ของสิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงและ
เกิดลักษณะแปลกใหม่ที่กลายพันธุ์ไปจากเดิม สารเคมีหรือรังสีที่ก่อให้เกิด
การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)นี้ เรียกว่า “สิ่งก่อกลายพันธุ์
(มิวทาเจน, mutagen)”
ภำพแสดงกำรกลำยพันธุ์หรือมิวเทชั่น
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ( natural selection) เป็น
ขบวนการแบบค่อยเป็นค่อยไปและไม่สุ่ม ซึ่งลักษณะทาง
ชีววิทยาจะพบมากขึ้นหรือน้อยลงในประชากรเป็นหน้าที่ของ
การสืบพันธุ์แตกต่างกันของผู้ให้กาเนิด มันเป็นกลไกสาคัญ
ของวิวัฒนาการ คาว่า "การคัดเลือกโดยธรรมชาติ" นั้น ถูกทา
ให้แพร่หลายโดย ชาลส์ดาร์วิน ผู้ตั้งใจให้เทียบได้กับการ
คัดเลือกโดยมนุษย์(artificial selection) หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า
การคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding)
วิวัฒนำกำรโดยกำรคัดเลือกตำมธรรมชำติ ตำมแนวคิด
ของดำร์วิน มำจำกข้อสังเกตที่เป็นสภำวะธรรมชำติของ
สิ่งมีชีวิต 4 ข้อ คือ
1.การผลิตที่มากเกิน (overpopulation)
2.ข้อจากัดต่อการเติบโตของประชากร (limits on
population growth)
3.ความแปรผัน (variation)
4.ความแตกต่างในความสาเร็จของการสืบพันธุ์
(differential reproductive success)
กำรคัดเลือกพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์โดยมนุษย์
กำรคัดเลือกพันธุ์ แบงได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.การคัดเลือกพันธุ์ผสม มนุษย์ได้ใช้วิธีการคัดเลือกพันธุ์ผสมกับพืช และ
สัตว์มากมายหลายชนิด โดยต้องการเพิ่มคุณค่าของพืชและสัตว์ให้ตรงตามความ
ต้องการของมนุษย์
กำรคัดเลือกพันธุ์ผสม มี 2 วิธี คือ
1.1 กำรคัดเลือกพันธุ์ผสมที่เกิดจำกกำรผสมในสำยพันธุ์เดียวกัน (Inbreeding)
ทาได้โดยนาสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน 2 ตัว มาผสมกัน ลูกผสมที่เกิดจากการผสม
ในสายพันธุ์เดียวกันเช่นนี้จะมีความคล้ายคลึงกับรุ่นพ่อแม่มาก
1.2 กำรคัดเลือกพันธุ์ผสมที่เกิดจำกกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ (Hybridization)
เป็นการผสมที่นาสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกันมาผสมกัน
ได้ลูกผสมที่มีลักษณะแตกต่างกัน แล้วจึงคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมที่ได้รับลักษณะที่ดี
ที่สุดจากพ่อแม่มาเพาะพันธุ์ต่อไป
2.การคัดเลือกพันธุ์พืชใหม่จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช จะพบว่า ผลของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะได้ต้น
พืชที่สมบูรณ์ มีลักษณะเหมือนกันจานวนมาก แต่ต้นอ่อนทีได้จาก
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงต่อๆไปหลายๆรุ่น จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ไปตามสภาพแวดล้อมจานวนมาก โดยไม่
ต้องใช้สารเคมีหรือกัมมันตรังสีเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์
กำรปรับปรุงพันธ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืช หมายถึง การปรับปรุงที่
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางพันธุกรรมของพืชเพื่อให้
ได้พันธุ์ที่มีลักษณะดีกว่าเดิม ในทุกลักษณะเท่าที่จะทา
ได้
หลักและวิธีกำรปรับปรุงพันธุ์พืชมี 3 ขั้นตอนดังนี้
1. การรวบรวมพันธุ์พืช (collection)
2. การคัดเลือกพันธุ์ (selection)
3. การผสมพันธุ์ (hybridization)
กำรโคลนนิ่ง (Cloning) คือ การคัดลอก หรือการทาซ้า ให้มี
ลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ
หากกล่าวเรื่อง การโคลนนิ่ง (Cloning) ในแง่ของสิ่งมีชีวิตที่
เกี่ยวพันถึงเทคโนโลยีชีวภาพแล้ว
การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ กระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ
ชนิดหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม
โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ
สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ โดยคาว่าโคลน (Clone) นั้นมา
จากภาษากรีกจากคาว่า “Klone” ซึ่งแปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน โดยใช้
อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual) ของในพืชและสัตว์
และโดยที่คาว่าโคลน จะถูกใช้เรียกสิ่งที่ถูกโคลนออกมาจาก
สิ่งมีชีวิตต้นแบบ
กำรโคลนนิ่งสัตว์ (Animals Cloning)
การโคลนนิ่งสัตว์คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาที่มี รูปร่าง, หน้าตา,
ลักษณะต่างๆ,พันธุกรรม รวมถึงเพศ เหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นต้นแบบ หรือ
เรียกได้ว่า ถอดแบบกันออกมา
การโคลนนิ่งสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง(cloning)โดยใช้เซลล์จากตัว
อ่อนของสัตว์ทาให้มีเกิดลูกสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง(cloning)หลายชนิด มี
ทั้ง หมู โค กระต่าย แพะ แกะ แต่ยังไม่เคยมีลูกสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง
(cloning)ด้วยนิวเคลียส(nucleus)จากเซลล์ร่างกาย(somatic cell)
กำรโคลนนิ่งสัตว์ด้วยวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์มีอยู 2 วิธี คือ
1.การถ่ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear transplantation)
2.การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere
separation or embryo bisection)
กำรโคลนนิ่งมนุษย์ (Human Cloning)
ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีการการโคลนนิ่ง(cloning)มนุษย์
เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ เนื่องด้วยปัญหาทางด้านจริยธรรม
อย่างเช่น ในกรณีที่มีคนต้องการอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง
เนื่องจากอาจสูญเสียไป หรือ ใช้การไม่ได้อันเนื่องเหตุใด
เหตุหนึ่ง แล้วรอรับบริจาคอวัยวะนั้นอยู่เพื่อการปลูกถ่าย
ทดแทนอวัยวะเดิมที่สูญเสียไป ซึ่งต่อให้ได้รับบริจาคแล้วก็
ยังมีปัญหาเกี่ยวกับด้านภูมิคุ้มกันตนเองที่อาจต่อต้านอวัยวะ
ที่รับมาใหม่ได้ทาให้เกิดผลไม่ดีได้
กำรทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
In Vitro Fertilization หรือ IVF เป็นการปฏิสนธิ
ภายนอกร่างกายรูปแบบหนึ่ง ที่ใกล้เคียงธรรมชาติมาก
ที่สุด คือ การปล่อยให้มีการคัดเลือกตามธรรมชาติ โดย
อสุจิที่แข็งแรงที่สุดเท่านั้นจึงจะสามารถทาการปฏิสนธิ
กับไข่ได้วิธีนี้เป็นทางเลือกหนึ่งในการทาเด็กหลอดแก้ว
เหมาะสาหรับผู้ที่มีปัญหาภาวะมีบุตรยากที่ไม่รุนแรงนัก
ขั้นตอนในกำรทำเด็กหลอดแก้ว
แพทย์จะเลือกเก็บไข่ที่สมบูรณ์จากรังไข่โดยใช้เข็มดูดผ่านทางช่อง
คลอด โดยอาศัยเครื่องอัลตราซาวนด์ซึ่งจาเป็นต้องให้ยาสลบเพื่อป้องกันความ
เจ็บปวด ใช้เวลาเก็บไข่ประมาณ 30 นาที หลังการเก็บไข่ ฝ่ายหญิง
จะได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมนชนิดสอดช่องคลอดหรือฉีดอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไข่และอสุจิจะ
