SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
Nuclear reaction
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
Tihange nuclear plant in Belgium.
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear reaction)
คือ ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมชนิดเดียวกันเกิดการชน
กันเอง หรือนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งตัวเกิดการชนกันกับ
อนุภาคย่อยของอีกอะตอมหนึ่ง ทําให้เกิดนิวเคลียสใหม่หนึ่งตัว
หรือมากกว่าหนึ่งตัวที่มีจํานวนอนุภาคย่อยแตกต่างจากนิวเคลียส
ที่เริ่มต้นกระบวนการ
กฎสําคัญ 4 ข้อ ของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการจะต้องเท่ากัน
2. จํานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน
3. ผลรวมของมวลและพลังงานทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน
4. การชนกันของนิวเคลียสถือเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์
พลังงานจลน์และโมเมนตัมก่อนและหลังชนจะต้องเท่ากัน
สมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์
หลักการคํานวณพลังงานเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้
จะคายพลังงาน
2. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้
จะดูดพลังงาน
3. พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จากผลต่างของมวลรวมก่อนทํา
ปฏิกิริยาและหลังทําาปฏิกิริยาคูณด้วย 931.5 MeV โดยมวลอยู่ใน
หน่วย u และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV
4. มวลที่ใช้คํานวณอาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรงหรือมวลอะตอม
ก็ได้โดยถ้าใช้มวลนิวเคลียสก็ต้องเป็นมวลนิวเคลียสทั้งหมด หรือ
ถ้าใช้มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมทั้งหมด
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission)
- เกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม
- เมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าชนธาตุหนักจะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
โดยนิวเคลียสธาตุหนักจะแตกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ทําให้
เกิดนิวตรอน 2-3 อนุภาค
- มวลของนิวเคลียสส่วนหนึ่งที่หายไปจะกลายเป็นพลังงานในรูป
ของความร้อน
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ)
นิวตรอนที่เกิดใหม่จะวิ่งเข้าชนนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ที่อยู่
ใกล้เคียง ทําให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อย ๆ ทําให้นิวเคลียสมี
การแตกตัวอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ)
ใน พ.ศ. 2485 เอริโก แฟร์มี (Enrico
Fermi) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีได้
ประดิษฐ์เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
(Nuclear reactor) ที่สามารถควบคุมการ
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ จึงทําให้สามารถนํา
พลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในทางสันติในด้าน
ต่างๆ ได้ เช่น ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า สร้าง
เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้ขับเคลื่อนเรือดํานํ้า
หรือจรวด
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion)
- เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน ทําให้เกิด
นิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมวลที่หายไปจะ
เปลี่ยนไปเป็นพลังงานนิวเคลียร์
- ในธรรมชาติจะพบปฏิกิริยาฟิวชันบนดาวฤกษ์รวมถึงดวงอาทิตย์
- ปฏิกิริยาฟิวชันให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชันอย่างมาก
แต่มีรังสีเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยจึงไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
- ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถสร้างปฏิกิริยาฟิวชันได้เฉพาะใน
ห้องปฏิบัติการ โดยใช้อะตอมของดิวเทอเรียมและทริเทียมใน
การสร้างปฏิกิริยาฟิวชัน ทําให้เกิดธาตุฮีเลียมและนิวตรอน
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ให้พลังงานประมาณ 2.8x10–12
จูล หรือประมาณ 17.6 MeV
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ทําได้ในห้องปฏิบัติการ
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ)
ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor)
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่จะทําให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์บนโลก แบบ
เดียวกับปฏิกิริยาที่ให้พลังงานออกมาจากดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ โดย
การควบคุมพลาสมาให้คงรูปอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก ไม่ให้พลาสมา
สัมผัสกับผนังของเครื่องปฏิกรณ์
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
ปี พ.ศ.2559 เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ)
เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์

More Related Content

What's hot

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn

พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันChanthawan Suwanhitathorn
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดChanthawan Suwanhitathorn
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมChanthawan Suwanhitathorn
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีChanthawan Suwanhitathorn
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 

More from Chanthawan Suwanhitathorn (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
กลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัมกลศาสตร์ควอนตัม
กลศาสตร์ควอนตัม
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
 

