SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ก
ชื่อโครงงาน : ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายราชพล ภูสง่า
นายมนัสวิน อินทร์สิทธิ์
นางสาวกัญญรัตน์ บัวศรี
อาจารย์ที่ปรึกษา : นายจักรพันธ์ พันธ์หินกอง
นายนิรุตติ์ วงคาชัย
นางสาวเบญญารัศม์ โชติภัทรขจรศิริ
โรงเรียน : สระแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 7
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อลด
ปัญหาที่เกิดจากโอเอซิส เนื่องจากโอเอซิสมีราคาที่ค่อนข้างสูงและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโฟมซึ่งเป็นวัสดุที่ย่อย
สลายได้ยากก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม โดยโอเอซิสจากโฟมจะเป็นปัญหาเมื่อใช้แล้วยากต่อการกาจัด
คณะผู้จัดทาจึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลพบว่า ขี้เลื่อย กาบกล้วย และขุยมะพร้าว เป็นวัสดุเหลือใช้ที่มีตามธรรมชาติ
มีคุณสมบัติการดูดซับน้าได้ดี จึงนาวัสดุธรรมชาตินี้มาทาเป็นโอเอซิส โดยการหาประสิทธิภาพที่ดีที่สุดของโอเอซิส
จากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการถนอมดอกไม้ระหว่างโอเอซิสที่มีทั่วไปตาม
ท้องตลาดกับโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ
จากการทดลองครั้งนี้พบว่าโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติมีประสิทธิภาพในการถนอมดอกไม้ที่
แตกต่างกัน โอเอซิสจากขี้เลื่อยมีประสิทธิภาพมากที่สุดจากโอเอซิสในวัสดุธรรมชาติ แต่ก็ยังมีประสิทธิภาพ
ในการถนอมดอกไม้น้อยกว่าโอเอซิสที่หาได้ตามท้องตลาด
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์นี้สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์ได้ด้วยบุคคลหลายคณะได้รับความช่วยเหลือ การสนับสนุน
ให้คาปรึกษา ให้การอนุเคราะห์ด้านวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครูจักรพันธ์ พันธ์หินกอง
คุณครูนิรุตติ์ วงศ์คาชัย คุณครูเบญญารัศม์ โชติภัทรขจรศิริ ที่ได้เสียสละเวลาให้คาปรึกษาในเรื่องการทดลอง
ข้อเสนอแนะ แนวคิด และช่วยแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด ให้ความคิดเห็นที่มีประโยชน์ ตลอดจนโครงงาน
เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณพ่อแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คาปรึกษาต่างๆ
และเป็นกาลังใจที่ดีเสมอมา ขอขอบคุณนายสุวรรณ ทวีผล ผู้อานวยการโรงเรียนสระแก้ว ที่ให้การสนับสนุน
และให้กาลังใจที่ดีเสมอมา ขอขอบคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกท่านที่ให้คาแนะนาและติชม
ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทาโครงงานในครั้งนี้เป็นอย่างมาก และสุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่ให้คาปรึกษาที่มีประโยชน์
ในการทาโครงงาน และให้กาลังใจเสมอมา
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญภาพ จ
บทที่1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ตัวแปร 2
1.4 สมมติฐาน 2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 2
1.7 ระยะเวลาการดาเนินงาน 2
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 Floral foam 3
2.2 มะพร้าว 3
2.3 ขุยมะพร้าว 4
2.4 กล้วย 5
2.5 ต้นสะเดา 6
2.6 ขี้เลื่อย 6
บทที่3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
3.1 อุปกรณ์และสารเคมี 7
3.2 วิธีการดาเนินการ 7
บทที่4 ผลดาเนินการ
4.1 ตารางสรุปผล 8
บทที่5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
5.1 อภิปรายผลการทดลอง 9
5.2 สรุปผลการทดลอง 10
5.3 ข้อเสนอแนะ 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก 12
ง
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 8
ตารางที่ 2 ตารางแสดงน้าหนักของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง 9
ตารางที่ 3 แสดงลาดับประสิทธิภาพของโอเอซิสเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง 10
จ
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
รูปที่ 1 floral foam 3
รูปที่ 2 มะพร้าว 3
รูปที่ 3 ขุยมะพร้าว 4
รูปที่ 4 กาบกล้วย 5
รูปที่ 5 สะเดา 6
รูปที่ 6 ขี้เลื่อย 6
รูปที่ 7 โอเอซิสจากขี้เลื่อยก่อนการทดลอง 13
รูปที่ 8 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 1 วัน 13
รูปที่ 9 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 2 วัน 13
รูปที่ 10 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 3 วัน 13
รูปที่ 11 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 4 วัน 13
รูปที่ 12 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 5 วัน 13
รูปที่ 13 โอเอซิสจากกาบกล้วยก่อนการทดลอง 13
รูปที่ 14 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 1 วัน 13
รูปที่ 15 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 2 วัน 13
รูปที่ 16 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 3 วัน 13
รูปที่ 17 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 4 วัน 13
รูปที่ 18 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 5 วัน 13
รูปที่ 19 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวก่อนการทดลอง 14
รูปที่ 20 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 1 วัน 14
รูปที่ 21 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 2 วัน 14
รูปที่ 22 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 3 วัน 14
รูปที่ 23 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 4 วัน 14
รูปที่ 24 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 5 วัน 14
รูปที่ 25 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1ก่อนการทดลอง 14
รูปที่ 26 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 1 วัน 14
รูปที่ 27 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 2 วัน 14
รูปที่ 28 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 3 วัน 14
รูปที่ 29 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 4 วัน 14
รูปที่ 30 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 5 วัน 14
รูปที่ 31 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1ก่อนการทดลอง 15
รูปที่ 32 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 1 วัน 15
