SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ความสามารถของสีเสียดเหนือ
ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุโรคฟันผุ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อ น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง เลขที่ 37
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ความสามารถของสีเสียดเหนือในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Quantification of Acacia catechu (L.f.) Willd. in antimicrobial activity of Streptococcus
mutans, a cause of dental caries.
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทำโครงงาน น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง
ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
จากข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พบว่าสถาณการณ์ฟันผุในเด็กไทยเริ่มมีตั้งแต่อายุไม่ถึง 1 ปี โรค
ฟันผุสามารถพบได้เกือบทุกวัยตั้งแต่วัยเด็กถึงวัยผู้สูงอายุ ผลกระทบของโรคฟันผุ สามารถส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย
และสุขภาพช่องปากในอนาคตได้ จากการได้ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของสีเสียดเหนือ พบว่าสามารถ
ช่วยรักษาโรคเหงือกและฟันได้ ผู้จัดทำเห็นว่าปัญหาโรคฟันผุเป็นสิ่งที่เราจำเป็นต้องรักษาและป้องกันไม่ให้เกิด
สีเสียดเหนือก็เป็นสมุนไพรในท้องถิ่นที่หาได้ง่าย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้าน
เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ และเพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้ที่สนใจต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ
2. เพื่อเป็นสื่อความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน)
ศึกษาเกี่ยวกับสรรพคุณ ประโยชน์และข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสีเสียดเหนือ ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของ
แบคทีเรียStreptococcus mutans และบทบาทในการทำให้เกิดโรคฟันผุ
ขอบเขตในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
สรรพคุณของต้นสีเสียดเหนือ
1. เปลือกต้นใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ปรุงเป็นยาแก้ธาตุพิการ (เปลือกต้น) ใช้เป็นยาบำรุงธาตุและแก้
อติสาร (ก้อนสีเสียด)
2. ก้อนสีเสียดและเปลือกต้นสีเสียด มีสรรพคุณช่วยปิดธาตุ คุมธาตุ แก้อาการลงแดง (เปลือกต้น, ก้อนสีเสียด)
3. ใช้เป็นยาแก้ไข้จับสั่น แก้อาการไอ (ก้อนสีเสียด)
4. ช่วยแก้ปากเป็นแผล ช่วยห้ามเลือดที่ออกจากจมูก รวมถึงอาการเจ็บที่มีเลือดออก (ก้อนสีเสียด)
5. ใช้รักษาเหงือก ลิ้น และฟัน และช่วยรักษาแผลในลำคอ (ก้อนสีเสียด)
6. ใช้เป็นยาแก้ท้องเดิน ด้วยการใช้ก้อนสีเสียดนำมาบดให้เป็นผงประมาณ 1/3-1/2 ช้อนชา (ประมาณ 0.3-1.0
กรัม) แล้วต้มเอาน้ำดื่มให้หมดใน 1 ครั้ง โดยให้ดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ส่วนเปลือกต้นก็มีสรรพคุณแก้
ท้องเดินได้เช่นเดียวกัน (ก้อนสีเสียด, เปลือกต้น) หรือจะใช้ผงสีเสียดผสมกับผงอบเชย อย่างละเท่ากัน ถ้า
ท้องเดินมากให้ใช้ 1 กรัม ถ้าท้องเดินให้ใช้เพียง 1/2 กรัม แล้วนำมาต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว เคี่ยวประมาณ 1
ชั่วโมง ใช้รับประทานครั้งละ 4 ช้อนแกง หรือประมาณ 30 มิลลิเมตร วันละ 3 ครั้ง (ผงสีเสียด)
7. ช่วยแก้อาการท้องเสียเรื้อรัง ลำไส้อักเสบ (ก้อนสีเสียด)
8. แก่นมีฤทธิ์ฝาดสมานเนื่องจากมีสารแทนนิน ตำรายาไทยจะใช้กินเป็นยาแก้ท้องร่วง (แก่น, เปลือกต้น, ก้อน
สีเสียด) ส่วนเปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ท้องร่วงอย่างแรง (เปลือกต้น)
9. เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้บิด หรือใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ เป็นยาแก้บิด (เปลือกต้น) ส่วนสีเสียดมี
สรรพคุณเป็นยาแก้บิดมูกเลือด (ก้อนสีเสียด)
10. ใช้รักษาริดสีดวง (ก้อนสีเสียด)
11. ใช้เป็นยาห้ามเลือด ด้วยการใช้ผงสีเสียดนำมาละลายกับน้ำใช้ใส่แผลสด (ผงสีเสียด)
12. แก่นใช้เป็นยารักษาบาดแผล (แก่น)
13. เปลือกต้น มีรสฝาด เป็นยาสมานแผล และใช้เป็นยาชะล้างบาดแผล แก้แผลเน่าเปื่อยเรื้อรัง แผลหัวแตก ล้าง
แผลหัวนมแตก (เปลือกต้น) ก้อนสีเสียดใช้เป็นยาทาสมานบาดแผล หรือรักษาบาดแผล หรือนำมาต้มใช้ชะ
ล้างบาดแผล ล้างแผลที่ถูกไฟไหม้ ทำให้แผลหายเร็ว (ก้อนสีเสียด)
14. ใช้ภายนอกเป็นยารักษาโรคผิวหนัง (แก่น, ก้อนสีเสียด)
15. เมล็ดสีเสียดที่อยู่ในฝัก นำมาฝนเป็นยาทาแก้โรคหิด (เมล็ด)
16. เมล็ดนำมาฝนทารักษาแผลน้ำกัดเท้า (เมล็ด) หรือจะใช้ก้อนสีเสียดฝนกับน้ำให้ข้นใช้ทา หรือใช้ผงสีเสียดผสม
กับน้ำมันพืชทาบริเวณแผลน้ำกัดเท่าก็ได้เช่นกัน (ก้อนสีเสียด)
4
17. เปลือกต้นนำมาต้มใช้น้ำที่ต้มเป็นยาระงับเชื้อ หรือจะใช้ก้อนสีเสียดนำมาบดหรือต้มทาเป็นยาระงับเชื้อก็ได้
เช่นกัน (เปลือกต้น, ก้อนสีเสียด)
18. สีเสียดใช้ใส่ปูนที่รับประทานกับหมากและพลู จะช่วยป้องกันปูนกัดปากได้ (สีเสียด)
19. สีเสียดเหนือปรากฏอยู่ในตำรับ "ยาเหลืองปิดสมุทร" ซึ่งเป็นตำรับยารักษาอาการโรคในระบบทางเดินอาหาร
(มีส่วนประกอบของสีเสียดเหนือ สีเสียดเทศ รวมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ อีกในตำรับ) โดยมีสรรพคุณเป็นยา
บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน และท้องเสีย
ชนิดที่ไม่มีไข้ (ก้อนสีเสียด)
ประโยชน์ของต้นสีเสียดเหนือ
1. ชาวกะเหรี่ยงเชียงใหม่จะใช้แก่นไม้สีเสียด นำมาเคี้ยวกินกับหมาก
2. ใบใช้เป็นอาหารสัตว์ประเภท วัว ควาย ทั้งต้นใช้เลี้ยงครั่ง
3. เปลือกต้นและก้อนสีเสียดถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมย้อมผ้าและฟอกหนังสัตว์ เนื้อไม้หรือแก่นของสีเสียดจะ
ให้สีน้ำตาล ที่สามารถนำมาใช้ย้อมผ้า แห อวน และหนังได้ หรือจะใช้เปลือกต้นนำมาย้อมสีเส้นไหม โดยการ
ลอกเอาเฉพาะเปลือกต้นแล้วนำมาสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ต้มสกัดสีกับน้ำ ในอัตราส่วน 1:2 (เปลือกต้นสีเสียด 15
กิโลกรัม จะย้อมเส้นไหมได้ 1 กิโลกรัม) โดยให้ต้มสกัดสีนาน 1 ชั่วโมง แล้วนำน้ำสีที่ได้มาย้อมเส้นไหมด้วย
กรรมวิธีการย้อมร้อน จากนั้นนำเส้นไหมที่ย้อมได้มาแช่ในสารละลายสารช่วยติดสี สารส้ม และจุนสี ก็จะได้
เส้นไหมสีน้ำตาล (สีที่ได้จะมีความคงทนต่อการซักและคงทนต่อแสงในระดับต่ำ)
4. น้ำหมักสีเสียดใช้เลี้ยงปลากัด
5. เนื้อไม้สีเสียดมีลักษณะแข็งเหนียว สีน้ำตาลแดง ไสกบตกแต่งได้ยาก สามารถนำมาใช้ทำสิ่งปลูกสร้างที่ต้อง
รับน้ำหนักมาก ๆ ได้ เช่น เสา คาน ตง สะพาน กงล้อเกวียน หรือใช้ทำด้ามเครื่องมือทางการเกษตรต่าง ๆ
เช่น ด้ามมีด ด้ามพร้า ฯลฯ และยังนำมาใช้ทำถ่านทำฟืนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับหุงหาอาหารหรือให้ความอบอุ่น
ในช่วงฤดูได้ด้วย ส่วนเยื่อไม้ที่เหลือจากการสกัดเอายางออกยังสามารถนำมาใช้ทำแผ่นไม้อัดได้อีกด้วย
6. หลายแห่งได้มีการพัฒนาและนำต้นสีเสียดเหนือมาปลูกเป็นไม้ประดับตามบ้านหรือประดับตามสวน ในบ้าน
เรามีบ้างที่ปลูกไว้เพื่อผลิตก้อนสีเสียดเป็นการค้า แต่ในอินเดียและพม่าจะปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการค้าเป็น
หลัก
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสีเสียดเหนือ
• เปลือกต้นพบสารจำพวก Catechol, Gallic acid, Tannin, แก่นมีสาร Catechin, Dicatechin, 3' ,4' ,7' ,
