SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
1
 




                                           บทที่ 1
                                           บทนํา

ที่มาและความสําคัญ
          กลองจุลทรรศนเปนอุปกรณพื้นฐานวิทยาศาสตรที่สําคัญในการศึกษาทางดานชีววิทยาของ
นักเรียนทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย ชวยในการศึกษาสิ่งมีชวตหรือสวนตางๆ
                                                                             ีิ
ของสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา ทําใหสามารถมองเห็นวัตถุขนาดเล็ก
นั้นได สวนประกอบตางๆ ของกลองจุลทรรศนมีราคาแพงและชํารุดไดงาย
          หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย มีกลองจุลทรรศน จํานวนมากกวา 20
เครื่อง มีทั้งชนิดที่เปนกระบอกตาเดียว และกระบอกตาคู ทั้งรุนที่ใชแสงจากกระจกเงา และใชแสง
จากไฟฟาแตทกลองจุลทรรศนที่สมบูรณสามารถใชงานไดไมเกิน 5 เครื่อง มีอุปกรณบางอยางชํารุด
                ี่
เชน หลอดไฟ สายไฟ หัวเลนสเปนเชื้อรา ภาพมืดไมสามารถมองเห็นภาพได ปุมปรับระยะภาพซาย-
ขวา ปุมปรับภาพหยาบ ภาพละเอียดไมสามารถใชงานไดตามปกติ และมีหัวเลนสทั้งเลนสใกลตา
และเลนสใกลวัตถุสํารองอยูเปนจํานวนมากที่ไมไดนํามาใชประโยชน เมื่อมีการเรียนวิทยาศาสตร
มีกลองไมพอกับจํานวนกลุมนักเรียนที่เรียน เมื่อจะใชงานกลองจุลทรรศนพบวากลองชํารุดใชงาน
                             
ไมไดตามปกติ
          คณะผูจัดทําจึงเห็นความสําคัญจากปญหาดังกลาว จึงไดคิดสรางกลองจุลทรรศนประยุกตให
สามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และ
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู

จุดประสงค
       1. เพื่อสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดใน
                                                                           ํ
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
       2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนทั่วไป

สมมติฐาน
       1. กลองจุลทรรศนประยุกตสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการ
วิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
       2. ความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนแตกตางกัน
2
 



ขอบเขตของการศึกษา
        1. ระยะเวลาทีใชในการศึกษา
                       ่
           1.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณในการประกอบกลองจุลทรรศนประยุกตจากกลองจุลทรรศนที่
ชํารุด 15 ตุลาคม- 31 ตุลาคม 2555
           1.2 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกต 1-5 พฤศจิกายน 2555
           1.3 การหาความสามารถในการขยายภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลอง
จุลทรรศนกระบอกตาคู 6-10 พฤศจิกายน 2555
        2. สถานที่ทําการศึกษา
           หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรทั่วไป
        3. วัสดุอุปกรณที่ใชในการสรางกลองจุลทรรศนประยุกต
            3.1 เลนสใกลตากําลังขยาย 10 จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
            3.2 เลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 4,10,40 และ 100 เทา จากกลองจุลทรรศนที่ชารุด
                                                                                   ํ
            3.3 เลนสรวมแสงจากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
            3.4 ขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
            3.5 ขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
            3.6 หลอดไฟ สวิทซ พรอมสายไฟ กําลังไฟฟา 220 โวลต
            3.7 ฐานไมขนาด 15 24 เซนติเมตร
            3.8 แวนเชือมเหล็กขนาดขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร
                         ่
            3.9 ขาตั้งเหล็กหองปฏิบติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด
                                     ั
            3.10 กลองถายรูปดิจิตอล


ตัวแปรที่เกี่ยวของในการศึกษา
        ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดใน
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
        1.1 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา
            ตัวแปรตน        ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 4 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส
ใกลตา
            ตัวแปรตาม        ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก
กลองจุลทรรศน
3
 



            ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุ
ที่ใชประกอบลํากลอง
         1.2 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา
            ตัวแปรตน         ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 10 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส
ใกลตา
            ตัวแปรตาม         ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก
กลองจุลทรรศน
            ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุที่
ใชประกอบลํากลอง
         1.3 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 40 เทา
             ตัวแปรตน         ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 40 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส
ใกลตา
            ตัวแปรตาม         ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก
กลองจุลทรรศน
            ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุที่
ใชประกอบลํากลอง

       ตอนที่ 2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน
ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู
            ตัวแปรตน       ชนิดของกลองจุลทรรศน
           ตัวแปรตาม        ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพ
           ตัวแปรควบคุม ชนิดของวัตถุที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ

นิยามศัพทเฉพาะ
         กลองจุลทรรศนประยุกต หมายถึง กลองจุลทรรศนที่ประกอบขึ้นเองจากวัสดุที่มีอยูใน
                                                                                      
ทองถิ่น และนําเลนสใกลตา และเลนสใกลวัตถุ จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
         กลองจุลทรรศนกระบอกตาคู หมายถึง กลองจุลทรรศนแบบกระบอกตาคูที่จดซื้อมาใชใน
                                                                             ั
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง
         ความสามารถของกลองจุลทรรศน หมายถึง ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจน
ของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนที่กําลังขยาย 40 เทา 100 เทา และ 400 เทา
         กําลังขยายของภาพ หมายถึง ขนาดของเลนสใกลตาคูณกับขนาดของเลนสใกลวัตถุ
4
 




ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
     1. ไดกลองจุลทรรศนประยุกต เพื่อใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติวทยาศาสตร
                                                                                  ิ
ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง
     2. ไดทราบความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพทีเ่ กิดจากกลองจุลทรรศน
  ประยุกต
     3. ไดนําวัสดุ อุปกรณที่ชารุดมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน
                               ํ
     4. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน
     5. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป
5
 




                                               บทที่ 2
                                          เอกสารที่เกียวของ
                                                      ่

กลองจุลทรรศน (Microscope)
       ประวัติของกลองจุลทรรศน
       สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา เดิมใชเพียงแวนขยายและเลนสอันเดียว
สองดู คงเชนเดียวกับการใชแวนขยายสองดูลายมือ ในระยะตอมา กาลิเลอิ กาลิเลโอ ไดสรางแวน
ขยายสองดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆในราวป พ.ศ. 2153
      ในชวงป พ.ศ. 2133 ชางทําแวนตาชาวฮอลันดาชื่อ แจนเสนประดิษฐกลองจุลทรรศนชนิด
เลนสประกอบ ประกอบดวยแวนขยายสองอัน
        ในป พ.ศ. 2208 โรเบิรต ฮุก ไดประดิษฐกลองจุลทรรศนชนิดเลนสประกอบที่มีลํากลองรูปราง
                               
สวยงาม ปองกันการรบกวนจากแสงภายนอกได และไมตองถือเลนสใหซอนกัน (ดูภาพในกลอง
                                                                             
ขอความประกอบ) เขาสองดูไมคอรกที่ฝานบางๆ แลวพบชองเล็กๆมากมาย เขาเรียกชองเหลานั้นวา
เซลล ซึ่งหมายถึงหองวางๆ หรือหองขัง เซลลที่ฮุกเห็นเปนเซลลที่ตายแลว เหลือแตผนังเซลลของพืช
ซึ่งแข็งแรงกวาเยื่อหุมเซลลในสัตว จึงทําใหคงรูปรางอยูได ฮุกจึงไดชอวาเปนผูที่ตั้งชื่อเซลล
                                                                         ่ื
         ในป พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชาวฮอลันดา สรางกลองจุลทรรศนชนิดเลนสเดียว
จากแวนขยายที่เขาฝนเอง แวนขยายบางอันขยายไดถึง 270 เทา เขาใชกลองจุลทรรศนตรวจดูหยดน้ํา
จากบึงและแมน้ํา และจากน้ําฝนที่รองไวในหมอ เห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆมากมายนอกจากนันเขายังสองดู้
สิ่งมีชีวิตตางๆ เชน เม็ดเลือดแดง, เซลลสืบพันธุสัตวตัวผู, กลามเนื้อ เปนตน เมื่อเขาพบสิ่งเหลานี้ เขา
รายงานไปยังราชสมาคมแหงกรุงลอนดอน จึงไดรับการยกยองวาเปนผูประดิษฐกลองจุลทรรศน
                                                                             
     ป พ.ศ. 2367 ดูโธรเชต นักพฤกษศาสตรชาวฝรั่งเศสศึกษาเนื้อเยื่อพืช และสัตวพบวา
ประกอบดวยเซลล
       ป พ.ศ. 2376 โรเบิรต บราวน นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษ เปนคนแรกทีพบวาเซลลและพืชมี
                                                                       ่
นิวเคลียสเปนกอนกลมๆ อยูภายในเซลล
                            