รูปที่ 33 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 2 วัน 15
รูปที่ 34 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 3 วัน 15
ฉ
สารบัญภาพ(ต่อ)
เรื่อง หน้า
รูปที่ 35 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 4 วัน 15
รูปที่ 36 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 5 วัน 15
รูปที่ 37 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2ก่อนการทดลอง 16
รูปที่ 38 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 1 วัน 16
รูปที่ 39 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 2 วัน 16
รูปที่ 40 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 3 วัน 16
รูปที่ 41 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 4 วัน 16
รูปที่ 42 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 5 วัน 16
รูปที่ 43 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1ก่อนการทดลอง 16
รูปที่ 44 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 1 วัน 16
รูปที่ 45 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 2 วัน 16
รูปที่ 46 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 3 วัน 16
รูปที่ 47 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 4 วัน 16
รูปที่ 48 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 5 วัน 16
รูปที่ 49 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2ก่อนการทดลอง 17
รูปที่ 50 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2เวลาผ่านไป 1 วัน 17
รูปที่ 51 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 2 วัน 17
รูปที่ 52 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 3 วัน 17
รูปที่ 53 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 4 วัน 17
รูปที่ 54 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 5 วัน 17
รูปที่ 55 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2ก่อนการทดลอง 17
รูปที่ 56 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2เวลาผ่านไป 1 วัน 17
รูปที่ 57 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 2 วัน 17
รูปที่ 58 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 3 วัน 17
รูปที่ 59 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 4 วัน 17
รูปที่ 60 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 5 วัน 17
1
บทที่1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
Floral foam หรือที่คนไทย นิยมเรียกว่า โอเอซิสถือเป็นวัสดุที่เป็นที่นิยมและมีประโยชน์อย่างมากในการจัด
ดอกไม้เพื่อนามาใช้ในงานพิธีต่างๆทั้งงานมงคลและงานอวมงคลโดยถูกนามาใช้เพื่อถนอมความสดของดอกไม้
ให้ความชุ่มชื่นและรักษาดอกไม้ให้อยู่ได้ในระยะเวลาเพิ่มมากขึ้น ดอกไม้ยังคงสภาพสวยงาม แต่เนื่องจากโอเอซิส
มีราคาที่ค่อนข้างสูงและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโฟมซึ่งเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ยากก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
โดยโอเอซิสจากโฟมจะเป็นปัญหาเมื่อใช้แล้วยากต่อการกาจัด เกิดปัญหาที่เมื่อใช้แล้วเศษเล็กๆที่ได้จากการตัดแต่ง
ถูกทิ้งลงในท่อระบายน้าจะทาให้เกิดการอุดตันตามท่อระบายน้าและส่งผลทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมตามมา
จากข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยประเภทพลาสติกและโฟมของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งผลจากการศึกษา พบว่า ช่วงปี
พ.ศ 2552-2556 ปริมาณโฟมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากวันละ 34 ล้านใบ เป็นวันละ 61 ล้านใบ หรือโดยเฉลี่ยแล้ว
คนไทยสร้างขยะประเภทโฟมเพิ่มขึ้นวันละ 1 ใบ โดยกรมควบคุมมลพิษ กล่าวถึง ปริมาณโฟมที่ถูกทิ้งเป็นขยะ
และสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยขยะชนิดนี้มีความคงทนและสามารถทนต่อแรงอัดสูงได้ และใช้เวลาในการย่อย
สลายนานกว่า 100 ปี อาจก่อให้เกิดปัญหาทางด้านมลพิษ สิ้นเปลืองงบประมาณ และพื้นที่ฝังกลบ กระบวนการ
กาจัดขยะโฟมจึงต้องมีความระมัดระวังและคานึงถึงความปลอดภัยมากที่สุด คือจะต้องมีการเผาโฟมในอุณหภูมิให้อยู่
ภายใต้การควบคุมที่ถูกต้อง เพื่อเลี่ยงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมโดยการที่จะลดมลภาวะ
จากโฟมได้นั้นอาจทาได้จากการใช้วัสดุทดแทน เพื่อลดปัญหาที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาโอเอซิสที่ทาจากวัสดุธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยและสลายตัวได้
ทางชีวภาพ มีราคาถูกและเป็นวัสดุที่หาได้งายตามบ้านเรือน มีคุณสมบัติเหมาะแก่การทาโอเอซิสคือดูดซับน้าได้ดี
ได้แก่ขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาทาเป็นโอเอซิสที่มีประสิทธิภาพในการถนอม
ความสดของดอกไม้
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหาโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆที่มีประสิทธิภาพ
ในการถนอมความสดของดอกไม้ได้ดีที่สุด สามารถย่อยได้ง่าย ราคาถูกและเป็นการลดการใช้วัสดุที่ส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยนาวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติที่อยู่ในชีวิตประจาวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆ
2. เพื่อศึกษากระบวนการทาโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย
2
1.3 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น โอเอซิสที่ผลิตจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อยในอัตราส่วนต่างๆ
ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการใช้โอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ
ตัวแปรควบคุม ปริมาณสุทธิของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ อุณหภูมิห้องทดลอง
ปริมาณน้าปริมาณกาวแป้งเปียก ชนิดของดอกไม้ที่นามาทดลอง
1.4 สมมติฐานในการศึกษา
โอเอซิสที่ผลิตจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อยในอัตราส่วนต่างๆมีประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เป็นการลดต้นทุนในการซื้อวัสดุจัดดอกไม้
2. ได้โอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย ขี้เลื่อย ที่สามารถใช้ในการจัดดอกไม้ได้จริง
3. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
4. ลดปริมาณการใช้โฟม สิ่งแวดล้อมดีขึ้น
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
- โอเอซิส คือ วัสดุที่ใช้ในการถนอมความสดของดอกไม้
- ประสิทธิภาพ คือโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติสามารถถนอมความสดของดอกไม้ที่นามาทดลองได้ 120 ชั่วโมง
- กาวแป้งเปียกคือกาวที่ได้จากแป้งมันสาปะหลัง 250กรัม นาไปต้มกับน้า1400 มิลลิลิตร
- ดอกไม้ คือ ดอกเบญจมาศที่นามาทดลอง
- ขุยมะพร้าว คือ ขุยมะพร้าวที่ได้จากโรงงานนามากรองใยออกให้เหลือเป็นผงเล็กๆ
- กาบกล้วย คือ ก้านใบของกล้วยไข่ที่แห้งแล้ว นามาปั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
- ขี้เลื่อย คือ เศษไม้จากการเลื่อยไม้สะเดา
1.7 ระยะเวลาการดาเนินงาน
เดือนมีนาคม – เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2560
3
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(รูปที่ 1 floral foam)
2.1 Floral foam
ใช้สาหรับปักดอกไม้ ใบไม้ และส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ใช้ในการ จัดให้อยู่ในตาแหน่งที่ต้องการ มีหลายชนิด
มีทั้งชนิดที่ใช้สาหรับปักดอกไม้สดและชนิดที่ใช้ปักดอกไม้แห้ง
(รูปที่ 2 มะพร้าว)
2.2 มะพร้าว
ชื่อสามัญ : Coconut
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cocosnucifera L. จัดอยู่ในวงศ์ปาล์ม (ARECACEAE) ซึ่งแต่เดิมใช้ชื่อวงศ์ว่า PALMAE
หรือPALMACEAE
สมุนไพรมะพร้าว มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ดุง (จันทบุรี), โพล (กาญจนบุรี), คอส่า (แม่ฮ่องสอน), เอี่ยจี้ (จีน),
หมากอุ๋น หมากอูน (ทั่วไป) เป็นต้น
4
มะพร้าวเป็นพืชยืนต้นที่จัดอยู่ในตระกูลปาล์ม ใบมีลักษณะเป็นใบประกอบเหมือนขนนก ผลประกอบไปด้วย
เปลือกนอก ใยมะพร้าว กะลามะพร้าว และชั้นสุดท้ายคือเนื้อมะพร้าว ซึ่งภายในจะมีน้ามะพร้าว ถ้าลูกมะพร้าวแก่
มาก เนื้อมะพร้าวจะดูดเอาน้ามะพร้าวไปหมด
สาหรับสถิติการผลิตมะพร้าวประโยชน์น้ามะพร้าว ประเทศอินโดนีเซียคืออันดับ 1 ของโลกที่ผลิตมะพร้าวได้
มากที่สุด ส่วนประเทศไทยจะอยู่ที่อันดับ 6 ของโลก และรายชื่อพันธุ์มะพร้าวต่าง ๆ ก็ได้แก่ มะพร้าวน้าหอม
มะพร้าวทะเล มะพร้าวไฟ มะพร้าวซอ มะพร้าวกะทิ มะพร้าวพวงร้อย มะพร้าวมลายูสีเหลืองต้นเตี้ย
(รูปที่ 3 ขุยมะพร้าว)
2.3 ขุยมะพร้าว
ขุยมะพร้าว คือ เปลือกมะพร้าวที่ปั่นเอาใยออก หรือ ปั่นให้ใยละเอียด เป็นขุยๆละเอียดประมาณเม็ดทราย
แห้งสนิท (ไม่ไช่เปลือกสับ) เป็นเศษเหลือของโรงงานทาเส้นใยมะพร้าวซึ่งได้ทุบกาบมะพร้าวเพื่อนาเส้นใยไปทาเบาะ
นั่ง เศษเหลือเหล่านี้เป็นผง ๆ มีคุณสมบัติเบา อุ้มน้าได้ดี และเก็บความชื้นไว้ได้นาน
5
(รูปที่ 4 กล้วย)
2.4 กล้วย
พรรณไม้ล้มลุกในสกุลMusa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาว
ใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่ปลายลาต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูก
เป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น
กล้วยพัด (Ravenalamadagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่น ที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย
กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดินของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่า "หัว" หรือ "เหง้า
ปกติแล้ว ต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควร ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นต้นไม้ ซึ่งแท้จริงแล้วส่วนที่คล้ายกับลาต้นคือ
"ลาต้นเทียม" (pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย "ก้านใบ" (petiole) และแผ่นใบ (lamina) ฐานก้านใบแผ่
ออกเป็นกาบ กาบที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียม มีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้
เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อ เมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้นเทียม ขอบกาบที่จรดกันนั้น
ก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมากขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมากสูงประมาณ
5 เมตร (16 ฟุต)
6
(รูปที่ 5 สะเดา)
2.5 ต้นสะเดา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Azadirachtaindica
ต้นสะเดา เป็นพันธุ์ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 20-25 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรง
เรือนยอดเป็นพุ่มหนาทึบตลอดปี มีรากที่แข็งแรง กว้างขวาง และหยั่งลึก เปลือกของลาต้นค่อนข้างหนา มีสีน้าตาล
เทาหรือสีเทาปนดา ผิวเปลือกแตกเป็นร่องตื้น ๆ หรือเป็นสะเก็ดยาว ๆ เยื้องสลับกันไปตามความยาวของละต้น
ส่วนเปลือกของกิ่งมีลักษณะค่อนข้างเรียบ และเนื้อไม้มีสีแดงเข้มปนสีน้าตาล เสี้ยนค่อนข้างสับสนเป็นริ้ว ๆ แคบ
เนื้อหยาบ เป็นมันเลื่อม มีความแข็งแรงทนทาน ส่วนแกนไม้มีสีน้าตาลแดง มีความแข็งแรงและทนทานมาก
(รูปที่ 6 ขี้เลื่อย)
2.6 ขี้เลื่อย
เป็นผลพลอยได้จากการเลื่อยไม้ มีลักษณะเป็นผงไม้ละเอียด เป็นของเสียในโรงงานที่เป็นพิษ โดยเฉพาะการ
ทาให้เกิดอาการอักเสบ แต่ก็สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อีกหลายประการ
7
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ
ในการศึกษาครั้งนี้ดาเนินการโดยคณะผู้จัดทา ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้เรียนในการเรียนรู้กลุ่มสาระ
วิทยาศาสตร์และคณิตสาสตร์ ช่วงชั้นที่5โรงเรียนสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต7 ปีการศึกษา 2560 มีดังนี้
3.1 อุปกรณ์และสารเคมี
1. ขุยมะพร้าว
2. กาบกล้วย
3. ขี้เลื่อย
4. บีกเกอร์
5. กาวแป้งเปียก
6. เครื่องชั่งมวลดิจิตอล
7. กะละมัง
8. น้า
9. ถาด
10. ดอกเบญจมาศ
11. แม่พิมพ์
3.2 วิธีดาเนินงาน
1. นาขุยมะพร้าวจานวน 40 กรัมมาผสมกับกาวแป้งเปียก 100 กรัม นามาคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นนามา
ใส่ในแม่พิมพ์เพื่อขึ้นรูป แล้วนาไปตากแดด 5ชั่วโมง
2. ทาการทดลองเหมือนกับข้อที่ 1 แต่เปลี่ยนขุยมะพร้าวเป็นกาบกล้วย ขี้เลื่อย และอัตราส่วน
ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว แบบ 2:1:1 1:2:1 1:1:2 2:2:1 1:2:2 2:1:2 โดยให้มีปริมาณสุทธิเท่ากัน
3. ทดสอบประสิทธิภาพโดยการนาโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติไปแช่ในน้านาน 5 นาที