-Tri-O-methyl catechin, 3' ,4' ,5 , 5' , 7-sPenta-O-methyl gallocatechin, ใบมีสาร -(+)-
Chatechin, Isoacacatechol, Tannins isoacacatechol acetate ส่วนทั้งต้นมีสาร Epicatechin
• องค์ประกอบทางเคมีของสารในกลุ่ม tannins เช่น acacatechin 2-10%, catecchin, catechu red,
catechutannic acid 20-35%, epicatechin, epicatechin-3-O-gallate, epigallocatechin-3-O-
gallate, phlobatannin, protocatechu tannins, pyrogallic tannins และสารในกลุ่ม flavonoids เช่น
quercetin , quercetagetin , fisetin flavanol dimers
• สีเสียดเหนือมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อเกิดอาการท้องร่วง (Escherichia coli) สารกลุ่มแทนนินมีฤทธิ์ต้าน
เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ฤทธิ์ต้านเชื้อบิด มีฤทธิ์ยับยั้งการบีบตัวของลำไส้ ลดความดัน
โลหิต ต้านออกซิเดชัน และต้านการก่อกลายพันธุ์
5
• สารสกัดจากเนื้อไม้ด้วยน้ำและด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus สาย
พันธุ์ ATCC 25923 และสายพันธุ์ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ methicillin (MRSA) ได้ดี
• สารสกัดด้วยเมทานอลออกฤทธิ์ยับยั้ง Salmonella typhi สายพันธุ์ดื้อยาได้ปานกลาง สารสกัดด้วยเอทา
นอลและน้ำมีฤทธิ์ยับยั้งและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าสารสกัดด้วย
แอลกอฮอล์หรืออะซีโตนจากลำต้นที่ความเข้มข้น £ 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ B. subtilis,
E. coli และ Salmonella typhimurium ส่วนสารสกัดจากเปลือกต้นด้วยแอลกอฮอล์ความเข้มข้น 0.2
กรัมต่อมิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ B. subtilis และ S. typhimurium ปานกลาง
• สารสกัดจากยางสีเสียดด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ที่ความเข้มข้น
10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดยางสีเสียดด้วยคลอโรฟอร์มเข้มข้น 30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถ
ยับยั้งเชื้อ S. aureus ได้ ในขณะที่สารสกัดด้วยน้ำเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งเชื้อ B.
subtilis
• ส่วนผสมของสารสกัดที่มี baicalin จาก Scutellaria baicalensis และ (+)-catechin และ epicatechin
จากสีเสียด ที่ใช้เป็นยาบำรุงและรักษาโรคข้อ ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเลือดของคนที่มีสุขภาพดีที่
ได้รับสารสกัดนี้เมื่อเทียบกับยาที่ใช้รักษาโรคเดียวกัน
• จากการทดสอบความเป็นพิษ โดยทำการทดลองในสัตว์ทดลองเทียบกับยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
พบว่าไม่ทำให้เกิดความผิดปกติ ไม่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะ ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง และไม่
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับยีน แต่การฉีดสารสกัดจากลำต้นสีเสียดด้วยแอลกอฮอล์กับน้ำ ใน
อัตราส่วน 1:1 เข้าทางช่องท้องหนูเม้าส์ พบว่ามีความเป็นพิษ
แบคทีเรีย Streptococcus mutans
Streptococcus mutans เป็นแบคทีเรียในสภาวะกึ่งออกซิเจน แกรมบวก รูปกลม พบโดยทั่วไปในช่องปาก
และเป็นสาเหตุของฟันผุ พบครั้งแรกโดย J Kilian Clarke ในปี พ.ศ. 2467
สปีชีส์ที่ใกล้เคียงกับ Streptococcus mutans คือ Streptococcus sobrinus ซึ่งเป็นแบคที่เรียที่ทำให้เกิด
โรคฟันผุทั้งคู่ บางครั้งจึงเรียกรวมกันว่า mutans streptococci
บทบาทในการทำให้เกิดโรคฟันผุ
ในช่องปากของมนุษย์ มีเชื้อประจำถิ่นอยู่ในปาก เมื่อเชื้อเหล่านี้โตขึ้น และเกิดการเมตาโบลิซึม จะทำให้เกิด
แผ่นคราบจุลินทรีย์ขึ้นบนส่วนต่างๆ ของช่องปาก หากสภาวะในช่องปากเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น สภาวะกรด