ถูกผสมกันในห้องปฏิบัติการเลี้ยงและควบคุมคุณภาพตัวอ่อน จากนั้นติดตามดู
ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิใน 2 วันต่อมาในวันถัดมา ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ
จะกลายเป็นตัวอ่อน พร้อมที่จะย้ายเข้าโพรงมดลูกซึ่งมักจะทาในวันที่ 3-5 หลัง
วันเก็บไข่ ซึ่งขั้นตอนของการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไม่จาเป็นต้อง
งดน้าและอาหารก่อนมาโรงพยาบาล ไม่จาเป็นต้องดมยาสลบ และใช้เวลา
ประมาณ 30 นาที
ระยะของกำรย้ำยตัวออน
การย้ายตัวอ่อนสามารถทาได้ในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน ดังนี้
การย้ายตัวอ่อนในระยะบลาสโตซิสต์ (blastocyst transfer) เป็น
เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในการช่วยเหลือคู่สมรสที่มีบุตรยาก โดยการ
เพาะเลี้ยงตัวอ่อนไว้ภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนเจริญเติบโตถึงระยะพร้อม
ฝังตัว (ใช้ระยะเวลา 5 วันหลังการผสม) ที่เรียกว่าบลาสโตซิสต์
(blastocyst) แล้วจึงค่อยใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อให้ตัวอ่อนฝังตัว
และเกิดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีนี้จะช่วยให้ตัวอ่อนพร้อมฝังตัว เพิ่มโอกาส
ในการตั้งครรภ์ การย้ายตัวอ่อนในระยะวันที่ 3 หลังการผสม
(day 3 transfer)เป็นวิธีการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนมี
การแบ่งเซลล์เป็น 6-8 เซลล์ซึ่งใช้เวลาประมาณ 3 วันหลังการผสม แล้ว
จึงใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก
ระยะเวลำในกำรทำเด็กหลอดแก้ว
กระบวนการทาเด็กหลอดแก้วใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 4-6 สัปดาห์
จึงจะสมบูรณ์ โดยหลังการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกประมาณ 2 สัปดาห์
แพทย์จะนัดมาตรวจเลือดเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์
คูสมรสที่เหมำะกับกำรรักษำด้วยวิธี IVFได้แก
1. ฝ่ายหญิงมีความผิดปกติของท่อนาไข่ตีบหรือตันทั้งสองข้าง
2. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และรักษาด้วยการผ่าตัดแล้วไม่ได้ผล
3. ฝ่ายหญิงมีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ และรักษาภาวะนี้แล้วด้วยวิธี
อื่นไม่ได้ผล
4. เชื้ออสุจิฝ่ายชายคุณภาพไม่ดี ซึ่งรักษาด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล
5. ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
ภำพกำรทำเด็กหลอดแก้ว
กำรทำกิฟต์ (GIFT)
กิฟต์(GIFT) คือ การนาเอาไข่และตัวอสุจิไปใส่ไว้ที่ท่อนาไข่เพื่อให้
เกิดการปฏิสนธิหรือรวมตัวกันตามธรรมชาติ หลังจากนั้นหากไข่และอสุจิ
สามารถปฏิสนธิกันได้ก็จะมีการเจริญเติบโตเป็นตัวอ่อนและเดินทางมาฝังตัว
ในโพรงมดลูก และเกิดเป็นการตั้งครรภ์ในที่สุด ดังนั้น GIFT จึงเป็นหนึ่งใน
วิธีการรักษาภาวะผู้มีบุตรยาก ซึ่งการรักษาด้วยวิธีนี้ค่อนข้างสิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่ายและเวลาต่างๆ สาหรับการรักษามาก นอกจากนั้น อาจเกิด
ภาวะแทรกซ้อนได้อีกด้วยถึงแม้ว่าจะเป็นส่วนน้อยก็ตาม
หลักกำรทำกิฟต์
คือการนาไข่และอสุจิมารวมกัน แล้วฉีดเข้าท่อนาไข่ โดยผ่านทาง
ปลายของท่อให้มีการปฏิสนธิ การแบ่งตัวของตัวอ่อนและการฝังตัวเกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ
ขั้นตอนกำรทำกิฟต์
1. การกระตุ้นรังไข่ จะเริ่มทาเมื่อมีรอบเดือนมาโดยให้ยากระตุ้น ซึ่ง
อาจเป็นชนิดรับประทาน ฉีด หรือพ่นเข้าจมูก และอื่นๆ โดยแพทย์จะ
พิจารณาเป็นรายๆ ไป ระยะที่ให้ยากระตุ้นรังไข่นั้น ส่วนมากนาน
ประมาณ 7 ถึง 10 วัน และสามารถตรวจดูการตอบสนองของรังไข่ได้ด้วย
การตรวจอัลตร้าซาวด์เป็นหลัก รวมทั้งการตรวจเลือดดูระดับฮอร์โมนร่วม
ด้วย จนเมื่อได้ไข่ที่มีขนาดใหญ่จานวนมากพอแล้วจะกระตุ้นการตกไข่
โดยการฉีด hCG จนผ่านไปประมาณ 34-36 ชั่วโมงก็จะทาการเจาะไข่
2. การเจาะไข่ ทาได้โดยใช้เข็มเจาะถุงไข่แล้วดูดเอาไข่ภายในถุงออกมา
วิธีที่นิยมในปัจจุบันมี 2 วิธีคือ
2.1 การเจาะผ่านทางผนังหน้าท้อง โดยการอาศัยกล้องตรวจช่องท้อง
ซึ่งสามารถเห็นรังไข่ได้ชัดเจน แล้วใช้เข็มเจาะดูดไข่โดยตรง
2.2 การเจาะผ่านผนังช่องคลอด โดยการอาศัยเครื่องอัลตร้าซาวด์
ซึ่งมีเข็มเจาะและดูดไข่ติดอยู่ที่หัวตรวจทางช่องคลอด
3. การย้ายเซลล์ไข่และอสุจิเข้าสู่ท่อนาไข่ ส่วนใหญ่มักใช้การส่องกล้อง
ทางหน้าท้อง (Laparoscopy) เป็นวิธีหลัก โดยไข่ที่ถูกเลือกไว้แล้วจะถูกดูด
เข้ามาในสายยางที่ใช้สาหรับการย้ายเซลล์สืบพันธุ์เข้าท่อนาไข่ รวมกับเชื้อ
อสุจิที่เตรียมไว้สาหรับวิธีการอื่นๆ อาจทาโดยการผ่าตัดทางหน้าท้องเป็น
แผลเล็กๆ แล้วนาท่อนาไข่ขึ้นมา จากนั้นจึงฉีดไข่และอสุจิที่เตรียมไว้เข้าท่อ
นาไข่โดยตรง แต่วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมมากนักในปัจจุบัน
4. การให้ฮอร์โมนในระยะหลังการทากิฟท์ โดยแพทย์จะให้ฮอร์โมนช่วย
ในการฝังตัวของตัวอ่อน
5. การทดสอบการตั้งครรภ์ โดยการตรวจระดับ hCG ในกระแสเลือด
ประมาณ 12 วันหลังจากการทากิฟท์
ภำพกำรทำกิฟต์ (GIET)
กำรทำซิฟต์ (ZIFT)
การทาซิฟต์(ZIFT) คือ การรักษาภาวะมีบุตรยากในคู่สมรสที่ไข่
และอสุจิไม่สามารถพบกันเองได้ตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก
ท่อนาไข่ ทางานผิดปกติ มีภาวะเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ มีพังผืดในอุ้งเชิง
กรานมาก ฝ่ายชายมีจานวนตัวอสุจิน้อยกว่าปกติ หรือในบางรายที่หา
สาเหตุไม่พบ วิธีการทาซิฟต์จะคล้ายกับการทากิฟต์ร่วมกับการทาเด็ก
หลอดแก้ว คือ มีการเจาะเก็บไข่และนามาปฏิสนธิกับอสุจิภายนอก
ร่างกาย แล้วเลี้ยงตัวอ่อน อีก 1-2 วันจากนั้นแพทย์จะทาการนาตัวอ่อนใส่
กลับเข้าไปในท่อนาไข่โดยการเจาะผ่านทางหน้าท้อง ดังนั้นฝ่ายหญิง
จะต้องมีท่อนาไข่ปกติอย่าง น้อย 1 ข้าง ข้อดีของการทาซิฟท์คือ สามารถ
แน่ใจได้ว่าไข่และอสุจิมีการปฏิสนธิกันแล้ว อัตราความสาเร็จของวิธีนี้
ประมาณ 30-40% ต่อ รอบการรักษา
ขั้นตอนกำรทำซิฟต์
1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ
2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ
3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด
4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่
5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ
6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ
ใส่กลับเข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว
7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
เพื่อช่วยในการฝังตัว
8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดูการ
ตั้งครรภ์
ข้อบงชี้ในกำรทำซิฟต์
1. ในฝ่ายหญิงนั้นมีความผิดปกติที่เกี่ยวกับท่อนาไข่ แต่ควรมีข้าง
ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
2. ฝ่ายหญิงมีภาวะที่เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
3. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และอาจรักษาด้วยวิธีอื่น
ไม่ได้ผล
4. ฝ่ายหญิงมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิในมูกของปากมดลูก หรือใน
กระแสเลือด
5. ฝ่ายชายมีตัวอสุจิน้อย หรือเคลื่อนไหวช้า
6. ทั้งคู่สามีภรรยา มีบุตรยากมาแล้วนานกว่า 2 ปี โดยไม่ทราบ
สาเหตุความผิดปกติ
ภำพกำรทำซิฟต์
ควำมแตกตำงของกำรทำกิฟต์และซิฟต์
กำรทำ กิฟต์ (GIFT : gamete intra fallopain transfer) เป็น
วิธีกำรที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ทั้งไขและอสุจิมำผสมกันโดยกำรดูดเอำไข
ที่ถูกกระตุ้นออก มำจำกรังไข และใสรวมกับตัวอสุจิที่ผำนกำรคัด
แยกแล้ว จำกนั้นจึงใสกลับเข้ำสูทอนำไขทันที เป็นวิธีกำรอำศัยให้
อสุจิและไขปฏิสนธิกันเองตำม ธรรมชำติ ควำมสำเร็จในกำร
ตั้งครรภ์แตละครั้งประมำณร้อยละ 30 – 40 แพทย์จะใช้วิธีกำรนี้
กรณีที่ฝำยชำยมีเชื้ออสุจิออนแอไมมำกนัก หรือฝำยหญิงมีทอนำไข
ที่ปกติอยำงน้อย 1 ข้ำง และมีภำวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่และมี
พังผืดมำก
กำรทำซิฟต์ (ZIFT : zygote Intra fallopain transfer) เป็น
วิธีกำรเก็บ เซลล์สืบพันธุ์ทั้งไขและอสุจิมำผสมกันให้เกิดกำร
ปฏิสนธินอกรำงกำยกอน แล้วจึงนำตัวออนในระยะ Zygote ใส
กลับเข้ำไปในทอนำไข และเดินทำงตอตำมทอนำไขเพื่อไปฝัง
ตัวยังโพรงมดลูก เป็นวิธีกำรที่แนใจได้วำมีกำรผสมกันระหวำง
ไขกับตัวอสุจิ สวนจะแบงตัวตอไปเป็นตัวออนที่สมบูรณ์
หรือไมนั้น ปลอยให้เป็นไปตำมธรรมชำติในรำงกำยสวนระบบ
กำรเจริญพันธุ์ ควำมสำเร็จในกำรตั้งครรภ์ แตละครั้งประมำณ
ร้อยละ 30 -40 แพทย์จะใช้วิธีกำรนี้กรณีที่ฝำยชำยมีเชื้ออสุจิ
น้อยกวำปกติ หรือฝำยหญิงที่ทอนำไขไมตัน แตทำงำนไมปกติ
มีภำวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่และมีพังผืดมำก
กำรผสมเทียม (Artificial Insemination)
การผสมเทียม คือ การทาให้เกิดการปฏิสนธิในสัตว์โดยไม่ต้องมีการร่วม
เพศตามธรรมชาติ โดยมนุษย์เป็นผู้ฉีดน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์
ของสัตว์ตัวเมียที่กาลังเป็นสัด เพื่อให้อสุจิผสมกับไข่ทาให้เกิดการปฏิสนธิ ซึ่งเป็น
ผลให้ตัวเมียตั้งท้องขึ้น
1.1 กำรผสมเทียมโค กระบือ และสุกร
1.) การรีดเก็บน้าเชื้อ โดยการใช้เครื่องมือช่วยกระตุ้นให้ตัวผู้หลั่งน้าเชื้อออกมา
แล้วรีดเก็บน้าเชื้อเอาไว้ซึ่งต้องคานึงถึงอายุ ความสมบูรณ์ของตัวผู้รวมทั้ง
ระยะเวลาที่เหมาะสมและวิธีการซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์นั้นเอง
2.) การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ น้าเชื้อที่รีดมาจะมีการตรวจดูปริมาณของตัวอสุจิและ
การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อตรวจดูว่าตัวอสุจิมีความ
แข็งแรงและมีปริมาณมากพอที่จะนาไปใช้งานหรือไม่
3.) การละลายน้าเชื้อ โดยการนาน้ายาเลี้ยงเชื้อเติมลงไปในน้าเชื้อเพื่อเลี้ยงตัวอสุจิ
และช่วยเพิ่มปริมาณน้าเชื้อ เพื่อให้สามารถนาไปแบ่งฉีดให้กับตัวเมียได้หลาย ๆ ตัว
สำรที่เติมลงไปในน้ำเชื้อ ได้แก
1. ไขแดง เพื่อเป็นอำหำรของตัวอสุจิ
2. โซเดียมซิเตรต เพื่อรักษำควำมเป็นกรด-เบส
3. สำรปฏิชีวนะ เพื่อฆำเชื้อโรคในน้ำเชื้อ
มีขั้นตอนดังนี้
4.) กำรเก็บรักษำน้ำเชื้อ มี 2 แบบ คือ
4.1 น้ำเชื้อสด หมำยถึง น้ำเชื้อที่ละลำยแล้วนำไปเก็บรักษำที่อุณหภูมิ 4-5 °C ซึ่งจะ
เก็บได้นำนเป็นเดือน แตถ้ำเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 15-20 °C จะเก็บได้นำน 4 วัน
4.2 น้ำเชื้อแชแข็ง หมำยถึง น้ำเชื้อที่นำมำทำให้เย็นจัดจนแข็งตัว แล้วจึงนำไปเก็บ
รักษำไว้ในไนโตรเจนเหลวที่มีอุณหภูมิ 1-96 °C ซึ่งสำมำรถเก็บไว้ได้นำนเป็นปี
5.) กำรฉีดน้ำเชื้อ จะฉีดให้แมพันธ์ที่ได้รับกำรคัดเลือกและต้องอยูในวัยที่ผสมพันธุ์
ได้ ถ้ำเป็นโคต้องมีอำยุประมำณ 18 เดือน กระบือต้องมีอำยุประมำณ 3 ปี และสุกร
ต้องมีอำยุประมำณ 10 เดือน
1.2 กำรผสมเทียมปลำ
การผสมเทียมปลา มีวิธีการดังนี้
1.) คัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ปลาที่สมบูรณ์ มีน้าเชื้อดีและมีไข่มากจากปลาที่กาลังอยู่ใน
วัยผสมพันธุ์ได้
2.) ฉีดฮอร์โมนให้แม่ปลา เพื่อเร่งให้แม่ปลามีไข่สุกเร็วขึ้น ฮอร์โมนที่ฉีดนี้ได้จาการนา
ต่อมใต้สมองของปลาพันธุ์เดียวกันซึ่งเป็นเพศใดก็ได้ นามาบดให้ละเอียดแล้วผสมน้า
กลั่นฉีดเข้าที่บริเวณเส้นข้างลาตัวของแม่ปลา
3.) หลังจากฉีดฮอร์โมนให้แม่ปลาแล้วประมาณ 5-12 ชั่วโมง แล้วแต่ชนิดและน้าหนัก
ของแม่ปลา ต่อจากนั้นจึงรีดไข่และน้าเชื้อจากแม่พันธุ์และพ่อพันธุ์ที่เลือกไว้ใส่ภาชนะ
ใบเดียวกัน
4.) ใช้ขนไก่คนไข่กับน้าเชื้อเบา ๆ เพื่อคลุกเคล้าให้ทั่ว แล้วใส่น้าให้ท่วม ทิ้งไว้ประมาณ
1-2 นาที จึงถ่ายทิ้งประมาณ 1-2 ครั้ง
5.) นาไข่ที่ผสมแล้วไปพักในที่ที่เตรียมไว้ซึ่งต้องเป็นที่ที่มีน้าไหลผ่านตลอดเวลา
เพื่อให้ไข่ลอยและป้องกันการทับถมของไข่ ทิ้งไว้จนกระทั่งไข่ปลาฟักออกเป็นลูกปลา
ในเวลาต่อมา
ภำพแสดงกำรผสมเทียมปลำ
กำรตัดตอยีน ( กำรดัดแปลงพันธุกรรม )
การตัดต่อยีนเป็นเทคโนโลยีที่มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ เกิดจากการ
นายีน (gene) หรือสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตอื่นใส่เข้าไปใน
สิ่งมีชีวิตที่ต้องการทาให้เกิดใหม่ตามลักษณะหรือคุณสมบัติที่
ต้องการ หรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์ที่มีใน
ธรรมชาติ เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิด “สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการ
ดัดแปลงพันธุกรรม” (GMOs) ความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีชีวภาพการตัดต่อยีนในอนาคตได้แก่ การพัฒนาพันธุ์
พืชและสัตว์ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเกษตร ปศุสัตว์
อุตสาหกรรม เคมีอุตสาหกรรม อาหาร ยารักษาโรค รวมทั้งการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของโลก
ปรับปรุงพันธุ์พืช
- การพัฒนาพันธุ์พืชต้านทานแมลงและโรค
- การพัฒนาพันธุ์พืชให้มีคุณภาพผลผลิตที่พึงประสงค์เช่น สุกงอมช้าลง
- การพัฒนาพันธุ์พืชให้ผลิตสารพิเศษ เช่น มีวิตามินมากขึ้น มีกลิ่นหอมมากขึ้น
ตัวอย่าง เช่น มะเขือเทศสุกงอมช้าและไม่นิ่ม ฟักทองต้านไวรัส ถั่วเหลืองต้านวัชพืช
มันฝรั่งต้านแมลง ฝ้ายที่ทนยาฆ่าวัชพืช Bacillus Thuringiensis (BT) ข้าวที่มีวิตามินเอ
เมล็ดทานตะวันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง เป็นต้น
กำรพัฒนำพันธุ์สัตว์
- โตเร็วกว่าปกติ และมีขนาดใหญ่กว่าปกติ
- กินอาหารลดลง และขับถ่ายของเสียลดลง
- ทนทานโรคและแมลง ตัวอย่าง เช่น ลูกหมูโตเร็วกว่าปกติ ถึงร้อยละ 40 และมีขนาด
ใหญ่กว่าหมูปกติ ในขณะที่กินอาหารลดลง 25% หมูเหล่านี้ขับถ่ายของเสียลดลงมาก
วัวที่ทนโรคและแมลง ไข่ไก่ที่มีโคเลสเตอรอลน้อยลง ปลาทูน่าโตเร็วและต้านทานโรค
เป็นต้น
ภำพกำรตัดตอยีน
ขอจบการนาเสนอเพียงเท่านี้ค่ะ ><!!