6
 



      ป พ.ศ. 2 นุก นะดือจารแดง นักสัตวศาสตรชาวฝรั่งเศส ศึกษาจุลินทรียและสิ่งมีชวิตอื่นๆ
              2378       ดื                    ร                      รี          วิ
                                                                                   ี
พบ าภายในปร
 บว          ระกอบดวยของเหลวใสๆ จึงเรียกวา ซา โคด ซึ่งเปน
                                               าร         นภาษาฝรั่งเศส
                                                                       สมาจากศัพทกรีกวา
ซา (Sarx) ซึงแปลวาเนื้อ
 ารค         ่
    ป พ.ศ. 2 ชไลเดน นักพฤกษศ ชาวเยอ น ศึกษาเนื้อเยื่อพืชชนิด างๆ พบวาพืชทุก
            2381   น        ศาสตร อรมั      นื             ดต       า
ชนดประกอบดวยเซลล
 นิ        ด
    ป พ.ศ. 2 ชไลเดร
            2382   รและชวาน จึง วมกันตั้งทฤษฎีเซลล ซึง ใจความสรปไดวา "สิ่งมีชีวิตทุก
                              งร                    งมี
                                                      ่        รุ
ชนดประกอบไ วยเซลลแ
 นิ        ไปด    และผลิตภัณฑจากเซลล"
     พ.ศ. 2382 พัวกินเย นกสัตวิทยาชาวเชคโกสโล ย ศึกษาไขและตัวออ
                        นั                    ลวาเกี             อนของสัตวชนิดตางๆ
                                                                            น
พบ าภายในมีข
 บว        ของเหลวใส เเหนียว ออนนมเปนวุน เรียกวาโปรโตพ
                                   นุ     ย            พลาสซึม
        ตอจากนนมีนกวิทยา
              นั้ ั        าศาสตรอีกมา
                                      ากมายทําการศึกษาเกี่ยวกับ ดวยกลองจุลทรรศนชนิด
                                                  ศึ         บเซลล ล             น
เลนสประกอบ และไดพัฒน ดียิ่งขึ้น จ
                          นาให       จนกระทั่งป พ.ศ. 2475 นัก ทยาศาสตรชาวเยอรมัน คืออี.รุ
                                                  พ          กวิ       ร
สก และแมกซนอลล ไดเปลีี่ยนแปลงกร
   กา         ซ                      ระบวนการขอ องจุลทร ที่ใชแสงและเลนสมาใชลํา
                                                  องกล       รรศน                า
อิเเล็กตรอน ทําใหเกิดกลองจลทรรศนอิเล็กตรอนขึ้นในระยะตอๆม ปจจุบันมีกาลังขยายกวา 5 แสน
                           จุ                                มา        กํํ
เทา
 ท
         เลนสนน (convex lens) คือ เลนสที่โคงออกดานนอก มีขอ
              นูู                      ส         ด          อบแคบ และต ตรงกลางกวาง แสงที่
ผา
  านเลนสนูนจะรวมเปนจุดเเดียว เรียกจุดนีวา จุดโฟกัส เลนสนูนสา
                                          ้                    ามารถสรางภ งหรือ
                                                                         ภาพจริ
ภา อน
  าพเสมื
         - วััตถุอยูไกลมาก แสงจากวัต ขนานกับแกนมุขสําคัญ หักผานเลนสนนไปตัดกันไดภาพ
                                      ตถุ                                ส ู       น
จริงขนาดเล็กที่สุดที่จุดโฟกัส
 ริ                         ั
         - วััตถุอยูหางจาก มากกวา 2F (สองเทาของจุดโฟกัส) ไดภาพจริงหัวกลับ ขน ก
                           กเลนส ว               ท          กั         ริ         นาดเล็
กวาวัตถุ
  ว
         - วัต อยูหางจาก เทากับ 2F ไดภาพจริงหัวกลับขน าวัตถุที่ร 2F
              ตถุ         กเลนส                    ริ        นาดเท      ระยะ
         - วัต อยูระหวาง ด F กับจุด 2F จะไดภาพ งหัวกลับข
              ตถุ          งจุ                    พจริ         ขนาดใหญกวาวัตถุ
         - วัต อยูที่จดโฟกัส ไดภาพขนาดใหญมาก ่ระยะอนันต (ไมมีที่สิ้นสด) หรือวาหาไมได
              ตถุ       ุ                          กที         ต         สุ        ห
         - วััตถุอยูระหวาง F (จุดโฟกัส กับเลนส เกิดภาพเสมือน วโคงขนา
                                       ส)           กิ         นหั       าดใหญกวาวัตถุอยูขาง
                                                                                     ต 
เดียวกับวัตถุ
 

      สิ่งประดิษฐทใชเลนสนูน แวนขยาย แวนตาสาหรับคนสา
             ดิ ี่       ส                  สํ       ายตายาว กลอ
                                                                 องโทรทรรศน กลอง
                                                                          น
  ลทรรศน กลองถายภาพ เลนสถายภาพ
จุล        ล                    พ
7
 



       กลองจลทรรศนเปน ปกรณที่ชว เรามองเเห็นวัตถุที่มีข
              จุ        นอุ        วยให
                                                           ขนาดเล็กมาก ประกอบดวยเลนส
                                                                                     ย
นูน
  นความยาวโฟ สสั้น ๆ 2 อน โดยเลนสอันหนึ่งอยูใกลวัตถุเรียกวาเลนสใกลวัต (Objectiv Lens)
             ฟกั         อั       ส           ก            ว            ตถุ       ve
       และเล อันหนึ่งอ ใกลตาเรียก าเลนสใกลตา (Eyepiece Lens) โดยความยาวโฟกัสของ
             ลนส       อยู      กว          ต            e                        ส
เลนสใกลวัตถุนอยกวาความ
             น         มยาวโฟกัสขอ
                                  องเลนสใกลตามาก
                                              ต
                      เลน ใกลวัตถุ (f0)
                        นส          f         เลนสใกลตา (fB)
                                                            f




                    ภาพที่ 1 ทางเดินแ านเลนสใกลตาและเล ใกลวัตถุ
                       ที           แสงผ  ส          ลนส
          วางวัต ไวในระหวาง
              ตถุ          ว                  ของเลนสใกลวัตถุ จะไดภาพจ งขนาดขยายอยูหนา
                                                                             จริ          
เลนสใกลตาโด  ดยจะเปนวัตถุเสมือนของเล ใกลตา โดยวัตถุเสมือนนี้ จะตองอยระหวางควา
                                        ลนส       โ                         ยู      ามยาว
โฟ สของเลนสใกลวัตถุกับ
 ฟกั            ส         บเลนส          เกิดภาพเเสมือนขนาดข ่ระยะที่เห็นชัดปกติิของตา
                                                                ขยายที ที
คือ
  อประมาณ 25 เซนติเมตร โ
               5            โดยในทาง ป บัติวิธีทําใหเห็นภาพชัดเเรียกวาการโฟ สภาพทําไดโดย
                                      ปฏิ          ห                        ฟกั
เลื่ือนเลนสใกลตาเพื่อปรับระยะวัตถุใหเห
               ล                       หมาะสมที่จะเกิดภาพที่ระย นไดชดเเจน
                                                                ยะเห็      ั




                           ภาพที่ 2 ทางเดินแสงขอ องจุลทร
                                               องกล   รรศน
8
 



        ความยาวของตัวกลองจุลทรรศน (Length 0f Microscope , L)
        ความยาวของตัวกลองจุลทรรศน คือ ระยะระหวางเลนสวัตถุถึงเลนสตา (L)
                                          /
                          L       =           +
                                      /
                                       แทนระยะภาพของเลนสใกลวัตถุ
                                       แทนระยะวัตถุของเลนสใกลตา
กําลังขยายของกลองจะมีคาขึ้นกับผลคูณของกําลังขยายของเลนสใกลตากับเลนสใกลวัตถุ

        กลองจุลทรรศนเชิงประกอบ (Compound microscope)
          กลองจุลทรรศนเชิงประกอบ เปนกลองจุลทรรศนที่มีการขยายภาพ 2 ครั้ง ประกอบดวย
เลนส 2 ชุด คือ
         1. เลนสใกลวัตถุ (objective lens) มีอยูหลายอันมีกําลังขยายแตกตางกัน อาจเปน 4 เทา (4 )
10 เทา (10 ), 40 เทา (40 ) หรือ 100 เทา (100 ) เลนสนี้ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับที่มีขนาดใหญ
กวาวัตถุ
         2. เลนสใกล ตา (eye piece) เปนเลนสที่อยูทางดานบนของตัวกลองที่ตาเราดู เลนสนี้ทําหนาที่
ขยายภาพที่ไดจากเลนสใกลวัตถุ ภาพทีไดจะเปนภาพเสมือนหัวกลับขยายขนาดใหญที่ตามองเห็นได
                                         ่
สําหรับกําลังขยายของ eye piece โดยทั่วไปอาจเปน 10 หรือ 15 เทา (10 หรือ 15 )
        การคํานวณหากําลังขยายของกลองจุลทรรศน และ ขนาดของวัตถุ

กําลังขยายของกลองจุลทรรศน = กําลังขยายของเลนสใกลวตถุ กําลังขยายของเลนสใกลตา
                                                     ั