4. นาดอกเบญจมาศที่จะปักในโอเอซิสแต่ละดอกมาช่างน้าหนักก่อนนาไปทดสอบประสิทธิภาพ
5. นาดอกเบญจมาศมาปักในโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติและโอเอซิสเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ
6. เมื่อเวลาผ่านไปในแต่ละ 24 ชั่วโมงให้นาดอกเบจมาศมาช่างเพื่อหาน้าหนักที่เปลี่ยนไป
ทาจนครบ 120 ชั่วโมง
8
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากการทดลองโครงงานเรื่อง ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ ได้ผลการทดลองดังนี้
ตาราง ๑ แสดงผลการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป
หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว
ชนิดของ
โอเอซิส
น้าหนักที่เปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป(กรัม)
ก่อนการ
ทดลอง
ผ่านไป
24 ชั่วโมง
ผ่านไป
48 ชั่วโมง
ผ่านไป
72 ชั่วโมง
ผ่านไป
96 ชั่วโมง
ผ่านไป
120 ชั่วโมง
ขี้เลื่อย 2.18 1.76 1.55 1.45 1.32 1.14
กาบกล้วย 2.56 1.89 1.63 1.49 1.31 1.09
ขุยมะพร้าว 2.75 2.02 1.77 1.58 1.41 1.13
2:1:1 2.30 1.65 1.56 1.42 1.26 1.05
1:2:1 2.34 1.71 1.37 1.20 1.08 0.95
1:1:2 2.32 1.80 1.51 1.41 1.28 1.15
2:2:1 2.34 1.76 1.47 1.33 1.24 1.05
1:2:2 2.37 1.66 1.31 1.19 1.02 0.88
2:1:2 2.30 1.75 1.49 1.35 1.14 1.01
โอเอซิสจาก
ท้องตลาด
2.51 2.44 2.27 2.17 2.03 1.74
9
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผล
5.1 อภิปรายผลการทดลอง
จากการศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆดังตารางที่ 1 พบว่า ขุยมะพร้าว
กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆ สามารถนามาใช้ในการถนอมความสดของดอกไม้ได้จริง
และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง ดอกเบญจมาศที่นามาทดลอง ยังมีความสด
อาจกลีบดอกช้าบ้าง แต่ยังคงสภาพความเป็นดอกไม้ โดยเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง พบว่า
ตาราง 2 ตารางแสดงน้าหนักของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง
หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว
ชนิดของโอเอซิส ปริมาณน้าหนักของดอกไม้ที่หายไป
ก่อนการทดลอง-120 ชั่วโมง
ขี้เลื่อย 1.04กรัม
กาบกล้วย 1.47 กรัม
ขุยมะพร้าว 1.62 กรัม
2:1:1 1.25 กรัม
1:2:1 1.39 กรัม
1:1:2 1.17 กรัม
2:2:1 1.29 กรัม
1:2:2 1.49 กรัม
2:1:2 1.29 กรัม
โอเอซิสจากท้องตลาด 0.77กรัม
10
5.2 สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆดังตารางที่ 1 พบว่าโอเอซิสจากวัสดุ
เหลือใช้ในธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน และโอเอซิสที่ใกล้เคียงกับโอเอซิสตามท้องตลาดสามลาดับแรก
คือ โอเอซิสจากขี้เลื่อย โอเอซิสอัตราส่วน ขึ้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว 1 : 1 : 2 และโอเอซิสอัตราส่วน
ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว 2 : 1 : 1 เนื่องจากปริมาณน้าหนักที่หายไปน้อยที่สุด
ตาราง 3 แสดงลาดับประสิทธิภาพของโอเอซิสเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง
หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว
5.3 ข้อเสนอแนะ
1.ในการศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาประสิทธิภาพด้านอื่นๆ ของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
2.วางแผนการในการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตลอดไป
3.นอกจากขี้เลื่อย กาบกล้วย ขุยมะพร้าว ควรนาวัสดุอื่นๆเช่นผักตบชวา มาทาการศึกษาในการทาโอเอซิส
จากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
ลาดับที่ ชนิดของโอเอซิส
ปริมาณน้าหนักของดอกไม้ที่หายไป
ก่อนการทดลอง-120 ชั่วโมง
1 โอเอซิสจากท้องตลาด 0.77กรัม
2 ขี้เลื่อย 1.04กรัม
3 1:1:2 1.17 กรัม
4 2:1:1 1.25 กรัม
5 2:2:1 1.29 กรัม
6 2:1:2 1.29 กรัม
7 1:2:1 1.39 กรัม
8 กาบกล้วย 1.47 กรัม
9 1:2:2 1.49 กรัม
10 ขุยมะพร้าว 1.62 กรัม
11
บรรณานุกรม
หนังสือพิมพ์แนวหน้า.(2557).ขยะโฟมปัญหาที่ต้องแก้ไข(ออนไลน์).สืบค้นจาก:
http://www.thaihealth.or.th/Content/26294%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B9%82
%E0%B8%9F%E0%B8%A1..%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%
B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81
%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82.html[ 3 กรกฎาคม 2560 ]
MedThai.(2553).มะพร้าว(ออนไลน์).สืบค้นจาก:
https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B
2%E0%B8%A7/[ 3กรกฎาคม 2560]
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .ขุยมะพร้าว[ออนไลน์].สืบค้นจาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0
%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7[ 3กรกฎาคม 2560 ]
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .กล้วย[ออนไลน์].สืบค้นจาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2
[ 3กรกฎาคม 2560 ]
MedThai.(2553).สะเดา(ออนไลน์).สืบค้นจาก:
https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B2/
[ 3กรกฎาคม 2560]
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .ขี้เลื่อย[ออนไลน์].สืบค้นจาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0
%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2 [ 3กรกฎาคม 2560 ]
12
ภาคผนวก
13
โอเอซิสจากขี้เลื่อย
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิสจากกาบกล้วย
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิสจากขุยมะพร้าว
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
14
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:1
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:1:2
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
15
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว2:2:1
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว2:1:2
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
16
โอเอซิสที่หาได้ตามท้องตลาด
ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2
วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
คณะผู้จัดทา

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกEnormity_tung