More Related Content

What's hot

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

หู
หูหู
หู
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 

Viewers also liked

2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมkrapong
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพsirikase
 
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...Prachoom Rangkasikorn
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น ข้างแรม
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น   ข้างแรมแผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น   ข้างแรม
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น ข้างแรมKook Su-Ja
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
Presentation on Free Radicals Theory of Aging ppt
Presentation on Free Radicals Theory of Aging pptPresentation on Free Radicals Theory of Aging ppt
Presentation on Free Radicals Theory of Aging pptSameer Saharan
 
13. free radicals and antioxidants
13. free radicals and antioxidants13. free radicals and antioxidants
13. free radicals and antioxidantsMadhumita Sen
 

Viewers also liked (20)

2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
 
สุนทรียศาสตร์ สุนทรียภาพ
สุนทรียศาสตร์ สุนทรียภาพสุนทรียศาสตร์ สุนทรียภาพ
สุนทรียศาสตร์ สุนทรียภาพ
 
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...
ใบความรู้+ข้างขึ้นข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f14...
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น ข้างแรม
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น   ข้างแรมแผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น   ข้างแรม
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.6 ข้างขึ้น ข้างแรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
A Student's Prayer
A Student's PrayerA Student's Prayer
A Student's Prayer
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
Presentation on Free Radicals Theory of Aging ppt
Presentation on Free Radicals Theory of Aging pptPresentation on Free Radicals Theory of Aging ppt
Presentation on Free Radicals Theory of Aging ppt
 
13. free radicals and antioxidants
13. free radicals and antioxidants13. free radicals and antioxidants
13. free radicals and antioxidants
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (6)

มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

  • 1.
  • 2. การกลายพันธุ์ หรือ มิวเทชั่น (mutation)คือ สภาพของสิ่งมีชีวิตที่เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรม ทาให้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เกิดการ กลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)นั้น เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เคยเป็น หรือ แตกต่างไป จากประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น โดยเฉพาะ การ เปลี่ยนแปลงของยีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตนั้น
  • 3. - การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)ที่เซลล์ร่างกาย (somatic cell) การกลายพันธุ์ที่เซลล์ร่างกายจะเกิดกับยีน(gene)ในเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย อาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของส่วนของ ร่างกายไปจากเดิม เช่น เกิดเนื้องอก โรคมะเร็ง เป็นต้น - การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)ที่เซลล์สืบพันธุ์ การกลายพันธุ์ที่เซลล์สืบพันธุ์ จะเกิดกับยีน(gene)ในเซลล์ สืบพันธุ์ อาจทาให้ยีน(gene)หรือแอลลีล(allele)มีความ ผิดปกติ และสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ อาจส่งผลภาวะ ผิดปกติในรุ่นลูกรุ่นหลานได้
  • 4. 1. โครโมโซมมิวเทชั่น (Chromosome mutation) การเปลี่ยนไปของโครโมโซมมี 2 แบบ คือ 1.1 จำนวนโครโมโซมเปลี่ยนไป ตัวอย่างเช่น -อะนิวพลอยดี้ (aneuploidy) การเพิ่มหรือลดโครโมโซมเป็นแท่ง คือจาก 46 แท่งอาจเพิ่มเป็น 47 หรือลดเป็น 45 แท่ง ได้แก่ โมโนโซมิค (momosomic), ไดโซมิค (disomic), ไตรโซมิค (trisomic), โพลิโซมิค (polysomic)
  • 5. - ยูพลอยดี้(euploidy) กำรเพิ่มหรือลด โครโมโซมเป็นชุด ได้แก่ แฮพพลอยด์ (haploid=n) พบในเซลล์สืบพันธุ์ โมโนพลอยด์(monoploid = n) พบในเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์สืบพันธุ์ ดิพลอยด์ (diploid = 2n) เซลล์ปกติ ทริปพลอยด์ (triploid = 3n) ในแตงโมไม่มีเมล็ด โพลิพลอยด์(polyploid = หลายๆ n) ในข้าวสาลี
  • 6. 1.2 โครงสร้ำงของโครโมโซมเปลี่ยนแปลง เช่น ดีลีชั่น (deletion) การที่โครโมโซมหายไป ซึ่งคือชิ้นส่วนหรือเบสหายไปนั่นเอง ดูพลิเคชั่น (duplication) การเพิ่มของโครโมโซม อินเวอร์ชั่น (inversion) การกลับหัวกลับหางของ โครโมโซม ทรานสโลเคชั่น (translocation) การที่ โครโมโซม ไม่เป็นคู่ (non-homologous chromosome) มาแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนกัน
  • 7. 2. ยีนมิวเทชั่น (Gene mutation) คือ กำรที่เบสเปลี่ยนแปลง ได้แก 1. นอนเซ็นต์ (nonsense) ทาให้เบสเปลี่ยนเป็นรหัสพันธุกรรมหยุดสร้างสายโพลิเปปไทด์ คือ UAA, UAG, UGA 2. มิสเซ็นต์ (missense) เบสเปลี่ยนไป ทาให้เปลี่ยนแบบของกรดอะมิโนตัวใหม่ คล้ายๆ กับการ substitution 3. ดีลีชั่น (deletion) เบสหายไป 4. แอดดิชั่น (addition) เพิ่มเบสเข้าไป 5. เฟรมชิฟ มิวเทชั่น (frame-shift mutation) การเปลี่ยนเบสโดยการหายหรือการเพิ่มเพียง 1 ตัว ทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยน ทาให้โพลิเปปไทด์ตั้งแต่จุดเปลี่ยนเบสเปลี่ยนแปลงไปตลอด สาย 6. เบสแทนที่กัน (base pair substitution) จะแทนที่แบบทรานซิชั่น คือ จากพิวรีน ไปเป็นพิ วรีน และจากไพริมิดีน ไปเป็นไพริมิดีนหรือการแทนที่แบบทรานสเวอร์ชั่น(transversion) คือ จากพิวรีนไปเป็น ไพริมิดีน 7. กำรเกิด รีเวอร์สแทนต์ (revertant) ในรีเวอร์สชั่น (reversion) (เกิด แอดดิชั่น แล้วตามด้วยดี ลีชั่น) โดยมีกรดอะมิโนไม่มากที่เปลี่ยนแปลงไป
  • 8. 1. เกิดมิวเทชั่นปกติ (Spontaneous mutation) เกิดเองตาม ธรรมชาติที่ควบคุมไม่ได้ 2. ชักนำให้เกิด (Induced mutation) โดยการกระตุ้นด้วย มิวทาเจน (mutagen = สารที่ก่อให้เกิดมิวเทชั่น) โดยคนเป็นผู้ทา
  • 9. สารก่อกลายพันธุ์ (มิวทาเจน = Mutagen) 1.) รังสี (ionizing radiation) มีพลังงานสูง ผลิต Ions, x - ray และรังสี อื่นๆ 2.) แสง (nonionizing radiation) มีพลังงานสูง มีแรงแทรกซึมต่า เช่น รังสี UV 3.) สำรเคมี (chemical mutagen) Nitrous acid, mustad gas 4.) Alflatoxin B จากถั่วที่ขึ้นราจาก fungi 5.) 2 - amino 5 - nitrophenol ที่พบใน Hair dye components 6.) caffeine ใน Cola, tea, coffee, pain relievers(ยาแก้ปวด) 7.) Sodium nitrite จากพวกเนื้อรมควัน
  • 10. สำเหตุของกำรกลำยพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation) - เกิดขึ้นเองโดยธรรมชำติ (spontaneous mutation)หรือ เกิดจากสิ่งก่อ กลายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น ในการจาลองตัวเองของดีเอ็นเอ ฃ (DNA replication) อาจมีการนาเบสที่ไม่ถูกต้องใส่เข้าไปในดีเอ็นเอ (DNA)สายใหม่, รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์โดยที่ไม่ได้เกิดจาก มนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสีเหนี่ยวนาให้เกิดการกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation) - เกิดจำกกำรเหนี่ยวนำ (induced mutation)เป็นการกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น,mutation)ที่มนุษย์ใช้สารเคมีหรือรังสี ทาให้ดีเอ็นเอ(DNA) หรือ ยีน(gene) หรือ อาร์เอ็นเอ(RNA) ของสิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงและ เกิดลักษณะแปลกใหม่ที่กลายพันธุ์ไปจากเดิม สารเคมีหรือรังสีที่ก่อให้เกิด การกลายพันธุ์ (มิวเทชั่น, mutation)นี้ เรียกว่า “สิ่งก่อกลายพันธุ์ (มิวทาเจน, mutagen)”
  • 12. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ( natural selection) เป็น ขบวนการแบบค่อยเป็นค่อยไปและไม่สุ่ม ซึ่งลักษณะทาง ชีววิทยาจะพบมากขึ้นหรือน้อยลงในประชากรเป็นหน้าที่ของ การสืบพันธุ์แตกต่างกันของผู้ให้กาเนิด มันเป็นกลไกสาคัญ ของวิวัฒนาการ คาว่า "การคัดเลือกโดยธรรมชาติ" นั้น ถูกทา ให้แพร่หลายโดย ชาลส์ดาร์วิน ผู้ตั้งใจให้เทียบได้กับการ คัดเลือกโดยมนุษย์(artificial selection) หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า การคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding)
  • 13. วิวัฒนำกำรโดยกำรคัดเลือกตำมธรรมชำติ ตำมแนวคิด ของดำร์วิน มำจำกข้อสังเกตที่เป็นสภำวะธรรมชำติของ สิ่งมีชีวิต 4 ข้อ คือ 1.การผลิตที่มากเกิน (overpopulation) 2.ข้อจากัดต่อการเติบโตของประชากร (limits on population growth) 3.ความแปรผัน (variation) 4.ความแตกต่างในความสาเร็จของการสืบพันธุ์ (differential reproductive success)