                                          ขนาดของภาพ
                                  =
                                          ขนาดของวัตถุ

       สวนประกอบของกลองจุลทรรศน
         1. ฐาน (Base) เปนสวนที่ใชวางบนโตะ ทําหนาที่รับน้ําหนักทั้งหมดของกลองจุลทรรศน มี
รูปรางสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุมสําหรับปดเปดไฟฟา
         2. แขน (Arm) เปนสวนเชื่อมตัวลํากลองกับฐาน ใชเปนทีจบเวลาเคลื่อนยายกลองจุลทรรศน
                                                                   ่ั
         3. ลํากลอง (Body tube) เปนสวนที่ปลายดานบนมีเลนสตา สวนปลายดานลางติดกับเลนส
วัตถุ ซึ่งติดกับแผนหมุนได เพื่อเปลี่ยนเลนสขนาดตาง ๆ ติดอยูกบจานหมุนที่เรียกวา Revolving
                                                                 ั
Nosepiece
9
 



       4. ปุมปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทําหนาที่ปรับภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส
ใกลวัตถุ (เลื่อนลํากลองหรือแทนวางวัตถุขึ้นลง) เพื่อทําใหเห็นภาพชัดเจน
       5. ปุมปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทําหนาที่ปรับภาพ ทําใหไดภาพที่ชดเจนมากขึ้น
                                                                                     ั
       6. เลนสใกลวัตถุ (Objective lens) เปนเลนสที่อยูใกลกับแผนสไลด หรือวัตถุ ปกติติดกับแปน
วงกลมซึ่งมีประมาณ 3-4 อัน แตละอันมีกาลังบอกเอาไว เชน x3.2, x4, x10, x40 และ x100 เปนตน
                                          ํ
ภาพที่เกิดจากเลนสใกลวัตถุเปนภาพจริงหัวกลับ
       7. เลนสใกลตา (Eye piece) เปนเลนสที่อยูบนสุดของลํากลอง โดยทั่วไปมีกาลังขยาย 10x
                                                                                  ํ
หรือ 15x ทําหนาที่ขยายภาพที่ไดจากเลนสใกลวัตถุใหมีขนาดใหญขึ้น ทําใหเกิดภาพที่ตาผูศึกษา
สามารถมองเห็นได โดยภาพที่ไดเปนภาพเสมือนหัวกลับ
       8. เลนสรวมแสง (Condenser) ทําหนาที่รวมแสงใหเขมขึ้นเพื่อสงไปยังวัตถุที่ตองการศึกษา
       9. กระจกเงา (Mirror) หรือหลอดไฟ ทําหนาทีสะทอนแสงจากธรรมชาติหรือแสงจาก
                                                       ่
หลอดไฟภายในหองใหสองผานวัตถุโดยทัวไปกระจกเงามี 2 ดาน ดานหนึ่งเปนกระจกเงาเวา อีกดาน
                                            ่
เปนกระจกเงาระนาบ สําหรับกลองรุนใหมจะใชหลอดไฟเปนแหลงกําเนิดแสง ซึ่งสะดวกและชัดเจน
กวา
       10. ไดอะแฟรม (Diaphragm) อยูใตเลนสรวมแสงทําหนาทีปรับปริมาณแสงใหเขาสูเลนสใน
                                                                    ่
ปริมาณที่ตองการ
       11. แทนวางวัตถุ (Speciment Stage) เปนแทนใชวางแผนสไลดที่ตองการศึกษา
       12. ที่หนีบสไลด (Stage Clip) ใชหนีบสไลดใหติดอยูกับแทนวางวัตถุ ในกลองรุนใหมจะมี
                                                               
Mechanical stage แทนเพื่อควบคุมการเลื่อนสไลดใหสะดวกยิ่งขึ้น
       13. จานหมุน (Revolving nosepiece) ใชหมุนเมื่อตองการเปลี่ยนกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุ




                            ภาพที่ 3 สวนประกอบของกลองจุลทรรศน
10
 



         วิธีใชกลองจุลทรรศน
          การใชกลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Light microscope) มีวิธีใชดังนี้
          1. วางกลองใหฐานอยูบนพื้นรองรับที่เรียบสม่ําเสมอเพื่อใหลํากลองตั้งตรง
          2. หมุนเลนสใกลวัตถุ (objective lens) อันที่มีกําลังขยายต่ําสุดมาอยูตรงกับลํากลอง
          3. ปรับกระจกเงาใตแทนวางวัตถุใหแสงสะทอนเขาลํากลองเต็มที่
          4. นําสไลดที่จะศึกษาวางบนแทนวางวัตถุ ใหวัตถุอยูตรงกลางบริเวณทีแสงผาน แลวมอง
                                                                                   ่
ดานขางตามแนวระดับแทนวางวัตถุ คอย ๆ หมุนปุมปรับภาพหยาบ (coarse adjustment knob) ใหลํา
กลองเลื่อนมาอยูใกลวัตถุที่จะศึกษามากทีสุด โดยระวังอยาใหเลนสใกลวัตถุสัมผัสกับกระจกปด
                                           ่
สไลด กลองจุลทรรศนบางรุนเมื่อหมุนปุมปรับภาพหยาบลํากลองจะเคลื่อนที่ขึ้นและลงเขาหาเลนส
ใกลวัตถุ แตกลองบางรุนแทนวางวัตถุวัตถุจะทําหนาที่เลือนขึ้นลงเขาหาเลนสใกลวัตถุ
                                                            ่
          5. มองผานเลสใกลตา (eyepiece) ลงตามลํากลอง พรอมกับหมุนปุมปรับภาพหยาบขึ้นชา ๆ
จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษาคอนขางชัดเจน แลวจึงเปลียนมาหมุนปรับปุมภาพละเอียด (fine
                                                        ่                   
adjustment knob) เพื่อปรับภาพใหคมชัด อาจเลื่อนสไลดไปมาชาง ๆ เพื่อใหสิ่งที่ตองการศึกษามาอยู
กลางแนวลํากลอง
         6. ถาตองการขยายภาพใหใหญขึ้น ใหหมุนเลนสใกลวัตถุอันทีมีกําลังขยายสูงขึ้นเขามาใน
                                                                          ่
แนวลํากลอง และไมตองขยับสไลดอีก แลวหมุนปุมปรับภาพละเอียดเพื่อใหเห็นภาพชัดเจนขึ้น
         7. การปรับแสงที่เขาในลํากลองใหมากหรือนอย ใหหมุนแผนไดอะแฟรม (diaphragm)
ปรับแสงตามตองการ กลองจุลทรรศนที่ใชกันในโรงเรียนมีจํานวนเลนสใกลวัตถุตาง ๆ กันไป เชน
1 อัน 2 อัน หรือ 3 อัน และมีกําลังขยายตาง ๆ กันไป อาจเปนกําลังขยายต่ําสุด( x4) กําลังขยายขนาด
กลาง (x10) และกําลังขยายขนาดสูง (x40 , x80) หรือกําลังขยายสูงมาก ๆ ถึง x100 สวนกําลังขยาย
ของเลนสนั้นโดยทัวไปโดยทั่วไปจะเปน x10 แตก็มบางกลองที่เปน x5 หรือ x15 กําลังขยายของ
                      ่                              ี
กลองจุลทรรศนคํานวณไดจากผลคูณของกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุกับกําลังขยายของเลนสใกลตา
ซึ่งมีกํากับไวที่เลนส

       ขอควรระวังในการใชกลองจุลทรรศน
       เนื่องจากกลองจุลทรรศนเปนอุปกรณที่มีราคาสูงและมีสวนประกอบที่อาจเสียหายงาย
โดยเฉพาะเลนส จึงตองใชและเก็บรักษาดวยความระมัดระวังใหถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
       1. การยกกลอง ควรใชมือหนึ่งจับทีแขนกลอง (arm) และอีกมือหนึ่งรองที่ฐาน (base) และตอง
                                          ่
ใหลํากลองตั้งตรงเสมอเพื่อปองกันการเลือนหลุดของเลนสใกลตา ซึ่งสามารถถอดออกไดงาย
                                        ่
       2. สไลดและกระจกปดสไลดตองไมเปยก เพราะอาจทําใหแทนวางวัตถุเกิดสนิม และทําให
11
 