แบคทีเรียที่สามารถทนกรดได้ เช่นStreptococcus mutans จะเจริญมากขึ้น และจะทำให้แบคทีเรียตัว
อื่นๆ ตายลง S.mutans เป็นแบคทีเรียที่มีความสามารถในการทนกรดและผลิตกรดได้ โดยเมื่อมนุษย์รับประทาน
น้ำตาลเข้าไป โดยเฉพาะ น้ำตาลทราย หรือน้ำตาลซูโครส เชื้อจะนำน้ำตาลที่ได้ไปหมัก กลายเป็น กรดแลคติก และ
ทำให้สภาวะในช่องปากเป็นกรด กรดที่เกิดขึ้นจะทำให้แร่ธาตุที่อยู่ในฟันเกิดการละลายตัว และนำไปสู่การเกิด
โรคฟันผุในที่สุด
6
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่สนใจ
2. นำเสนอหัวข้อที่สนใจกับครูที่ปรึกษา
3. ศึกษาข้อมูลและรวบรวมข้อมูล
4. จัดทำรายงานโครงงาน
5. นำเสนอแก่ครูที่ปรึกษา
6. ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
1. ได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรค
ฟันผุ
2. โครงงานเรื่องนี้สามารถเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไปแก่ผู้ที่สนใจได้
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• วิทยาศาสตร์
• การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1. (ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์). “สีเสียดเหนือ (Sisiad Nuea)”.
หน้า 305.
หนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล). “สีเสียดเหนือ Catechu Tree /
Cutch Tree”. หน้า 32.
หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5. (ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม). “สีเสียดเหนือ”.
หน้า 784- 785.
สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด, สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. “สีเสียดเหนือ”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : www.rspg.or.th/plants_data/herbs/. [12 กันยายน 2562].
ไทยเกษตรศาสตร์. “สีเสียดเหนือมีประโยชน์อย่างไร”.
อ้างอิงใน : ศาสตราจารย์พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : www.thaikasetsart.com. [12 กันยายน 2562].
พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. “สีเสียดแก่น”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : www.dnp.go.th. [12 กันยายน 2562].
ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “สีเสียดไทย”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : www.thaicrudedrug.com. [12 กันยายน 2562].
โครงการเผยแพร่ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นที่สูง, สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง
(องค์กรมหาชน). “สีเสียด”. อ้างอิงใน : หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน์).,
หนังสือสมุนไพรไทยตอนที่ 7 (ก่องกานดา ชยามฤต, ลีนา ผู้พัฒนพงศ์). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : eherb.hrdi.or.th. [12 กันยายน 2562].
สมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน, สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล. “สีเสียด”. เข้าถึงได้จาก : www.medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/.
[12 กันยายน 2562].
ดร.นิธิยา รัตนานราภรณ์ ฐานะโชติรัตน์,เกศินี นันทมานพ. การเสริมฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัด
สมุนไพรต่อเชื้อ Stertococcus mutan และ Potphylomonas gingvalis. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-research-special-
abstract.php?num=5&year=2543. [12 กันยายน 2562].
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. Streptococcus mutans. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/Streptococcus_mutans. [12 กันยายน 2562].