  • 14.
  • 15. กำรคัดเลือกพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์โดยมนุษย์ กำรคัดเลือกพันธุ์ แบงได้เป็น 2 ชนิด คือ 1.การคัดเลือกพันธุ์ผสม มนุษย์ได้ใช้วิธีการคัดเลือกพันธุ์ผสมกับพืช และ สัตว์มากมายหลายชนิด โดยต้องการเพิ่มคุณค่าของพืชและสัตว์ให้ตรงตามความ ต้องการของมนุษย์ กำรคัดเลือกพันธุ์ผสม มี 2 วิธี คือ 1.1 กำรคัดเลือกพันธุ์ผสมที่เกิดจำกกำรผสมในสำยพันธุ์เดียวกัน (Inbreeding) ทาได้โดยนาสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน 2 ตัว มาผสมกัน ลูกผสมที่เกิดจากการผสม ในสายพันธุ์เดียวกันเช่นนี้จะมีความคล้ายคลึงกับรุ่นพ่อแม่มาก 1.2 กำรคัดเลือกพันธุ์ผสมที่เกิดจำกกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ (Hybridization) เป็นการผสมที่นาสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกันมาผสมกัน ได้ลูกผสมที่มีลักษณะแตกต่างกัน แล้วจึงคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมที่ได้รับลักษณะที่ดี ที่สุดจากพ่อแม่มาเพาะพันธุ์ต่อไป
  • 16.
  • 17. 2.การคัดเลือกพันธุ์พืชใหม่จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช จะพบว่า ผลของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะได้ต้น พืชที่สมบูรณ์ มีลักษณะเหมือนกันจานวนมาก แต่ต้นอ่อนทีได้จาก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงต่อๆไปหลายๆรุ่น จะเกิดการ เปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ไปตามสภาพแวดล้อมจานวนมาก โดยไม่ ต้องใช้สารเคมีหรือกัมมันตรังสีเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์
  • 18. กำรปรับปรุงพันธ์พืช การปรับปรุงพันธุ์พืช หมายถึง การปรับปรุงที่ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางพันธุกรรมของพืชเพื่อให้ ได้พันธุ์ที่มีลักษณะดีกว่าเดิม ในทุกลักษณะเท่าที่จะทา ได้ หลักและวิธีกำรปรับปรุงพันธุ์พืชมี 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. การรวบรวมพันธุ์พืช (collection) 2. การคัดเลือกพันธุ์ (selection) 3. การผสมพันธุ์ (hybridization)
  • 19. กำรโคลนนิ่ง (Cloning) คือ การคัดลอก หรือการทาซ้า ให้มี ลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ หากกล่าวเรื่อง การโคลนนิ่ง (Cloning) ในแง่ของสิ่งมีชีวิตที่ เกี่ยวพันถึงเทคโนโลยีชีวภาพแล้ว การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ กระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ ชนิดหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ โดยคาว่าโคลน (Clone) นั้นมา จากภาษากรีกจากคาว่า “Klone” ซึ่งแปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน โดยใช้ อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual) ของในพืชและสัตว์ และโดยที่คาว่าโคลน จะถูกใช้เรียกสิ่งที่ถูกโคลนออกมาจาก สิ่งมีชีวิตต้นแบบ
  • 20. กำรโคลนนิ่งสัตว์ (Animals Cloning) การโคลนนิ่งสัตว์คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาที่มี รูปร่าง, หน้าตา, ลักษณะต่างๆ,พันธุกรรม รวมถึงเพศ เหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นต้นแบบ หรือ เรียกได้ว่า ถอดแบบกันออกมา การโคลนนิ่งสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง(cloning)โดยใช้เซลล์จากตัว อ่อนของสัตว์ทาให้มีเกิดลูกสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง(cloning)หลายชนิด มี ทั้ง หมู โค กระต่าย แพะ แกะ แต่ยังไม่เคยมีลูกสัตว์ที่เกิดจากการโคลนนิ่ง (cloning)ด้วยนิวเคลียส(nucleus)จากเซลล์ร่างกาย(somatic cell) กำรโคลนนิ่งสัตว์ด้วยวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์มีอยู 2 วิธี คือ 1.การถ่ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear transplantation) 2.การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere separation or embryo bisection)
  • 21.
  • 22. กำรโคลนนิ่งมนุษย์ (Human Cloning) ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีการการโคลนนิ่ง(cloning)มนุษย์ เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ เนื่องด้วยปัญหาทางด้านจริยธรรม อย่างเช่น ในกรณีที่มีคนต้องการอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง เนื่องจากอาจสูญเสียไป หรือ ใช้การไม่ได้อันเนื่องเหตุใด เหตุหนึ่ง แล้วรอรับบริจาคอวัยวะนั้นอยู่เพื่อการปลูกถ่าย ทดแทนอวัยวะเดิมที่สูญเสียไป ซึ่งต่อให้ได้รับบริจาคแล้วก็ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับด้านภูมิคุ้มกันตนเองที่อาจต่อต้านอวัยวะ ที่รับมาใหม่ได้ทาให้เกิดผลไม่ดีได้
  • 23. กำรทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) In Vitro Fertilization หรือ IVF เป็นการปฏิสนธิ ภายนอกร่างกายรูปแบบหนึ่ง ที่ใกล้เคียงธรรมชาติมาก ที่สุด คือ การปล่อยให้มีการคัดเลือกตามธรรมชาติ โดย อสุจิที่แข็งแรงที่สุดเท่านั้นจึงจะสามารถทาการปฏิสนธิ กับไข่ได้วิธีนี้เป็นทางเลือกหนึ่งในการทาเด็กหลอดแก้ว เหมาะสาหรับผู้ที่มีปัญหาภาวะมีบุตรยากที่ไม่รุนแรงนัก
  • 24. ขั้นตอนในกำรทำเด็กหลอดแก้ว แพทย์จะเลือกเก็บไข่ที่สมบูรณ์จากรังไข่โดยใช้เข็มดูดผ่านทางช่อง คลอด โดยอาศัยเครื่องอัลตราซาวนด์ซึ่งจาเป็นต้องให้ยาสลบเพื่อป้องกันความ เจ็บปวด ใช้เวลาเก็บไข่ประมาณ 30 นาที หลังการเก็บไข่ ฝ่ายหญิง จะได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมนชนิดสอดช่องคลอดหรือฉีดอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไข่และอสุจิจะ ถูกผสมกันในห้องปฏิบัติการเลี้ยงและควบคุมคุณภาพตัวอ่อน จากนั้นติดตามดู ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิใน 2 วันต่อมาในวันถัดมา ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ จะกลายเป็นตัวอ่อน พร้อมที่จะย้ายเข้าโพรงมดลูกซึ่งมักจะทาในวันที่ 3-5 หลัง วันเก็บไข่ ซึ่งขั้นตอนของการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกไม่จาเป็นต้อง งดน้าและอาหารก่อนมาโรงพยาบาล ไม่จาเป็นต้องดมยาสลบ และใช้เวลา ประมาณ 30 นาที