เลนสใกลวัตถุชื้นอาจเกิดราขึ้นที่เลนสได
        3. ขณะที่ตามองผานเลนสใกลตา เมื่อจะตองหมุนปุมปรับภาพหยาบตองมองดานขางตามแนว
ระดับแทนวางวัตถุ และหมุนใหเลนสใกลวตถุกับแทนวางวัตถุเคลื่อนเขาหากัน เพราะเลนสใกลวัตถุ
                                                 ั
อาจกระทบกระจกสไลดทาใหเลนสแตกได
                            ํ
        4. การหาภาพตองเริ่มตนดวยเลนสวัตถุกําลังขยายต่ําสุดกอนเสมอ และปรับหาภาพใหชดเจน ั
กอน จึงคอยใชเลนสใกลวัตถุที่มกําลังขยายสูงขึ้น
                                   ี
        5. เมื่อใชเลนสใกลวตถุที่มีกําลังขยายสูง ถาจะปรับภาพใหชัดใหหมุนเฉพาะปุมปรับภาพ
                              ั
ละเอียดเทานัน ้
        6. หามใชมือแตะเลนส ในการทําความสะอาดใหใชกระดาษสําหรับเช็ดเลนสเช็ดเทานัน    ้
        7. เมื่อใชเสร็จแลวตองเอาวัตถุที่ศกษาออก เช็ดแทนวางวัตถุและเช็ดเลนสใหสะอาด หมุน
                                            ึ
เลนสใกลวัตถุกําลังขยายต่ําสุดใหอยูตรงกับลํากลอง และเลื่อนลํากลองลงต่ําสุด ปรับกระจกใหอยูใน
                                                                                             
แนวตั้งไดฉากกับแทนวางวัตถุเพื่อไมใหฝนลง แลวเก็บใสกลองหรือใสตูใหเรียบรอย
                                              ุ
12
 




                                        บทที่ 3
                               อุปกรณและวิธีการดําเนินงาน

วัสดุและอุปกรณ
          1. เลนสใกลตากําลังขยาย 10 จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
          2. เลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 4,10,40 และ 100 เทา จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
          3. เลนสรวมแสงจากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด
          4. ขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
          5. ขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
          6. หลอดไฟ สวิทซ พรอมสายไฟ กําลังไฟฟา 220 โวลต
          7. ฐานไมขนาด 15 24 เซนติเมตร
          8. แวนเชื่อมเหล็กขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร
          9. ขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด
          10. กลองถายรูปดิจิตอล

วิธีดําเนินการศึกษา
          ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดใน   ํ
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
        1.1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตที่มกาลังขยาย 10 4 เทา
                                                    ีํ
              1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser)
              2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก
ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร
              3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 4 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2
เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
              4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม
สวนประกอบตามขอ 3
               5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให
เห็นภาพที่มความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล
            ี
13
 



       1.2 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตที่มกําลังขยาย 10 10 เทา
                                                 ี
            1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser)
            2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก
ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร
            3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2
เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
            4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม
สวนประกอบตามขอ 3
             5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให
เห็นภาพที่มีความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล
        1.3 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 40 เทา
            1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser)
            2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก
ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร
            3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 40 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2
เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร
            4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม
สวนประกอบตามขอ 3
            5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให
เห็นภาพที่มีความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล

        ตอนที่ 2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน
ประยุกต
        2.1 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน
ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา
        นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ
                     ่                                                
วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 4 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต
กําลังขยาย 10 4 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจตอล
                                                                             ิ
14
 



        2.2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน
ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มกําลังขยาย 10 10 เทา
                                         ี
        นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ
                     ่                                                
วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 10 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต
กําลังขยาย 10 10 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล
        2.3 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน
ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา
        นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ
                       ่                                                
วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 40 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต
กําลังขยาย 10 40 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล
15
 




                                     บทที่ 4
                                 ผลการดําเนินงาน
                                 ผ        นิ

        ตอน ่ 1 ผลการส างกลองจุลท
           นที        สร         ทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลอ ลทรรศนที่ชํารุดใน
                                            ยุ                    องจุ     ที
หอ บติการ ทยาศาสตรโรงเรียนทุงย งศิษย
 องปฏิ ั รวิ          ร         ยาวผดุ
       1.1 กลองจุลทรรศ ประยุกตทมกําลังขยาย 10 4 เทา
                      ศน         มี
                                  ี่




                 ภาพที่ 4 กลองจุลทร ประยุกตที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา
                                   รรศน
       1.2 ก องจุลทรรศ ประยุกตที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา
           กล       ศน




                 ภาพที่ 5 กลองจุลทร ประยุกตที่มีกําลังขยา 10 10 เทา
                                   รรศน   ต              าย       ท
16
 



       1.3 ก องที่มีกําลัง
           กล           งขยาย 10 4 เทา
                                  40




         ภาพ ่ 6 สวนปร
           พที        ระกอบของกลองจุลทรรศนประยุกตทมกําลังขยาย 1 40 เทา
                                                     มีี
                                                     ี่          10

      ตอนที่ 2 ความสามารถในการขย
          ที                    ยายภาพ และค ดเจนข
                                                ความชั ของภาพที่เกิด
                                                                   ดจากกลองจุลทรรศน
                                                                              ล
ปร กต
 ระยุ
           วามสามารถใ
      2.1 คว          ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร
                               ภาพ              มชั       ภาพที   กกล       รศน
ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 4 เทา
 ระยุ                 น        คู              าย




       ภาพที่ 7 เยื่อหอมทีถายจากกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู กัับกลองจุลทร ประยุกต
                         ถ
                          ่                    ร                       รรศน   ต
                                กําลังข 10 4 เทา ตามลําดับ
                                      ขยาย     ท
17
 



      2.2 คว
           วามสามารถใ ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร
                               ภาพ              มชั      ภาพที กกล รศน
ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 10 เทา
 ระยุ                 น        คู              าย       ท




      2.3 คว ่ 8 เยื่อหอม ่ถายจากกลองจุและความกระบอกตาคู กับกลองจุล องจุลทรร กต
        ภาพวามสามารถใ
           ที           ในการขยายภ ลทรรศน ดเจนของภ ่เกิดจาก
                        มที         ภาพ         มชั
                                                น          ภาพที
                                                            คู         กกล      รศน
                                                                       ลทรรศนประย
                                                                                 ยุ
ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา0 เทา ตามลํา บ
 ระยุ                   น       กําลัคู
                                      งขยาย 10 1าย 10 40 าดั
                                      ง

      2.3 คว
           วามสามารถใ ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร
                               ภาพ              มชั      ภาพที กกล รศน
ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 40 เทา
 ระยุ                 น        คู              าย       ท



        ไมสามารถมองเห็น
                      นภาพได




       ภาพที่ 9 เยื่อหอมที่ถายจากกลอง ลทรรศนกระบอกตาคู กับกลองจุลทรรศนประยุกต
          ที                            งจุ                                      ก
                                 กําลังขยาย 10 40 เทา ตามลําดับ
                                                  เ
18
 




                                     บทที่ 5
                   สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผลการดําเนินงาน

        จากผลการดําเนินงานสามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้
ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดใน
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
      จากการศึกษา พบวา กลองจุลทรรศนประยุกต กําลังขยาย 40 เทา 100 เทา และ 400 เทา
สามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษยได

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศน
กระบอกตาคู
            จากการเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกบกลองจุลทรรศนกระบอก
                                                                        ั
ตาคูที่มีใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย พบวา กลองจุลทรรศนประยุกต
สามารถขยายภาพ และภาพที่ไดมีความชัดเจนเทียบเทากับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีใชอยูใน    
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง และวัตถุที่สงเกตจากกลอง
                                                                            ั
จุลทรรศนประยุกต สามารถสังเกตเห็นภาพที่มีกําลังขยาย 400 เทาไดดกวากลองจุลทรรศนกระบอก
                                                                      ี
ตาคูที่มใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง
          ี


สรุปผลการศึกษา
         1. กลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดในหองปฏิบัติการ
                                                                      ํ
วิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
        2. กลองจุลทรรศนประยุกตที่สรางขึ้นมีความสามารถเทียบเทากับกลองจุลทรรศนกระบอกตา
คู และวัตถุทสังเกตจากกลองจุลทรรศนประยุกต สามารถสังเกตเห็นภาพที่มีกาลังขยาย 400 เทาได
             ี่                                                          ํ
ดีกวากลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
จังหวัดตรัง
19
 



ประโยชนที่ไดรับ
     1. ไดกลองจุลทรรศนประยุกต เพื่อใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติวทยาศาสตร
                                                                                  ิ
ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง
     2. ไดทราบความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพทีเ่ กิดจากกลองจุลทรรศน
  ประยุกต
     3. ไดนําวัสดุ อุปกรณที่ชารุดมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน
                               ํ
     4. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน
     5. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป

ปญหาอุปสรรค
         หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษยไมมไมโครมิเตอร สําหรับวัดขนาดภาพ
                                                              ี
ที่สังเกตไดจากกลองจุลทรรศน

ขอเสนอแนะ
        สามารถนําโครงงานนี้ไปตอยอดหาคาขนาดของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนประยุกต
เปรียบเทียบกับกลองจุลทรรศนแบบกระบอกตาคูไดอีก
20
 



                                      บรรณนานุกรม
 
กอบนวล จิตตินันท. (มปป.). วิทยาศาสตร ม.1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพภูมิบัณฑิต.
มาฆะ ทิพยคีร.ี (2543). โครงงานวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัท เดอะมาสเตอร
          กรุป แมนเนจเมนท จํากัด.
http://nbschoolscitool.tripod.com/microscope.htm สืบคนเมื่อ 22 ตุลาคม 2555
http://th.wikipedia.org/wiki สืบคนเมื่อ 21 ตุลาคม 2555
http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/62/light1/ligh_29.htm สืบคนเมื่อ 20 ตุลาคม 2555