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 

โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ

  • 1. ก ชื่อโครงงาน : ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายราชพล ภูสง่า นายมนัสวิน อินทร์สิทธิ์ นางสาวกัญญรัตน์ บัวศรี อาจารย์ที่ปรึกษา : นายจักรพันธ์ พันธ์หินกอง นายนิรุตติ์ วงคาชัย นางสาวเบญญารัศม์ โชติภัทรขจรศิริ โรงเรียน : สระแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 7 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อลด ปัญหาที่เกิดจากโอเอซิส เนื่องจากโอเอซิสมีราคาที่ค่อนข้างสูงและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโฟมซึ่งเป็นวัสดุที่ย่อย สลายได้ยากก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม โดยโอเอซิสจากโฟมจะเป็นปัญหาเมื่อใช้แล้วยากต่อการกาจัด คณะผู้จัดทาจึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลพบว่า ขี้เลื่อย กาบกล้วย และขุยมะพร้าว เป็นวัสดุเหลือใช้ที่มีตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติการดูดซับน้าได้ดี จึงนาวัสดุธรรมชาตินี้มาทาเป็นโอเอซิส โดยการหาประสิทธิภาพที่ดีที่สุดของโอเอซิส จากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการถนอมดอกไม้ระหว่างโอเอซิสที่มีทั่วไปตาม ท้องตลาดกับโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ จากการทดลองครั้งนี้พบว่าโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติมีประสิทธิภาพในการถนอมดอกไม้ที่ แตกต่างกัน โอเอซิสจากขี้เลื่อยมีประสิทธิภาพมากที่สุดจากโอเอซิสในวัสดุธรรมชาติ แต่ก็ยังมีประสิทธิภาพ ในการถนอมดอกไม้น้อยกว่าโอเอซิสที่หาได้ตามท้องตลาด
  • 2. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์นี้สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์ได้ด้วยบุคคลหลายคณะได้รับความช่วยเหลือ การสนับสนุน ให้คาปรึกษา ให้การอนุเคราะห์ด้านวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครูจักรพันธ์ พันธ์หินกอง คุณครูนิรุตติ์ วงศ์คาชัย คุณครูเบญญารัศม์ โชติภัทรขจรศิริ ที่ได้เสียสละเวลาให้คาปรึกษาในเรื่องการทดลอง ข้อเสนอแนะ แนวคิด และช่วยแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด ให้ความคิดเห็นที่มีประโยชน์ ตลอดจนโครงงาน เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณพ่อแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คาปรึกษาต่างๆ และเป็นกาลังใจที่ดีเสมอมา ขอขอบคุณนายสุวรรณ ทวีผล ผู้อานวยการโรงเรียนสระแก้ว ที่ให้การสนับสนุน และให้กาลังใจที่ดีเสมอมา ขอขอบคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกท่านที่ให้คาแนะนาและติชม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทาโครงงานในครั้งนี้เป็นอย่างมาก และสุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่ให้คาปรึกษาที่มีประโยชน์ ในการทาโครงงาน และให้กาลังใจเสมอมา คณะผู้จัดทา
  • 3. ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทที่1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 ตัวแปร 2 1.4 สมมติฐาน 2 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 1.7 ระยะเวลาการดาเนินงาน 2 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 Floral foam 3 2.2 มะพร้าว 3 2.3 ขุยมะพร้าว 4 2.4 กล้วย 5 2.5 ต้นสะเดา 6 2.6 ขี้เลื่อย 6 บทที่3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 3.1 อุปกรณ์และสารเคมี 7 3.2 วิธีการดาเนินการ 7 บทที่4 ผลดาเนินการ 4.1 ตารางสรุปผล 8 บทที่5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 5.1 อภิปรายผลการทดลอง 9 5.2 สรุปผลการทดลอง 10 5.3 ข้อเสนอแนะ 10 บรรณานุกรม 11 ภาคผนวก 12
  • 4. ง สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 8 ตารางที่ 2 ตารางแสดงน้าหนักของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง 9 ตารางที่ 3 แสดงลาดับประสิทธิภาพของโอเอซิสเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง 10
  • 5. จ สารบัญภาพ เรื่อง หน้า รูปที่ 1 floral foam 3 รูปที่ 2 มะพร้าว 3 รูปที่ 3 ขุยมะพร้าว 4 รูปที่ 4 กาบกล้วย 5 รูปที่ 5 สะเดา 6 รูปที่ 6 ขี้เลื่อย 6 รูปที่ 7 โอเอซิสจากขี้เลื่อยก่อนการทดลอง 13 รูปที่ 8 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 1 วัน 13 รูปที่ 9 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 2 วัน 13 รูปที่ 10 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 3 วัน 13 รูปที่ 11 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 4 วัน 13 รูปที่ 12 โอเอซิสจากขี้เลื่อยเวลาผ่านไป 5 วัน 13 รูปที่ 13 โอเอซิสจากกาบกล้วยก่อนการทดลอง 13 รูปที่ 14 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 1 วัน 13 รูปที่ 15 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 2 วัน 13 รูปที่ 16 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 3 วัน 13 รูปที่ 17 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 4 วัน 13 รูปที่ 18 โอเอซิสจากกาบกล้วยเวลาผ่านไป 5 วัน 13 รูปที่ 19 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวก่อนการทดลอง 14 รูปที่ 20 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 1 วัน 14 รูปที่ 21 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 2 วัน 14 รูปที่ 22 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 3 วัน 14 รูปที่ 23 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 4 วัน 14 รูปที่ 24 โอเอซิสจากขุยมะพร้าวเวลาผ่านไป 5 วัน 14 รูปที่ 25 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1ก่อนการทดลอง 14 รูปที่ 26 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 1 วัน 14 รูปที่ 27 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 2 วัน 14 รูปที่ 28 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 3 วัน 14 รูปที่ 29 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 4 วัน 14 รูปที่ 30 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1เวลาผ่านไป 5 วัน 14 รูปที่ 31 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1ก่อนการทดลอง 15 รูปที่ 32 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 1 วัน 15 รูปที่ 33 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 2 วัน 15 รูปที่ 34 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 3 วัน 15