  • 25. ระยะของกำรย้ำยตัวออน การย้ายตัวอ่อนสามารถทาได้ในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน ดังนี้ การย้ายตัวอ่อนในระยะบลาสโตซิสต์ (blastocyst transfer) เป็น เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในการช่วยเหลือคู่สมรสที่มีบุตรยาก โดยการ เพาะเลี้ยงตัวอ่อนไว้ภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนเจริญเติบโตถึงระยะพร้อม ฝังตัว (ใช้ระยะเวลา 5 วันหลังการผสม) ที่เรียกว่าบลาสโตซิสต์ (blastocyst) แล้วจึงค่อยใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อให้ตัวอ่อนฝังตัว และเกิดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีนี้จะช่วยให้ตัวอ่อนพร้อมฝังตัว เพิ่มโอกาส ในการตั้งครรภ์ การย้ายตัวอ่อนในระยะวันที่ 3 หลังการผสม (day 3 transfer)เป็นวิธีการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนภายนอกร่างกายจนตัวอ่อนมี การแบ่งเซลล์เป็น 6-8 เซลล์ซึ่งใช้เวลาประมาณ 3 วันหลังการผสม แล้ว จึงใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูก
  • 26. ระยะเวลำในกำรทำเด็กหลอดแก้ว กระบวนการทาเด็กหลอดแก้วใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 4-6 สัปดาห์ จึงจะสมบูรณ์ โดยหลังการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกประมาณ 2 สัปดาห์ แพทย์จะนัดมาตรวจเลือดเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์ คูสมรสที่เหมำะกับกำรรักษำด้วยวิธี IVFได้แก 1. ฝ่ายหญิงมีความผิดปกติของท่อนาไข่ตีบหรือตันทั้งสองข้าง 2. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และรักษาด้วยการผ่าตัดแล้วไม่ได้ผล 3. ฝ่ายหญิงมีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ และรักษาภาวะนี้แล้วด้วยวิธี อื่นไม่ได้ผล 4. เชื้ออสุจิฝ่ายชายคุณภาพไม่ดี ซึ่งรักษาด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล 5. ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
  • 28. กำรทำกิฟต์ (GIFT) กิฟต์(GIFT) คือ การนาเอาไข่และตัวอสุจิไปใส่ไว้ที่ท่อนาไข่เพื่อให้ เกิดการปฏิสนธิหรือรวมตัวกันตามธรรมชาติ หลังจากนั้นหากไข่และอสุจิ สามารถปฏิสนธิกันได้ก็จะมีการเจริญเติบโตเป็นตัวอ่อนและเดินทางมาฝังตัว ในโพรงมดลูก และเกิดเป็นการตั้งครรภ์ในที่สุด ดังนั้น GIFT จึงเป็นหนึ่งใน วิธีการรักษาภาวะผู้มีบุตรยาก ซึ่งการรักษาด้วยวิธีนี้ค่อนข้างสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายและเวลาต่างๆ สาหรับการรักษามาก นอกจากนั้น อาจเกิด ภาวะแทรกซ้อนได้อีกด้วยถึงแม้ว่าจะเป็นส่วนน้อยก็ตาม หลักกำรทำกิฟต์ คือการนาไข่และอสุจิมารวมกัน แล้วฉีดเข้าท่อนาไข่ โดยผ่านทาง ปลายของท่อให้มีการปฏิสนธิ การแบ่งตัวของตัวอ่อนและการฝังตัวเกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ
  • 29. ขั้นตอนกำรทำกิฟต์ 1. การกระตุ้นรังไข่ จะเริ่มทาเมื่อมีรอบเดือนมาโดยให้ยากระตุ้น ซึ่ง อาจเป็นชนิดรับประทาน ฉีด หรือพ่นเข้าจมูก และอื่นๆ โดยแพทย์จะ พิจารณาเป็นรายๆ ไป ระยะที่ให้ยากระตุ้นรังไข่นั้น ส่วนมากนาน ประมาณ 7 ถึง 10 วัน และสามารถตรวจดูการตอบสนองของรังไข่ได้ด้วย การตรวจอัลตร้าซาวด์เป็นหลัก รวมทั้งการตรวจเลือดดูระดับฮอร์โมนร่วม ด้วย จนเมื่อได้ไข่ที่มีขนาดใหญ่จานวนมากพอแล้วจะกระตุ้นการตกไข่ โดยการฉีด hCG จนผ่านไปประมาณ 34-36 ชั่วโมงก็จะทาการเจาะไข่ 2. การเจาะไข่ ทาได้โดยใช้เข็มเจาะถุงไข่แล้วดูดเอาไข่ภายในถุงออกมา วิธีที่นิยมในปัจจุบันมี 2 วิธีคือ 2.1 การเจาะผ่านทางผนังหน้าท้อง โดยการอาศัยกล้องตรวจช่องท้อง ซึ่งสามารถเห็นรังไข่ได้ชัดเจน แล้วใช้เข็มเจาะดูดไข่โดยตรง
  • 30. 2.2 การเจาะผ่านผนังช่องคลอด โดยการอาศัยเครื่องอัลตร้าซาวด์ ซึ่งมีเข็มเจาะและดูดไข่ติดอยู่ที่หัวตรวจทางช่องคลอด 3. การย้ายเซลล์ไข่และอสุจิเข้าสู่ท่อนาไข่ ส่วนใหญ่มักใช้การส่องกล้อง ทางหน้าท้อง (Laparoscopy) เป็นวิธีหลัก โดยไข่ที่ถูกเลือกไว้แล้วจะถูกดูด เข้ามาในสายยางที่ใช้สาหรับการย้ายเซลล์สืบพันธุ์เข้าท่อนาไข่ รวมกับเชื้อ อสุจิที่เตรียมไว้สาหรับวิธีการอื่นๆ อาจทาโดยการผ่าตัดทางหน้าท้องเป็น แผลเล็กๆ แล้วนาท่อนาไข่ขึ้นมา จากนั้นจึงฉีดไข่และอสุจิที่เตรียมไว้เข้าท่อ นาไข่โดยตรง แต่วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมมากนักในปัจจุบัน 4. การให้ฮอร์โมนในระยะหลังการทากิฟท์ โดยแพทย์จะให้ฮอร์โมนช่วย ในการฝังตัวของตัวอ่อน 5. การทดสอบการตั้งครรภ์ โดยการตรวจระดับ hCG ในกระแสเลือด ประมาณ 12 วันหลังจากการทากิฟท์
  • 32. กำรทำซิฟต์ (ZIFT) การทาซิฟต์(ZIFT) คือ การรักษาภาวะมีบุตรยากในคู่สมรสที่ไข่ และอสุจิไม่สามารถพบกันเองได้ตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก ท่อนาไข่ ทางานผิดปกติ มีภาวะเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ มีพังผืดในอุ้งเชิง กรานมาก ฝ่ายชายมีจานวนตัวอสุจิน้อยกว่าปกติ หรือในบางรายที่หา สาเหตุไม่พบ วิธีการทาซิฟต์จะคล้ายกับการทากิฟต์ร่วมกับการทาเด็ก หลอดแก้ว คือ มีการเจาะเก็บไข่และนามาปฏิสนธิกับอสุจิภายนอก ร่างกาย แล้วเลี้ยงตัวอ่อน อีก 1-2 วันจากนั้นแพทย์จะทาการนาตัวอ่อนใส่ กลับเข้าไปในท่อนาไข่โดยการเจาะผ่านทางหน้าท้อง ดังนั้นฝ่ายหญิง จะต้องมีท่อนาไข่ปกติอย่าง น้อย 1 ข้าง ข้อดีของการทาซิฟท์คือ สามารถ แน่ใจได้ว่าไข่และอสุจิมีการปฏิสนธิกันแล้ว อัตราความสาเร็จของวิธีนี้ ประมาณ 30-40% ต่อ รอบการรักษา
  • 33. ขั้นตอนกำรทำซิฟต์ 1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ 2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ 3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด 4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่ 5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ 6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ ใส่กลับเข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว 7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เพื่อช่วยในการฝังตัว 8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดูการ ตั้งครรภ์
  • 34. ข้อบงชี้ในกำรทำซิฟต์ 1. ในฝ่ายหญิงนั้นมีความผิดปกติที่เกี่ยวกับท่อนาไข่ แต่ควรมีข้าง ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง 2. ฝ่ายหญิงมีภาวะที่เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ 3. ฝ่ายหญิงมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานมาก และอาจรักษาด้วยวิธีอื่น ไม่ได้ผล 4. ฝ่ายหญิงมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิในมูกของปากมดลูก หรือใน กระแสเลือด 5. ฝ่ายชายมีตัวอสุจิน้อย หรือเคลื่อนไหวช้า 6. ทั้งคู่สามีภรรยา มีบุตรยากมาแล้วนานกว่า 2 ปี โดยไม่ทราบ สาเหตุความผิดปกติ