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 

What's hot (20)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปก
ปกปก
ปก
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Viewers also liked

โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

Viewers also liked (9)

โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงานกล้องจุลทรรษร์

ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551sutham
 
สื่อประสม1
สื่อประสม1สื่อประสม1
สื่อประสม1krupornpana55
 
วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์Chariyakornkul
 

Similar to โครงงานกล้องจุลทรรษร์ (20)

Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
สื่อประสม1
สื่อประสม1สื่อประสม1
สื่อประสม1
 
2
22
2
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์วิชา วิทยาศาสตร์
วิชา วิทยาศาสตร์
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

โครงงานกล้องจุลทรรษร์

  • 1. 1   บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ กลองจุลทรรศนเปนอุปกรณพื้นฐานวิทยาศาสตรที่สําคัญในการศึกษาทางดานชีววิทยาของ นักเรียนทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย ชวยในการศึกษาสิ่งมีชวตหรือสวนตางๆ ีิ ของสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา ทําใหสามารถมองเห็นวัตถุขนาดเล็ก นั้นได สวนประกอบตางๆ ของกลองจุลทรรศนมีราคาแพงและชํารุดไดงาย หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย มีกลองจุลทรรศน จํานวนมากกวา 20 เครื่อง มีทั้งชนิดที่เปนกระบอกตาเดียว และกระบอกตาคู ทั้งรุนที่ใชแสงจากกระจกเงา และใชแสง จากไฟฟาแตทกลองจุลทรรศนที่สมบูรณสามารถใชงานไดไมเกิน 5 เครื่อง มีอุปกรณบางอยางชํารุด ี่ เชน หลอดไฟ สายไฟ หัวเลนสเปนเชื้อรา ภาพมืดไมสามารถมองเห็นภาพได ปุมปรับระยะภาพซาย- ขวา ปุมปรับภาพหยาบ ภาพละเอียดไมสามารถใชงานไดตามปกติ และมีหัวเลนสทั้งเลนสใกลตา และเลนสใกลวัตถุสํารองอยูเปนจํานวนมากที่ไมไดนํามาใชประโยชน เมื่อมีการเรียนวิทยาศาสตร มีกลองไมพอกับจํานวนกลุมนักเรียนที่เรียน เมื่อจะใชงานกลองจุลทรรศนพบวากลองชํารุดใชงาน  ไมไดตามปกติ คณะผูจัดทําจึงเห็นความสําคัญจากปญหาดังกลาว จึงไดคิดสรางกลองจุลทรรศนประยุกตให สามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู จุดประสงค 1. เพื่อสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดใน ํ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนทั่วไป สมมติฐาน 1. กลองจุลทรรศนประยุกตสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการ วิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 2. ความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศนแตกตางกัน
  • 2. 2   ขอบเขตของการศึกษา 1. ระยะเวลาทีใชในการศึกษา ่ 1.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณในการประกอบกลองจุลทรรศนประยุกตจากกลองจุลทรรศนที่ ชํารุด 15 ตุลาคม- 31 ตุลาคม 2555 1.2 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกต 1-5 พฤศจิกายน 2555 1.3 การหาความสามารถในการขยายภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลอง จุลทรรศนกระบอกตาคู 6-10 พฤศจิกายน 2555 2. สถานที่ทําการศึกษา หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรทั่วไป 3. วัสดุอุปกรณที่ใชในการสรางกลองจุลทรรศนประยุกต 3.1 เลนสใกลตากําลังขยาย 10 จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด 3.2 เลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 4,10,40 และ 100 เทา จากกลองจุลทรรศนที่ชารุด ํ 3.3 เลนสรวมแสงจากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด 3.4 ขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 3.5 ขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 3.6 หลอดไฟ สวิทซ พรอมสายไฟ กําลังไฟฟา 220 โวลต 3.7 ฐานไมขนาด 15 24 เซนติเมตร 3.8 แวนเชือมเหล็กขนาดขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร ่ 3.9 ขาตั้งเหล็กหองปฏิบติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด ั 3.10 กลองถายรูปดิจิตอล ตัวแปรที่เกี่ยวของในการศึกษา ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดใน หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 1.1 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา ตัวแปรตน ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 4 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส ใกลตา ตัวแปรตาม ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก กลองจุลทรรศน
  • 3. 3   ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุ ที่ใชประกอบลํากลอง 1.2 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา ตัวแปรตน ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 10 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส ใกลตา ตัวแปรตาม ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก กลองจุลทรรศน ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุที่ ใชประกอบลํากลอง 1.3 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 40 เทา ตัวแปรตน ระยะวัตถุจากเลนสกําลังขยาย 40 และระยะเลนสใกลวัตถุกับเลนส ใกลตา ตัวแปรตาม ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจาก กลองจุลทรรศน ตัวแปรควบคุม วัตถุที่ตองการตรวจสอบกับกลองจุลทรรศน ปริมาณแสงที่ใช วัสดุที่ ใชประกอบลํากลอง ตอนที่ 2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู ตัวแปรตน ชนิดของกลองจุลทรรศน ตัวแปรตาม ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพ ตัวแปรควบคุม ชนิดของวัตถุที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ นิยามศัพทเฉพาะ กลองจุลทรรศนประยุกต หมายถึง กลองจุลทรรศนที่ประกอบขึ้นเองจากวัสดุที่มีอยูใน  ทองถิ่น และนําเลนสใกลตา และเลนสใกลวัตถุ จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด กลองจุลทรรศนกระบอกตาคู หมายถึง กลองจุลทรรศนแบบกระบอกตาคูที่จดซื้อมาใชใน ั หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง ความสามารถของกลองจุลทรรศน หมายถึง ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจน ของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนที่กําลังขยาย 40 เทา 100 เทา และ 400 เทา กําลังขยายของภาพ หมายถึง ขนาดของเลนสใกลตาคูณกับขนาดของเลนสใกลวัตถุ
  • 4. 4   ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดกลองจุลทรรศนประยุกต เพื่อใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติวทยาศาสตร ิ ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง 2. ไดทราบความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพทีเ่ กิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกต 3. ไดนําวัสดุ อุปกรณที่ชารุดมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน ํ 4. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 5. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป
  • 5. 5   บทที่ 2 เอกสารที่เกียวของ ่ กลองจุลทรรศน (Microscope) ประวัติของกลองจุลทรรศน สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา เดิมใชเพียงแวนขยายและเลนสอันเดียว สองดู คงเชนเดียวกับการใชแวนขยายสองดูลายมือ ในระยะตอมา กาลิเลอิ กาลิเลโอ ไดสรางแวน ขยายสองดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆในราวป พ.ศ. 2153 ในชวงป พ.ศ. 2133 ชางทําแวนตาชาวฮอลันดาชื่อ แจนเสนประดิษฐกลองจุลทรรศนชนิด เลนสประกอบ ประกอบดวยแวนขยายสองอัน ในป พ.ศ. 2208 โรเบิรต ฮุก ไดประดิษฐกลองจุลทรรศนชนิดเลนสประกอบที่มีลํากลองรูปราง  สวยงาม ปองกันการรบกวนจากแสงภายนอกได และไมตองถือเลนสใหซอนกัน (ดูภาพในกลอง  ขอความประกอบ) เขาสองดูไมคอรกที่ฝานบางๆ แลวพบชองเล็กๆมากมาย เขาเรียกชองเหลานั้นวา เซลล ซึ่งหมายถึงหองวางๆ หรือหองขัง เซลลที่ฮุกเห็นเปนเซลลที่ตายแลว เหลือแตผนังเซลลของพืช ซึ่งแข็งแรงกวาเยื่อหุมเซลลในสัตว จึงทําใหคงรูปรางอยูได ฮุกจึงไดชอวาเปนผูที่ตั้งชื่อเซลล ่ื ในป พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชาวฮอลันดา สรางกลองจุลทรรศนชนิดเลนสเดียว จากแวนขยายที่เขาฝนเอง แวนขยายบางอันขยายไดถึง 270 เทา เขาใชกลองจุลทรรศนตรวจดูหยดน้ํา จากบึงและแมน้ํา และจากน้ําฝนที่รองไวในหมอ เห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆมากมายนอกจากนันเขายังสองดู้ สิ่งมีชีวิตตางๆ เชน เม็ดเลือดแดง, เซลลสืบพันธุสัตวตัวผู, กลามเนื้อ เปนตน เมื่อเขาพบสิ่งเหลานี้ เขา รายงานไปยังราชสมาคมแหงกรุงลอนดอน จึงไดรับการยกยองวาเปนผูประดิษฐกลองจุลทรรศน  ป พ.ศ. 2367 ดูโธรเชต นักพฤกษศาสตรชาวฝรั่งเศสศึกษาเนื้อเยื่อพืช และสัตวพบวา ประกอบดวยเซลล ป พ.ศ. 2376 โรเบิรต บราวน นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษ เปนคนแรกทีพบวาเซลลและพืชมี ่ นิวเคลียสเปนกอนกลมๆ อยูภายในเซลล 
  • 6. 6   ป พ.ศ. 2 นุก นะดือจารแดง นักสัตวศาสตรชาวฝรั่งเศส ศึกษาจุลินทรียและสิ่งมีชวิตอื่นๆ 2378 ดื ร รี วิ ี พบ าภายในปร บว ระกอบดวยของเหลวใสๆ จึงเรียกวา ซา โคด ซึ่งเปน าร นภาษาฝรั่งเศส สมาจากศัพทกรีกวา ซา (Sarx) ซึงแปลวาเนื้อ ารค ่ ป พ.ศ. 2 ชไลเดน นักพฤกษศ ชาวเยอ น ศึกษาเนื้อเยื่อพืชชนิด างๆ พบวาพืชทุก 2381 น ศาสตร อรมั นื ดต า ชนดประกอบดวยเซลล นิ ด ป พ.ศ. 2 ชไลเดร 2382 รและชวาน จึง วมกันตั้งทฤษฎีเซลล ซึง ใจความสรปไดวา "สิ่งมีชีวิตทุก งร งมี ่ รุ ชนดประกอบไ วยเซลลแ นิ ไปด และผลิตภัณฑจากเซลล" พ.ศ. 2382 พัวกินเย นกสัตวิทยาชาวเชคโกสโล ย ศึกษาไขและตัวออ นั ลวาเกี อนของสัตวชนิดตางๆ น พบ าภายในมีข บว ของเหลวใส เเหนียว ออนนมเปนวุน เรียกวาโปรโตพ นุ  ย พลาสซึม ตอจากนนมีนกวิทยา นั้ ั าศาสตรอีกมา ากมายทําการศึกษาเกี่ยวกับ ดวยกลองจุลทรรศนชนิด ศึ บเซลล ล น เลนสประกอบ และไดพัฒน ดียิ่งขึ้น จ นาให จนกระทั่งป พ.ศ. 2475 นัก ทยาศาสตรชาวเยอรมัน คืออี.รุ พ กวิ ร สก และแมกซนอลล ไดเปลีี่ยนแปลงกร กา ซ ระบวนการขอ องจุลทร ที่ใชแสงและเลนสมาใชลํา องกล รรศน า อิเเล็กตรอน ทําใหเกิดกลองจลทรรศนอิเล็กตรอนขึ้นในระยะตอๆม ปจจุบันมีกาลังขยายกวา 5 แสน จุ มา กํํ เทา ท เลนสนน (convex lens) คือ เลนสที่โคงออกดานนอก มีขอ นูู ส ด อบแคบ และต ตรงกลางกวาง แสงที่ ผา านเลนสนูนจะรวมเปนจุดเเดียว เรียกจุดนีวา จุดโฟกัส เลนสนูนสา ้ ามารถสรางภ งหรือ ภาพจริ ภา อน าพเสมื - วััตถุอยูไกลมาก แสงจากวัต ขนานกับแกนมุขสําคัญ หักผานเลนสนนไปตัดกันไดภาพ ตถุ ส ู น จริงขนาดเล็กที่สุดที่จุดโฟกัส ริ ั - วััตถุอยูหางจาก มากกวา 2F (สองเทาของจุดโฟกัส) ไดภาพจริงหัวกลับ ขน ก กเลนส ว ท กั ริ นาดเล็ กวาวัตถุ ว - วัต อยูหางจาก เทากับ 2F ไดภาพจริงหัวกลับขน าวัตถุที่ร 2F ตถุ กเลนส ริ นาดเท ระยะ - วัต อยูระหวาง ด F กับจุด 2F จะไดภาพ งหัวกลับข ตถุ งจุ พจริ ขนาดใหญกวาวัตถุ - วัต อยูที่จดโฟกัส ไดภาพขนาดใหญมาก ่ระยะอนันต (ไมมีที่สิ้นสด) หรือวาหาไมได ตถุ ุ กที ต สุ ห - วััตถุอยูระหวาง F (จุดโฟกัส กับเลนส เกิดภาพเสมือน วโคงขนา ส) กิ นหั าดใหญกวาวัตถุอยูขาง ต  เดียวกับวัตถุ   สิ่งประดิษฐทใชเลนสนูน แวนขยาย แวนตาสาหรับคนสา ดิ ี่ ส สํ ายตายาว กลอ องโทรทรรศน กลอง น ลทรรศน กลองถายภาพ เลนสถายภาพ จุล ล พ
  • 7. 7   กลองจลทรรศนเปน ปกรณที่ชว เรามองเเห็นวัตถุที่มีข จุ นอุ วยให  ขนาดเล็กมาก ประกอบดวยเลนส ย นูน นความยาวโฟ สสั้น ๆ 2 อน โดยเลนสอันหนึ่งอยูใกลวัตถุเรียกวาเลนสใกลวัต (Objectiv Lens) ฟกั อั ส ก ว ตถุ ve และเล อันหนึ่งอ ใกลตาเรียก าเลนสใกลตา (Eyepiece Lens) โดยความยาวโฟกัสของ ลนส อยู กว ต e ส เลนสใกลวัตถุนอยกวาความ น มยาวโฟกัสขอ องเลนสใกลตามาก ต เลน ใกลวัตถุ (f0) นส f เลนสใกลตา (fB) f ภาพที่ 1 ทางเดินแ านเลนสใกลตาและเล ใกลวัตถุ ที แสงผ ส ลนส วางวัต ไวในระหวาง ตถุ ว ของเลนสใกลวัตถุ จะไดภาพจ งขนาดขยายอยูหนา จริ  เลนสใกลตาโด ดยจะเปนวัตถุเสมือนของเล ใกลตา โดยวัตถุเสมือนนี้ จะตองอยระหวางควา ลนส โ ยู ามยาว โฟ สของเลนสใกลวัตถุกับ ฟกั ส บเลนส เกิดภาพเเสมือนขนาดข ่ระยะที่เห็นชัดปกติิของตา ขยายที ที คือ อประมาณ 25 เซนติเมตร โ 5 โดยในทาง ป บัติวิธีทําใหเห็นภาพชัดเเรียกวาการโฟ สภาพทําไดโดย ปฏิ ห ฟกั เลื่ือนเลนสใกลตาเพื่อปรับระยะวัตถุใหเห ล หมาะสมที่จะเกิดภาพที่ระย นไดชดเเจน ยะเห็ ั ภาพที่ 2 ทางเดินแสงขอ องจุลทร องกล รรศน
  • 8. 8   ความยาวของตัวกลองจุลทรรศน (Length 0f Microscope , L) ความยาวของตัวกลองจุลทรรศน คือ ระยะระหวางเลนสวัตถุถึงเลนสตา (L) / L = + / แทนระยะภาพของเลนสใกลวัตถุ แทนระยะวัตถุของเลนสใกลตา กําลังขยายของกลองจะมีคาขึ้นกับผลคูณของกําลังขยายของเลนสใกลตากับเลนสใกลวัตถุ กลองจุลทรรศนเชิงประกอบ (Compound microscope) กลองจุลทรรศนเชิงประกอบ เปนกลองจุลทรรศนที่มีการขยายภาพ 2 ครั้ง ประกอบดวย เลนส 2 ชุด คือ 1. เลนสใกลวัตถุ (objective lens) มีอยูหลายอันมีกําลังขยายแตกตางกัน อาจเปน 4 เทา (4 ) 10 เทา (10 ), 40 เทา (40 ) หรือ 100 เทา (100 ) เลนสนี้ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับที่มีขนาดใหญ กวาวัตถุ 2. เลนสใกล ตา (eye piece) เปนเลนสที่อยูทางดานบนของตัวกลองที่ตาเราดู เลนสนี้ทําหนาที่ ขยายภาพที่ไดจากเลนสใกลวัตถุ ภาพทีไดจะเปนภาพเสมือนหัวกลับขยายขนาดใหญที่ตามองเห็นได ่ สําหรับกําลังขยายของ eye piece โดยทั่วไปอาจเปน 10 หรือ 15 เทา (10 หรือ 15 ) การคํานวณหากําลังขยายของกลองจุลทรรศน และ ขนาดของวัตถุ กําลังขยายของกลองจุลทรรศน = กําลังขยายของเลนสใกลวตถุ กําลังขยายของเลนสใกลตา ั ขนาดของภาพ = ขนาดของวัตถุ สวนประกอบของกลองจุลทรรศน 1. ฐาน (Base) เปนสวนที่ใชวางบนโตะ ทําหนาที่รับน้ําหนักทั้งหมดของกลองจุลทรรศน มี รูปรางสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุมสําหรับปดเปดไฟฟา 2. แขน (Arm) เปนสวนเชื่อมตัวลํากลองกับฐาน ใชเปนทีจบเวลาเคลื่อนยายกลองจุลทรรศน ่ั 3. ลํากลอง (Body tube) เปนสวนที่ปลายดานบนมีเลนสตา สวนปลายดานลางติดกับเลนส วัตถุ ซึ่งติดกับแผนหมุนได เพื่อเปลี่ยนเลนสขนาดตาง ๆ ติดอยูกบจานหมุนที่เรียกวา Revolving ั Nosepiece