  • 6. ฉ สารบัญภาพ(ต่อ) เรื่อง หน้า รูปที่ 35 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 4 วัน 15 รูปที่ 36 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:1เวลาผ่านไป 5 วัน 15 รูปที่ 37 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2ก่อนการทดลอง 16 รูปที่ 38 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 1 วัน 16 รูปที่ 39 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 2 วัน 16 รูปที่ 40 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 3 วัน 16 รูปที่ 41 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 4 วัน 16 รูปที่ 42 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:1:2เวลาผ่านไป 5 วัน 16 รูปที่ 43 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1ก่อนการทดลอง 16 รูปที่ 44 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 1 วัน 16 รูปที่ 45 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 2 วัน 16 รูปที่ 46 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 3 วัน 16 รูปที่ 47 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 4 วัน 16 รูปที่ 48 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:2:1เวลาผ่านไป 5 วัน 16 รูปที่ 49 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2ก่อนการทดลอง 17 รูปที่ 50 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2เวลาผ่านไป 1 วัน 17 รูปที่ 51 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 2 วัน 17 รูปที่ 52 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 3 วัน 17 รูปที่ 53 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 4 วัน 17 รูปที่ 54 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 5 วัน 17 รูปที่ 55 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2ก่อนการทดลอง 17 รูปที่ 56 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2เวลาผ่านไป 1 วัน 17 รูปที่ 57 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 2 วัน 17 รูปที่ 58 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 3 วัน 17 รูปที่ 59 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 4 วัน 17 รูปที่ 60 โอเอซิสขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 1:2:2เวลาผ่านไป 5 วัน 17
  • 7. 1 บทที่1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ Floral foam หรือที่คนไทย นิยมเรียกว่า โอเอซิสถือเป็นวัสดุที่เป็นที่นิยมและมีประโยชน์อย่างมากในการจัด ดอกไม้เพื่อนามาใช้ในงานพิธีต่างๆทั้งงานมงคลและงานอวมงคลโดยถูกนามาใช้เพื่อถนอมความสดของดอกไม้ ให้ความชุ่มชื่นและรักษาดอกไม้ให้อยู่ได้ในระยะเวลาเพิ่มมากขึ้น ดอกไม้ยังคงสภาพสวยงาม แต่เนื่องจากโอเอซิส มีราคาที่ค่อนข้างสูงและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโฟมซึ่งเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ยากก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม โดยโอเอซิสจากโฟมจะเป็นปัญหาเมื่อใช้แล้วยากต่อการกาจัด เกิดปัญหาที่เมื่อใช้แล้วเศษเล็กๆที่ได้จากการตัดแต่ง ถูกทิ้งลงในท่อระบายน้าจะทาให้เกิดการอุดตันตามท่อระบายน้าและส่งผลทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมตามมา จากข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยประเภทพลาสติกและโฟมของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งผลจากการศึกษา พบว่า ช่วงปี พ.ศ 2552-2556 ปริมาณโฟมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากวันละ 34 ล้านใบ เป็นวันละ 61 ล้านใบ หรือโดยเฉลี่ยแล้ว คนไทยสร้างขยะประเภทโฟมเพิ่มขึ้นวันละ 1 ใบ โดยกรมควบคุมมลพิษ กล่าวถึง ปริมาณโฟมที่ถูกทิ้งเป็นขยะ และสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยขยะชนิดนี้มีความคงทนและสามารถทนต่อแรงอัดสูงได้ และใช้เวลาในการย่อย สลายนานกว่า 100 ปี อาจก่อให้เกิดปัญหาทางด้านมลพิษ สิ้นเปลืองงบประมาณ และพื้นที่ฝังกลบ กระบวนการ กาจัดขยะโฟมจึงต้องมีความระมัดระวังและคานึงถึงความปลอดภัยมากที่สุด คือจะต้องมีการเผาโฟมในอุณหภูมิให้อยู่ ภายใต้การควบคุมที่ถูกต้อง เพื่อเลี่ยงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมโดยการที่จะลดมลภาวะ จากโฟมได้นั้นอาจทาได้จากการใช้วัสดุทดแทน เพื่อลดปัญหาที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาโอเอซิสที่ทาจากวัสดุธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยและสลายตัวได้ ทางชีวภาพ มีราคาถูกและเป็นวัสดุที่หาได้งายตามบ้านเรือน มีคุณสมบัติเหมาะแก่การทาโอเอซิสคือดูดซับน้าได้ดี ได้แก่ขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาทาเป็นโอเอซิสที่มีประสิทธิภาพในการถนอม ความสดของดอกไม้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหาโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆที่มีประสิทธิภาพ ในการถนอมความสดของดอกไม้ได้ดีที่สุด สามารถย่อยได้ง่าย ราคาถูกและเป็นการลดการใช้วัสดุที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยนาวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติที่อยู่ในชีวิตประจาวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆ 2. เพื่อศึกษากระบวนการทาโอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย
  • 8. 2 1.3 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น โอเอซิสที่ผลิตจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อยในอัตราส่วนต่างๆ ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการใช้โอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ ตัวแปรควบคุม ปริมาณสุทธิของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ อุณหภูมิห้องทดลอง ปริมาณน้าปริมาณกาวแป้งเปียก ชนิดของดอกไม้ที่นามาทดลอง 1.4 สมมติฐานในการศึกษา โอเอซิสที่ผลิตจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อยในอัตราส่วนต่างๆมีประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นการลดต้นทุนในการซื้อวัสดุจัดดอกไม้ 2. ได้โอเอซิสจากขุยมะพร้าว กาบกล้วย ขี้เลื่อย ที่สามารถใช้ในการจัดดอกไม้ได้จริง 3. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4. ลดปริมาณการใช้โฟม สิ่งแวดล้อมดีขึ้น 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ - โอเอซิส คือ วัสดุที่ใช้ในการถนอมความสดของดอกไม้ - ประสิทธิภาพ คือโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติสามารถถนอมความสดของดอกไม้ที่นามาทดลองได้ 120 ชั่วโมง - กาวแป้งเปียกคือกาวที่ได้จากแป้งมันสาปะหลัง 250กรัม นาไปต้มกับน้า1400 มิลลิลิตร - ดอกไม้ คือ ดอกเบญจมาศที่นามาทดลอง - ขุยมะพร้าว คือ ขุยมะพร้าวที่ได้จากโรงงานนามากรองใยออกให้เหลือเป็นผงเล็กๆ - กาบกล้วย คือ ก้านใบของกล้วยไข่ที่แห้งแล้ว นามาปั่นเป็นชิ้นเล็กๆ - ขี้เลื่อย คือ เศษไม้จากการเลื่อยไม้สะเดา 1.7 ระยะเวลาการดาเนินงาน เดือนมีนาคม – เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2560
  • 9. 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (รูปที่ 1 floral foam) 2.1 Floral foam ใช้สาหรับปักดอกไม้ ใบไม้ และส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ใช้ในการ จัดให้อยู่ในตาแหน่งที่ต้องการ มีหลายชนิด มีทั้งชนิดที่ใช้สาหรับปักดอกไม้สดและชนิดที่ใช้ปักดอกไม้แห้ง (รูปที่ 2 มะพร้าว) 2.2 มะพร้าว ชื่อสามัญ : Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์: Cocosnucifera L. จัดอยู่ในวงศ์ปาล์ม (ARECACEAE) ซึ่งแต่เดิมใช้ชื่อวงศ์ว่า PALMAE หรือPALMACEAE สมุนไพรมะพร้าว มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ดุง (จันทบุรี), โพล (กาญจนบุรี), คอส่า (แม่ฮ่องสอน), เอี่ยจี้ (จีน), หมากอุ๋น หมากอูน (ทั่วไป) เป็นต้น
  • 10. 4 มะพร้าวเป็นพืชยืนต้นที่จัดอยู่ในตระกูลปาล์ม ใบมีลักษณะเป็นใบประกอบเหมือนขนนก ผลประกอบไปด้วย เปลือกนอก ใยมะพร้าว กะลามะพร้าว และชั้นสุดท้ายคือเนื้อมะพร้าว ซึ่งภายในจะมีน้ามะพร้าว ถ้าลูกมะพร้าวแก่ มาก เนื้อมะพร้าวจะดูดเอาน้ามะพร้าวไปหมด สาหรับสถิติการผลิตมะพร้าวประโยชน์น้ามะพร้าว ประเทศอินโดนีเซียคืออันดับ 1 ของโลกที่ผลิตมะพร้าวได้ มากที่สุด ส่วนประเทศไทยจะอยู่ที่อันดับ 6 ของโลก และรายชื่อพันธุ์มะพร้าวต่าง ๆ ก็ได้แก่ มะพร้าวน้าหอม มะพร้าวทะเล มะพร้าวไฟ มะพร้าวซอ มะพร้าวกะทิ มะพร้าวพวงร้อย มะพร้าวมลายูสีเหลืองต้นเตี้ย (รูปที่ 3 ขุยมะพร้าว) 2.3 ขุยมะพร้าว ขุยมะพร้าว คือ เปลือกมะพร้าวที่ปั่นเอาใยออก หรือ ปั่นให้ใยละเอียด เป็นขุยๆละเอียดประมาณเม็ดทราย แห้งสนิท (ไม่ไช่เปลือกสับ) เป็นเศษเหลือของโรงงานทาเส้นใยมะพร้าวซึ่งได้ทุบกาบมะพร้าวเพื่อนาเส้นใยไปทาเบาะ นั่ง เศษเหลือเหล่านี้เป็นผง ๆ มีคุณสมบัติเบา อุ้มน้าได้ดี และเก็บความชื้นไว้ได้นาน
  • 11. 5 (รูปที่ 4 กล้วย) 2.4 กล้วย พรรณไม้ล้มลุกในสกุลMusa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาว ใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่ปลายลาต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูก เป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น กล้วยพัด (Ravenalamadagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่น ที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดินของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่า "หัว" หรือ "เหง้า ปกติแล้ว ต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควร ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นต้นไม้ ซึ่งแท้จริงแล้วส่วนที่คล้ายกับลาต้นคือ "ลาต้นเทียม" (pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย "ก้านใบ" (petiole) และแผ่นใบ (lamina) ฐานก้านใบแผ่ ออกเป็นกาบ กาบที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียม มีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้ เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อ เมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้นเทียม ขอบกาบที่จรดกันนั้น ก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมากขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมากสูงประมาณ 5 เมตร (16 ฟุต)
  • 12. 6 (รูปที่ 5 สะเดา) 2.5 ต้นสะเดา ชื่อวิทยาศาสตร์: Azadirachtaindica ต้นสะเดา เป็นพันธุ์ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 20-25 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรง เรือนยอดเป็นพุ่มหนาทึบตลอดปี มีรากที่แข็งแรง กว้างขวาง และหยั่งลึก เปลือกของลาต้นค่อนข้างหนา มีสีน้าตาล เทาหรือสีเทาปนดา ผิวเปลือกแตกเป็นร่องตื้น ๆ หรือเป็นสะเก็ดยาว ๆ เยื้องสลับกันไปตามความยาวของละต้น ส่วนเปลือกของกิ่งมีลักษณะค่อนข้างเรียบ และเนื้อไม้มีสีแดงเข้มปนสีน้าตาล เสี้ยนค่อนข้างสับสนเป็นริ้ว ๆ แคบ เนื้อหยาบ เป็นมันเลื่อม มีความแข็งแรงทนทาน ส่วนแกนไม้มีสีน้าตาลแดง มีความแข็งแรงและทนทานมาก (รูปที่ 6 ขี้เลื่อย) 2.6 ขี้เลื่อย เป็นผลพลอยได้จากการเลื่อยไม้ มีลักษณะเป็นผงไม้ละเอียด เป็นของเสียในโรงงานที่เป็นพิษ โดยเฉพาะการ ทาให้เกิดอาการอักเสบ แต่ก็สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อีกหลายประการ
  • 13. 7 บทที่ 3 วิธีดาเนินการ ในการศึกษาครั้งนี้ดาเนินการโดยคณะผู้จัดทา ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้เรียนในการเรียนรู้กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และคณิตสาสตร์ ช่วงชั้นที่5โรงเรียนสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต7 ปีการศึกษา 2560 มีดังนี้ 3.1 อุปกรณ์และสารเคมี 1. ขุยมะพร้าว 2. กาบกล้วย 3. ขี้เลื่อย 4. บีกเกอร์ 5. กาวแป้งเปียก 6. เครื่องชั่งมวลดิจิตอล 7. กะละมัง 8. น้า 9. ถาด 10. ดอกเบญจมาศ 11. แม่พิมพ์ 3.2 วิธีดาเนินงาน 1. นาขุยมะพร้าวจานวน 40 กรัมมาผสมกับกาวแป้งเปียก 100 กรัม นามาคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นนามา ใส่ในแม่พิมพ์เพื่อขึ้นรูป แล้วนาไปตากแดด 5ชั่วโมง 2. ทาการทดลองเหมือนกับข้อที่ 1 แต่เปลี่ยนขุยมะพร้าวเป็นกาบกล้วย ขี้เลื่อย และอัตราส่วน ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว แบบ 2:1:1 1:2:1 1:1:2 2:2:1 1:2:2 2:1:2 โดยให้มีปริมาณสุทธิเท่ากัน 3. ทดสอบประสิทธิภาพโดยการนาโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติไปแช่ในน้านาน 5 นาที 4. นาดอกเบญจมาศที่จะปักในโอเอซิสแต่ละดอกมาช่างน้าหนักก่อนนาไปทดสอบประสิทธิภาพ 5. นาดอกเบญจมาศมาปักในโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติและโอเอซิสเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ 6. เมื่อเวลาผ่านไปในแต่ละ 24 ชั่วโมงให้นาดอกเบจมาศมาช่างเพื่อหาน้าหนักที่เปลี่ยนไป ทาจนครบ 120 ชั่วโมง