ปฏิกิริยานิวเคลียร์

  • 2. Tihange nuclear plant in Belgium.
  • 3.
  • 4. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear reaction) คือ ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมชนิดเดียวกันเกิดการชน กันเอง หรือนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งตัวเกิดการชนกันกับ อนุภาคย่อยของอีกอะตอมหนึ่ง ทําให้เกิดนิวเคลียสใหม่หนึ่งตัว หรือมากกว่าหนึ่งตัวที่มีจํานวนอนุภาคย่อยแตกต่างจากนิวเคลียส ที่เริ่มต้นกระบวนการ
  • 5. กฎสําคัญ 4 ข้อ ของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการจะต้องเท่ากัน 2. จํานวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน 3. ผลรวมของมวลและพลังงานทางซ้ายมือและขวามือจะต้องเท่ากัน 4. การชนกันของนิวเคลียสถือเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ พลังงานจลน์และโมเมนตัมก่อนและหลังชนจะต้องเท่ากัน
  • 7. หลักการคํานวณพลังงานเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้ จะคายพลังงาน 2. มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้ จะดูดพลังงาน 3. พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จากผลต่างของมวลรวมก่อนทํา ปฏิกิริยาและหลังทําาปฏิกิริยาคูณด้วย 931.5 MeV โดยมวลอยู่ใน หน่วย u และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV 4. มวลที่ใช้คํานวณอาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรงหรือมวลอะตอม ก็ได้โดยถ้าใช้มวลนิวเคลียสก็ต้องเป็นมวลนิวเคลียสทั้งหมด หรือ ถ้าใช้มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมทั้งหมด
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) - เกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม - เมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าชนธาตุหนักจะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยนิวเคลียสธาตุหนักจะแตกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ทําให้ เกิดนิวตรอน 2-3 อนุภาค - มวลของนิวเคลียสส่วนหนึ่งที่หายไปจะกลายเป็นพลังงานในรูป ของความร้อน
  • 13. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ) นิวตรอนที่เกิดใหม่จะวิ่งเข้าชนนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 ที่อยู่ ใกล้เคียง ทําให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อย ๆ ทําให้นิวเคลียสมี การแตกตัวอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
  • 15. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear fission) (ต่อ) ใน พ.ศ. 2485 เอริโก แฟร์มี (Enrico Fermi) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีได้ ประดิษฐ์เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Nuclear reactor) ที่สามารถควบคุมการ เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ จึงทําให้สามารถนํา พลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในทางสันติในด้าน ต่างๆ ได้ เช่น ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า สร้าง เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้ขับเคลื่อนเรือดํานํ้า หรือจรวด
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) - เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน ทําให้เกิด นิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมวลที่หายไปจะ เปลี่ยนไปเป็นพลังงานนิวเคลียร์ - ในธรรมชาติจะพบปฏิกิริยาฟิวชันบนดาวฤกษ์รวมถึงดวงอาทิตย์ - ปฏิกิริยาฟิวชันให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชันอย่างมาก แต่มีรังสีเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยจึงไม่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
  • 20. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) - ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถสร้างปฏิกิริยาฟิวชันได้เฉพาะใน ห้องปฏิบัติการ โดยใช้อะตอมของดิวเทอเรียมและทริเทียมใน การสร้างปฏิกิริยาฟิวชัน ทําให้เกิดธาตุฮีเลียมและนิวตรอน
  • 21. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ให้พลังงานประมาณ 2.8x10–12 จูล หรือประมาณ 17.6 MeV
  • 22. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ทําได้ในห้องปฏิบัติการ
  • 23. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear fusion) (ต่อ) ตัวอย่างของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์
  • 24.
  • 25. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่จะทําให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์บนโลก แบบ เดียวกับปฏิกิริยาที่ให้พลังงานออกมาจากดวงอาทิตย์หรือดาวฤกษ์ โดย การควบคุมพลาสมาให้คงรูปอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก ไม่ให้พลาสมา สัมผัสกับผนังของเครื่องปฏิกรณ์
  • 27. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ) ปี พ.ศ.2559 เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน
  • 28. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน (Fusion reactor) (ต่อ) เครื่อง Wendelstein 7-X ประเทศเยอรมัน