  • 9. 9   4. ปุมปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทําหนาที่ปรับภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส ใกลวัตถุ (เลื่อนลํากลองหรือแทนวางวัตถุขึ้นลง) เพื่อทําใหเห็นภาพชัดเจน 5. ปุมปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทําหนาที่ปรับภาพ ทําใหไดภาพที่ชดเจนมากขึ้น ั 6. เลนสใกลวัตถุ (Objective lens) เปนเลนสที่อยูใกลกับแผนสไลด หรือวัตถุ ปกติติดกับแปน วงกลมซึ่งมีประมาณ 3-4 อัน แตละอันมีกาลังบอกเอาไว เชน x3.2, x4, x10, x40 และ x100 เปนตน ํ ภาพที่เกิดจากเลนสใกลวัตถุเปนภาพจริงหัวกลับ 7. เลนสใกลตา (Eye piece) เปนเลนสที่อยูบนสุดของลํากลอง โดยทั่วไปมีกาลังขยาย 10x ํ หรือ 15x ทําหนาที่ขยายภาพที่ไดจากเลนสใกลวัตถุใหมีขนาดใหญขึ้น ทําใหเกิดภาพที่ตาผูศึกษา สามารถมองเห็นได โดยภาพที่ไดเปนภาพเสมือนหัวกลับ 8. เลนสรวมแสง (Condenser) ทําหนาที่รวมแสงใหเขมขึ้นเพื่อสงไปยังวัตถุที่ตองการศึกษา 9. กระจกเงา (Mirror) หรือหลอดไฟ ทําหนาทีสะทอนแสงจากธรรมชาติหรือแสงจาก ่ หลอดไฟภายในหองใหสองผานวัตถุโดยทัวไปกระจกเงามี 2 ดาน ดานหนึ่งเปนกระจกเงาเวา อีกดาน ่ เปนกระจกเงาระนาบ สําหรับกลองรุนใหมจะใชหลอดไฟเปนแหลงกําเนิดแสง ซึ่งสะดวกและชัดเจน กวา 10. ไดอะแฟรม (Diaphragm) อยูใตเลนสรวมแสงทําหนาทีปรับปริมาณแสงใหเขาสูเลนสใน ่ ปริมาณที่ตองการ 11. แทนวางวัตถุ (Speciment Stage) เปนแทนใชวางแผนสไลดที่ตองการศึกษา 12. ที่หนีบสไลด (Stage Clip) ใชหนีบสไลดใหติดอยูกับแทนวางวัตถุ ในกลองรุนใหมจะมี  Mechanical stage แทนเพื่อควบคุมการเลื่อนสไลดใหสะดวกยิ่งขึ้น 13. จานหมุน (Revolving nosepiece) ใชหมุนเมื่อตองการเปลี่ยนกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุ ภาพที่ 3 สวนประกอบของกลองจุลทรรศน
  • 10. 10   วิธีใชกลองจุลทรรศน การใชกลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Light microscope) มีวิธีใชดังนี้ 1. วางกลองใหฐานอยูบนพื้นรองรับที่เรียบสม่ําเสมอเพื่อใหลํากลองตั้งตรง 2. หมุนเลนสใกลวัตถุ (objective lens) อันที่มีกําลังขยายต่ําสุดมาอยูตรงกับลํากลอง 3. ปรับกระจกเงาใตแทนวางวัตถุใหแสงสะทอนเขาลํากลองเต็มที่ 4. นําสไลดที่จะศึกษาวางบนแทนวางวัตถุ ใหวัตถุอยูตรงกลางบริเวณทีแสงผาน แลวมอง ่ ดานขางตามแนวระดับแทนวางวัตถุ คอย ๆ หมุนปุมปรับภาพหยาบ (coarse adjustment knob) ใหลํา กลองเลื่อนมาอยูใกลวัตถุที่จะศึกษามากทีสุด โดยระวังอยาใหเลนสใกลวัตถุสัมผัสกับกระจกปด ่ สไลด กลองจุลทรรศนบางรุนเมื่อหมุนปุมปรับภาพหยาบลํากลองจะเคลื่อนที่ขึ้นและลงเขาหาเลนส ใกลวัตถุ แตกลองบางรุนแทนวางวัตถุวัตถุจะทําหนาที่เลือนขึ้นลงเขาหาเลนสใกลวัตถุ ่ 5. มองผานเลสใกลตา (eyepiece) ลงตามลํากลอง พรอมกับหมุนปุมปรับภาพหยาบขึ้นชา ๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษาคอนขางชัดเจน แลวจึงเปลียนมาหมุนปรับปุมภาพละเอียด (fine ่  adjustment knob) เพื่อปรับภาพใหคมชัด อาจเลื่อนสไลดไปมาชาง ๆ เพื่อใหสิ่งที่ตองการศึกษามาอยู กลางแนวลํากลอง 6. ถาตองการขยายภาพใหใหญขึ้น ใหหมุนเลนสใกลวัตถุอันทีมีกําลังขยายสูงขึ้นเขามาใน ่ แนวลํากลอง และไมตองขยับสไลดอีก แลวหมุนปุมปรับภาพละเอียดเพื่อใหเห็นภาพชัดเจนขึ้น 7. การปรับแสงที่เขาในลํากลองใหมากหรือนอย ใหหมุนแผนไดอะแฟรม (diaphragm) ปรับแสงตามตองการ กลองจุลทรรศนที่ใชกันในโรงเรียนมีจํานวนเลนสใกลวัตถุตาง ๆ กันไป เชน 1 อัน 2 อัน หรือ 3 อัน และมีกําลังขยายตาง ๆ กันไป อาจเปนกําลังขยายต่ําสุด( x4) กําลังขยายขนาด กลาง (x10) และกําลังขยายขนาดสูง (x40 , x80) หรือกําลังขยายสูงมาก ๆ ถึง x100 สวนกําลังขยาย ของเลนสนั้นโดยทัวไปโดยทั่วไปจะเปน x10 แตก็มบางกลองที่เปน x5 หรือ x15 กําลังขยายของ ่ ี กลองจุลทรรศนคํานวณไดจากผลคูณของกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุกับกําลังขยายของเลนสใกลตา ซึ่งมีกํากับไวที่เลนส ขอควรระวังในการใชกลองจุลทรรศน เนื่องจากกลองจุลทรรศนเปนอุปกรณที่มีราคาสูงและมีสวนประกอบที่อาจเสียหายงาย โดยเฉพาะเลนส จึงตองใชและเก็บรักษาดวยความระมัดระวังใหถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้ 1. การยกกลอง ควรใชมือหนึ่งจับทีแขนกลอง (arm) และอีกมือหนึ่งรองที่ฐาน (base) และตอง ่ ใหลํากลองตั้งตรงเสมอเพื่อปองกันการเลือนหลุดของเลนสใกลตา ซึ่งสามารถถอดออกไดงาย ่ 2. สไลดและกระจกปดสไลดตองไมเปยก เพราะอาจทําใหแทนวางวัตถุเกิดสนิม และทําให
  • 11. 11   เลนสใกลวัตถุชื้นอาจเกิดราขึ้นที่เลนสได 3. ขณะที่ตามองผานเลนสใกลตา เมื่อจะตองหมุนปุมปรับภาพหยาบตองมองดานขางตามแนว ระดับแทนวางวัตถุ และหมุนใหเลนสใกลวตถุกับแทนวางวัตถุเคลื่อนเขาหากัน เพราะเลนสใกลวัตถุ ั อาจกระทบกระจกสไลดทาใหเลนสแตกได ํ 4. การหาภาพตองเริ่มตนดวยเลนสวัตถุกําลังขยายต่ําสุดกอนเสมอ และปรับหาภาพใหชดเจน ั กอน จึงคอยใชเลนสใกลวัตถุที่มกําลังขยายสูงขึ้น ี 5. เมื่อใชเลนสใกลวตถุที่มีกําลังขยายสูง ถาจะปรับภาพใหชัดใหหมุนเฉพาะปุมปรับภาพ ั ละเอียดเทานัน ้ 6. หามใชมือแตะเลนส ในการทําความสะอาดใหใชกระดาษสําหรับเช็ดเลนสเช็ดเทานัน ้ 7. เมื่อใชเสร็จแลวตองเอาวัตถุที่ศกษาออก เช็ดแทนวางวัตถุและเช็ดเลนสใหสะอาด หมุน ึ เลนสใกลวัตถุกําลังขยายต่ําสุดใหอยูตรงกับลํากลอง และเลื่อนลํากลองลงต่ําสุด ปรับกระจกใหอยูใน   แนวตั้งไดฉากกับแทนวางวัตถุเพื่อไมใหฝนลง แลวเก็บใสกลองหรือใสตูใหเรียบรอย ุ
  • 12. 12   บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินงาน วัสดุและอุปกรณ 1. เลนสใกลตากําลังขยาย 10 จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด 2. เลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 4,10,40 และ 100 เทา จากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด 3. เลนสรวมแสงจากกลองจุลทรรศนที่ชํารุด 4. ขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 5. ขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 6. หลอดไฟ สวิทซ พรอมสายไฟ กําลังไฟฟา 220 โวลต 7. ฐานไมขนาด 15 24 เซนติเมตร 8. แวนเชื่อมเหล็กขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร 9. ขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 10. กลองถายรูปดิจิตอล วิธีดําเนินการศึกษา ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดใน ํ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 1.1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตที่มกาลังขยาย 10 4 เทา ีํ 1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser) 2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร 3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 4 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม สวนประกอบตามขอ 3 5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให เห็นภาพที่มความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล ี