  • 14. 8 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการทดลองโครงงานเรื่อง ศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ ได้ผลการทดลองดังนี้ ตาราง ๑ แสดงผลการเปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว ชนิดของ โอเอซิส น้าหนักที่เปลี่ยนแปลงของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป(กรัม) ก่อนการ ทดลอง ผ่านไป 24 ชั่วโมง ผ่านไป 48 ชั่วโมง ผ่านไป 72 ชั่วโมง ผ่านไป 96 ชั่วโมง ผ่านไป 120 ชั่วโมง ขี้เลื่อย 2.18 1.76 1.55 1.45 1.32 1.14 กาบกล้วย 2.56 1.89 1.63 1.49 1.31 1.09 ขุยมะพร้าว 2.75 2.02 1.77 1.58 1.41 1.13 2:1:1 2.30 1.65 1.56 1.42 1.26 1.05 1:2:1 2.34 1.71 1.37 1.20 1.08 0.95 1:1:2 2.32 1.80 1.51 1.41 1.28 1.15 2:2:1 2.34 1.76 1.47 1.33 1.24 1.05 1:2:2 2.37 1.66 1.31 1.19 1.02 0.88 2:1:2 2.30 1.75 1.49 1.35 1.14 1.01 โอเอซิสจาก ท้องตลาด 2.51 2.44 2.27 2.17 2.03 1.74
  • 15. 9 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 5.1 อภิปรายผลการทดลอง จากการศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆดังตารางที่ 1 พบว่า ขุยมะพร้าว กาบกล้วย และขี้เลื่อย ในอัตราส่วนต่างๆ สามารถนามาใช้ในการถนอมความสดของดอกไม้ได้จริง และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง ดอกเบญจมาศที่นามาทดลอง ยังมีความสด อาจกลีบดอกช้าบ้าง แต่ยังคงสภาพความเป็นดอกไม้ โดยเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง พบว่า ตาราง 2 ตารางแสดงน้าหนักของดอกไม้เมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว ชนิดของโอเอซิส ปริมาณน้าหนักของดอกไม้ที่หายไป ก่อนการทดลอง-120 ชั่วโมง ขี้เลื่อย 1.04กรัม กาบกล้วย 1.47 กรัม ขุยมะพร้าว 1.62 กรัม 2:1:1 1.25 กรัม 1:2:1 1.39 กรัม 1:1:2 1.17 กรัม 2:2:1 1.29 กรัม 1:2:2 1.49 กรัม 2:1:2 1.29 กรัม โอเอซิสจากท้องตลาด 0.77กรัม
  • 16. 10 5.2 สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติชนิดต่างๆดังตารางที่ 1 พบว่าโอเอซิสจากวัสดุ เหลือใช้ในธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน และโอเอซิสที่ใกล้เคียงกับโอเอซิสตามท้องตลาดสามลาดับแรก คือ โอเอซิสจากขี้เลื่อย โอเอซิสอัตราส่วน ขึ้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว 1 : 1 : 2 และโอเอซิสอัตราส่วน ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว 2 : 1 : 1 เนื่องจากปริมาณน้าหนักที่หายไปน้อยที่สุด ตาราง 3 แสดงลาดับประสิทธิภาพของโอเอซิสเมื่อเวลาผ่านไป 120 ชั่วโมง หมายเหตุ: อัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย : กาบกล้วย : ขุยมะพร้าว 5.3 ข้อเสนอแนะ 1.ในการศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาประสิทธิภาพด้านอื่นๆ ของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ 2.วางแผนการในการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันตลอดไป 3.นอกจากขี้เลื่อย กาบกล้วย ขุยมะพร้าว ควรนาวัสดุอื่นๆเช่นผักตบชวา มาทาการศึกษาในการทาโอเอซิส จากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ ลาดับที่ ชนิดของโอเอซิส ปริมาณน้าหนักของดอกไม้ที่หายไป ก่อนการทดลอง-120 ชั่วโมง 1 โอเอซิสจากท้องตลาด 0.77กรัม 2 ขี้เลื่อย 1.04กรัม 3 1:1:2 1.17 กรัม 4 2:1:1 1.25 กรัม 5 2:2:1 1.29 กรัม 6 2:1:2 1.29 กรัม 7 1:2:1 1.39 กรัม 8 กาบกล้วย 1.47 กรัม 9 1:2:2 1.49 กรัม 10 ขุยมะพร้าว 1.62 กรัม
  • 17. 11 บรรณานุกรม หนังสือพิมพ์แนวหน้า.(2557).ขยะโฟมปัญหาที่ต้องแก้ไข(ออนไลน์).สืบค้นจาก: http://www.thaihealth.or.th/Content/26294%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B9%82 %E0%B8%9F%E0%B8%A1..%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0% B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81 %E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82.html[ 3 กรกฎาคม 2560 ] MedThai.(2553).มะพร้าว(ออนไลน์).สืบค้นจาก: https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B 2%E0%B8%A7/[ 3กรกฎาคม 2560] วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .ขุยมะพร้าว[ออนไลน์].สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0 %B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7[ 3กรกฎาคม 2560 ] วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .กล้วย[ออนไลน์].สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2 [ 3กรกฎาคม 2560 ] MedThai.(2553).สะเดา(ออนไลน์).สืบค้นจาก: https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B2/ [ 3กรกฎาคม 2560] วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .ขี้เลื่อย[ออนไลน์].สืบค้นจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0 %B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2 [ 3กรกฎาคม 2560 ]
  • 19. 13 โอเอซิสจากขี้เลื่อย ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิสจากกาบกล้วย ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิสจากขุยมะพร้าว ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
  • 20. 14 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว 2:1:1 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:1 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:1:2 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
  • 21. 15 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว2:2:1 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว1:2:2 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 โอเอซิส ขี้เลื่อย:กาบกล้วย:ขุยมะพร้าว2:1:2 ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5
  • 22. 16 โอเอซิสที่หาได้ตามท้องตลาด ก่อนการทดลอง วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 คณะผู้จัดทา