  • 36. ควำมแตกตำงของกำรทำกิฟต์และซิฟต์ กำรทำ กิฟต์ (GIFT : gamete intra fallopain transfer) เป็น วิธีกำรที่เก็บเซลล์สืบพันธุ์ทั้งไขและอสุจิมำผสมกันโดยกำรดูดเอำไข ที่ถูกกระตุ้นออก มำจำกรังไข และใสรวมกับตัวอสุจิที่ผำนกำรคัด แยกแล้ว จำกนั้นจึงใสกลับเข้ำสูทอนำไขทันที เป็นวิธีกำรอำศัยให้ อสุจิและไขปฏิสนธิกันเองตำม ธรรมชำติ ควำมสำเร็จในกำร ตั้งครรภ์แตละครั้งประมำณร้อยละ 30 – 40 แพทย์จะใช้วิธีกำรนี้ กรณีที่ฝำยชำยมีเชื้ออสุจิออนแอไมมำกนัก หรือฝำยหญิงมีทอนำไข ที่ปกติอยำงน้อย 1 ข้ำง และมีภำวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่และมี พังผืดมำก
  • 37. กำรทำซิฟต์ (ZIFT : zygote Intra fallopain transfer) เป็น วิธีกำรเก็บ เซลล์สืบพันธุ์ทั้งไขและอสุจิมำผสมกันให้เกิดกำร ปฏิสนธินอกรำงกำยกอน แล้วจึงนำตัวออนในระยะ Zygote ใส กลับเข้ำไปในทอนำไข และเดินทำงตอตำมทอนำไขเพื่อไปฝัง ตัวยังโพรงมดลูก เป็นวิธีกำรที่แนใจได้วำมีกำรผสมกันระหวำง ไขกับตัวอสุจิ สวนจะแบงตัวตอไปเป็นตัวออนที่สมบูรณ์ หรือไมนั้น ปลอยให้เป็นไปตำมธรรมชำติในรำงกำยสวนระบบ กำรเจริญพันธุ์ ควำมสำเร็จในกำรตั้งครรภ์ แตละครั้งประมำณ ร้อยละ 30 -40 แพทย์จะใช้วิธีกำรนี้กรณีที่ฝำยชำยมีเชื้ออสุจิ น้อยกวำปกติ หรือฝำยหญิงที่ทอนำไขไมตัน แตทำงำนไมปกติ มีภำวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่และมีพังผืดมำก
  • 38. กำรผสมเทียม (Artificial Insemination) การผสมเทียม คือ การทาให้เกิดการปฏิสนธิในสัตว์โดยไม่ต้องมีการร่วม เพศตามธรรมชาติ โดยมนุษย์เป็นผู้ฉีดน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ ของสัตว์ตัวเมียที่กาลังเป็นสัด เพื่อให้อสุจิผสมกับไข่ทาให้เกิดการปฏิสนธิ ซึ่งเป็น ผลให้ตัวเมียตั้งท้องขึ้น 1.1 กำรผสมเทียมโค กระบือ และสุกร 1.) การรีดเก็บน้าเชื้อ โดยการใช้เครื่องมือช่วยกระตุ้นให้ตัวผู้หลั่งน้าเชื้อออกมา แล้วรีดเก็บน้าเชื้อเอาไว้ซึ่งต้องคานึงถึงอายุ ความสมบูรณ์ของตัวผู้รวมทั้ง ระยะเวลาที่เหมาะสมและวิธีการซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์นั้นเอง 2.) การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ น้าเชื้อที่รีดมาจะมีการตรวจดูปริมาณของตัวอสุจิและ การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อตรวจดูว่าตัวอสุจิมีความ แข็งแรงและมีปริมาณมากพอที่จะนาไปใช้งานหรือไม่ 3.) การละลายน้าเชื้อ โดยการนาน้ายาเลี้ยงเชื้อเติมลงไปในน้าเชื้อเพื่อเลี้ยงตัวอสุจิ และช่วยเพิ่มปริมาณน้าเชื้อ เพื่อให้สามารถนาไปแบ่งฉีดให้กับตัวเมียได้หลาย ๆ ตัว
  • 39. สำรที่เติมลงไปในน้ำเชื้อ ได้แก 1. ไขแดง เพื่อเป็นอำหำรของตัวอสุจิ 2. โซเดียมซิเตรต เพื่อรักษำควำมเป็นกรด-เบส 3. สำรปฏิชีวนะ เพื่อฆำเชื้อโรคในน้ำเชื้อ มีขั้นตอนดังนี้ 4.) กำรเก็บรักษำน้ำเชื้อ มี 2 แบบ คือ 4.1 น้ำเชื้อสด หมำยถึง น้ำเชื้อที่ละลำยแล้วนำไปเก็บรักษำที่อุณหภูมิ 4-5 °C ซึ่งจะ เก็บได้นำนเป็นเดือน แตถ้ำเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 15-20 °C จะเก็บได้นำน 4 วัน 4.2 น้ำเชื้อแชแข็ง หมำยถึง น้ำเชื้อที่นำมำทำให้เย็นจัดจนแข็งตัว แล้วจึงนำไปเก็บ รักษำไว้ในไนโตรเจนเหลวที่มีอุณหภูมิ 1-96 °C ซึ่งสำมำรถเก็บไว้ได้นำนเป็นปี 5.) กำรฉีดน้ำเชื้อ จะฉีดให้แมพันธ์ที่ได้รับกำรคัดเลือกและต้องอยูในวัยที่ผสมพันธุ์ ได้ ถ้ำเป็นโคต้องมีอำยุประมำณ 18 เดือน กระบือต้องมีอำยุประมำณ 3 ปี และสุกร ต้องมีอำยุประมำณ 10 เดือน
  • 40. 1.2 กำรผสมเทียมปลำ การผสมเทียมปลา มีวิธีการดังนี้ 1.) คัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ปลาที่สมบูรณ์ มีน้าเชื้อดีและมีไข่มากจากปลาที่กาลังอยู่ใน วัยผสมพันธุ์ได้ 2.) ฉีดฮอร์โมนให้แม่ปลา เพื่อเร่งให้แม่ปลามีไข่สุกเร็วขึ้น ฮอร์โมนที่ฉีดนี้ได้จาการนา ต่อมใต้สมองของปลาพันธุ์เดียวกันซึ่งเป็นเพศใดก็ได้ นามาบดให้ละเอียดแล้วผสมน้า กลั่นฉีดเข้าที่บริเวณเส้นข้างลาตัวของแม่ปลา 3.) หลังจากฉีดฮอร์โมนให้แม่ปลาแล้วประมาณ 5-12 ชั่วโมง แล้วแต่ชนิดและน้าหนัก ของแม่ปลา ต่อจากนั้นจึงรีดไข่และน้าเชื้อจากแม่พันธุ์และพ่อพันธุ์ที่เลือกไว้ใส่ภาชนะ ใบเดียวกัน 4.) ใช้ขนไก่คนไข่กับน้าเชื้อเบา ๆ เพื่อคลุกเคล้าให้ทั่ว แล้วใส่น้าให้ท่วม ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 นาที จึงถ่ายทิ้งประมาณ 1-2 ครั้ง 5.) นาไข่ที่ผสมแล้วไปพักในที่ที่เตรียมไว้ซึ่งต้องเป็นที่ที่มีน้าไหลผ่านตลอดเวลา เพื่อให้ไข่ลอยและป้องกันการทับถมของไข่ ทิ้งไว้จนกระทั่งไข่ปลาฟักออกเป็นลูกปลา ในเวลาต่อมา
  • 42. กำรตัดตอยีน ( กำรดัดแปลงพันธุกรรม ) การตัดต่อยีนเป็นเทคโนโลยีที่มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ เกิดจากการ นายีน (gene) หรือสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตอื่นใส่เข้าไปใน สิ่งมีชีวิตที่ต้องการทาให้เกิดใหม่ตามลักษณะหรือคุณสมบัติที่ ต้องการ หรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์ที่มีใน ธรรมชาติ เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิด “สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการ ดัดแปลงพันธุกรรม” (GMOs) ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีชีวภาพการตัดต่อยีนในอนาคตได้แก่ การพัฒนาพันธุ์ พืชและสัตว์ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเกษตร ปศุสัตว์ อุตสาหกรรม เคมีอุตสาหกรรม อาหาร ยารักษาโรค รวมทั้งการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของโลก
  • 43. ปรับปรุงพันธุ์พืช - การพัฒนาพันธุ์พืชต้านทานแมลงและโรค - การพัฒนาพันธุ์พืชให้มีคุณภาพผลผลิตที่พึงประสงค์เช่น สุกงอมช้าลง - การพัฒนาพันธุ์พืชให้ผลิตสารพิเศษ เช่น มีวิตามินมากขึ้น มีกลิ่นหอมมากขึ้น ตัวอย่าง เช่น มะเขือเทศสุกงอมช้าและไม่นิ่ม ฟักทองต้านไวรัส ถั่วเหลืองต้านวัชพืช มันฝรั่งต้านแมลง ฝ้ายที่ทนยาฆ่าวัชพืช Bacillus Thuringiensis (BT) ข้าวที่มีวิตามินเอ เมล็ดทานตะวันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง เป็นต้น กำรพัฒนำพันธุ์สัตว์ - โตเร็วกว่าปกติ และมีขนาดใหญ่กว่าปกติ - กินอาหารลดลง และขับถ่ายของเสียลดลง - ทนทานโรคและแมลง ตัวอย่าง เช่น ลูกหมูโตเร็วกว่าปกติ ถึงร้อยละ 40 และมีขนาด ใหญ่กว่าหมูปกติ ในขณะที่กินอาหารลดลง 25% หมูเหล่านี้ขับถ่ายของเสียลดลงมาก วัวที่ทนโรคและแมลง ไข่ไก่ที่มีโคเลสเตอรอลน้อยลง ปลาทูน่าโตเร็วและต้านทานโรค เป็นต้น