  • 13. 13   1.2 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตที่มกําลังขยาย 10 10 เทา ี 1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser) 2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร 3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม สวนประกอบตามขอ 3 5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให เห็นภาพที่มีความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล 1.3 การสรางกลองที่มีกําลังขยาย 10 40 เทา 1. ประกอบฐานไมกับชุดหลอดไฟใหแสงผานเลนสรวมแสง (Condenser) 2. นําขาตั้งเหล็กหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรพรอมตัวยึด 2 ตัว ตอกับแวนเชื่อมเหล็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางวงใน 2.5 เซนติเมตร 3. นําเลนสใกลวัตถุขนาดกําลังยาย 40 เทาตอกับขอตอเกลียวในทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร และตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลือง ขนาด 2 เซนติเมตร 4. นําเลนสใกลตาขนาดกําลังยาย 10 เทาตอกับขอตอเกลียวนอกทองเหลืองตาม สวนประกอบตามขอ 3 5. ปรับระยะวัตถุกับเลนสใกลวัตถุ และเลนสใกลวัตถุกับเลนสใกลตา ตามลําดับ เพื่อให เห็นภาพที่มีความชัดเจนมากที่สุด บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล ตอนที่ 2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกต 2.1 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ ่  วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 4 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต กําลังขยาย 10 4 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจตอล ิ
  • 14. 14   2.2 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มกําลังขยาย 10 10 เทา ี นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ ่  วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 10 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต กําลังขยาย 10 10 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล 2.3 ความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา นําสไลดสดเยือหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่ใชอยูในหองปฏิบัติการ ่  วิทยาศาสตร กําลังขยาย 10 40 เทา สังเกตขนาดของภาพ และความชัดเจนของภาพที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบเทียบภาพทีเ่ ห็นจากการนําสไลดสดเยื่อหอมมาสองดวยกลองจุลทรรศนประยุกต กําลังขยาย 10 40 เทา ลักษณะของภาพที่เกิดขึ้นเปน บันทึกภาพดวยกลองถายรูปดิจิตอล
  • 15. 15   บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ผ นิ ตอน ่ 1 ผลการส างกลองจุลท นที สร ทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลอ ลทรรศนที่ชํารุดใน ยุ องจุ ที หอ บติการ ทยาศาสตรโรงเรียนทุงย งศิษย องปฏิ ั รวิ ร ยาวผดุ 1.1 กลองจุลทรรศ ประยุกตทมกําลังขยาย 10 4 เทา ศน มี ี่ ภาพที่ 4 กลองจุลทร ประยุกตที่มีกําลังขยาย 10 4 เทา รรศน 1.2 ก องจุลทรรศ ประยุกตที่มีกําลังขยาย 10 10 เทา กล ศน ภาพที่ 5 กลองจุลทร ประยุกตที่มีกําลังขยา 10 10 เทา รรศน ต าย ท
  • 16. 16   1.3 ก องที่มีกําลัง กล งขยาย 10 4 เทา 40 ภาพ ่ 6 สวนปร พที ระกอบของกลองจุลทรรศนประยุกตทมกําลังขยาย 1 40 เทา มีี ี่ 10 ตอนที่ 2 ความสามารถในการขย ที ยายภาพ และค ดเจนข ความชั ของภาพที่เกิด ดจากกลองจุลทรรศน ล ปร กต ระยุ วามสามารถใ 2.1 คว ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร ภาพ มชั ภาพที กกล รศน ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 4 เทา ระยุ น คู าย ภาพที่ 7 เยื่อหอมทีถายจากกลองจุลทรรศนกระบอกตาคู กัับกลองจุลทร ประยุกต ถ ่ ร รรศน ต กําลังข 10 4 เทา ตามลําดับ ขยาย ท
  • 17. 17   2.2 คว วามสามารถใ ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร ภาพ มชั ภาพที กกล รศน ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 10 เทา ระยุ น คู าย ท 2.3 คว ่ 8 เยื่อหอม ่ถายจากกลองจุและความกระบอกตาคู กับกลองจุล องจุลทรร กต ภาพวามสามารถใ ที ในการขยายภ ลทรรศน ดเจนของภ ่เกิดจาก มที ภาพ มชั น ภาพที คู กกล รศน ลทรรศนประย ยุ ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา0 เทา ตามลํา บ ระยุ น กําลัคู งขยาย 10 1าย 10 40 าดั ง 2.3 คว วามสามารถใ ในการขยายภ และความ ดเจนของภ ่เกิดจาก องจุลทรร ภาพ มชั ภาพที กกล รศน ปร กตกับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีกําลังขยา 10 40 เทา ระยุ น คู าย ท ไมสามารถมองเห็น นภาพได ภาพที่ 9 เยื่อหอมที่ถายจากกลอง ลทรรศนกระบอกตาคู กับกลองจุลทรรศนประยุกต ที งจุ ก กําลังขยาย 10 40 เทา ตามลําดับ เ
  • 18. 18   บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผลการดําเนินงาน จากผลการดําเนินงานสามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ ตอนที่ 1 การสรางกลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดใน หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จากการศึกษา พบวา กลองจุลทรรศนประยุกต กําลังขยาย 40 เทา 100 เทา และ 400 เทา สามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษยได ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกับกลองจุลทรรศน กระบอกตาคู จากการเปรียบเทียบความสามารถของกลองจุลทรรศนประยุกตกบกลองจุลทรรศนกระบอก ั ตาคูที่มีใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย พบวา กลองจุลทรรศนประยุกต สามารถขยายภาพ และภาพที่ไดมีความชัดเจนเทียบเทากับกลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีใชอยูใน  หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง และวัตถุที่สงเกตจากกลอง ั จุลทรรศนประยุกต สามารถสังเกตเห็นภาพที่มีกําลังขยาย 400 เทาไดดกวากลองจุลทรรศนกระบอก ี ตาคูที่มใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง ี สรุปผลการศึกษา 1. กลองจุลทรรศนประยุกตใหสามารถใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชารุดในหองปฏิบัติการ ํ วิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 2. กลองจุลทรรศนประยุกตที่สรางขึ้นมีความสามารถเทียบเทากับกลองจุลทรรศนกระบอกตา คู และวัตถุทสังเกตจากกลองจุลทรรศนประยุกต สามารถสังเกตเห็นภาพที่มีกาลังขยาย 400 เทาได ี่ ํ ดีกวากลองจุลทรรศนกระบอกตาคูที่มีใชอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง
  • 19. 19   ประโยชนที่ไดรับ 1. ไดกลองจุลทรรศนประยุกต เพื่อใชแทนกลองจุลทรรศนที่ชํารุดในหองปฏิบัติวทยาศาสตร ิ ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง 2. ไดทราบความสามารถในการขยายภาพ และความชัดเจนของภาพทีเ่ กิดจากกลองจุลทรรศน ประยุกต 3. ไดนําวัสดุ อุปกรณที่ชารุดมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน ํ 4. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 5. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป ปญหาอุปสรรค หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษยไมมไมโครมิเตอร สําหรับวัดขนาดภาพ ี ที่สังเกตไดจากกลองจุลทรรศน ขอเสนอแนะ สามารถนําโครงงานนี้ไปตอยอดหาคาขนาดของภาพที่เกิดจากกลองจุลทรรศนประยุกต เปรียบเทียบกับกลองจุลทรรศนแบบกระบอกตาคูไดอีก
  • 20. 20   บรรณนานุกรม   กอบนวล จิตตินันท. (มปป.). วิทยาศาสตร ม.1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพภูมิบัณฑิต. มาฆะ ทิพยคีร.ี (2543). โครงงานวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัท เดอะมาสเตอร กรุป แมนเนจเมนท จํากัด. http://nbschoolscitool.tripod.com/microscope.htm สืบคนเมื่อ 22 ตุลาคม 2555 http://th.wikipedia.org/wiki สืบคนเมื่อ 21 ตุลาคม 2555 http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/62/light1/ligh_29.htm สืบคนเมื่อ 20 ตุลาคม 2555