More Related Content

What's hot

โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
noeiinoii
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ครูสม ฟาร์มมะนาว
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn report
KruKaiNui
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
Ploy Pony
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
cakemark
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Thitaree Permthongchuchai
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์
somchat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
Aphinya Tantikhom
 

What's hot (20)

รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn report
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 

Similar to 2562 final-project 37-609_pornchita

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Lift Ohm'
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Lift Ohm'
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
chris stephen
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
Sendai' Toktak
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ดวงหทัย ใจมุข
 

Similar to 2562 final-project 37-609_pornchita (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2559 project com
2559 project com2559 project com
2559 project com
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Save wolrd , save energy com58 - project
Save wolrd , save energy   com58 - projectSave wolrd , save energy   com58 - project
Save wolrd , save energy com58 - project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

2562 final-project 37-609_pornchita

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ความสามารถของสีเสียดเหนือ ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุโรคฟันผุ ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อ น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง เลขที่ 37 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ความสามารถของสีเสียดเหนือในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Quantification of Acacia catechu (L.f.) Willd. in antimicrobial activity of Streptococcus mutans, a cause of dental caries. ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทำโครงงาน น.ส.พรชิตา เตจ๊ะนัง ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) จากข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พบว่าสถาณการณ์ฟันผุในเด็กไทยเริ่มมีตั้งแต่อายุไม่ถึง 1 ปี โรค ฟันผุสามารถพบได้เกือบทุกวัยตั้งแต่วัยเด็กถึงวัยผู้สูงอายุ ผลกระทบของโรคฟันผุ สามารถส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย และสุขภาพช่องปากในอนาคตได้ จากการได้ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของสีเสียดเหนือ พบว่าสามารถ ช่วยรักษาโรคเหงือกและฟันได้ ผู้จัดทำเห็นว่าปัญหาโรคฟันผุเป็นสิ่งที่เราจำเป็นต้องรักษาและป้องกันไม่ให้เกิด สีเสียดเหนือก็เป็นสมุนไพรในท้องถิ่นที่หาได้ง่าย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้าน เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ และเพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้ที่สนใจต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรคฟันผุ 2. เพื่อเป็นสื่อความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน) ศึกษาเกี่ยวกับสรรพคุณ ประโยชน์และข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสีเสียดเหนือ ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของ แบคทีเรียStreptococcus mutans และบทบาทในการทำให้เกิดโรคฟันผุ ขอบเขตในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) สรรพคุณของต้นสีเสียดเหนือ 1. เปลือกต้นใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ปรุงเป็นยาแก้ธาตุพิการ (เปลือกต้น) ใช้เป็นยาบำรุงธาตุและแก้ อติสาร (ก้อนสีเสียด) 2. ก้อนสีเสียดและเปลือกต้นสีเสียด มีสรรพคุณช่วยปิดธาตุ คุมธาตุ แก้อาการลงแดง (เปลือกต้น, ก้อนสีเสียด) 3. ใช้เป็นยาแก้ไข้จับสั่น แก้อาการไอ (ก้อนสีเสียด) 4. ช่วยแก้ปากเป็นแผล ช่วยห้ามเลือดที่ออกจากจมูก รวมถึงอาการเจ็บที่มีเลือดออก (ก้อนสีเสียด) 5. ใช้รักษาเหงือก ลิ้น และฟัน และช่วยรักษาแผลในลำคอ (ก้อนสีเสียด) 6. ใช้เป็นยาแก้ท้องเดิน ด้วยการใช้ก้อนสีเสียดนำมาบดให้เป็นผงประมาณ 1/3-1/2 ช้อนชา (ประมาณ 0.3-1.0 กรัม) แล้วต้มเอาน้ำดื่มให้หมดใน 1 ครั้ง โดยให้ดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ส่วนเปลือกต้นก็มีสรรพคุณแก้ ท้องเดินได้เช่นเดียวกัน (ก้อนสีเสียด, เปลือกต้น) หรือจะใช้ผงสีเสียดผสมกับผงอบเชย อย่างละเท่ากัน ถ้า ท้องเดินมากให้ใช้ 1 กรัม ถ้าท้องเดินให้ใช้เพียง 1/2 กรัม แล้วนำมาต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว เคี่ยวประมาณ 1 ชั่วโมง ใช้รับประทานครั้งละ 4 ช้อนแกง หรือประมาณ 30 มิลลิเมตร วันละ 3 ครั้ง (ผงสีเสียด) 7. ช่วยแก้อาการท้องเสียเรื้อรัง ลำไส้อักเสบ (ก้อนสีเสียด) 8. แก่นมีฤทธิ์ฝาดสมานเนื่องจากมีสารแทนนิน ตำรายาไทยจะใช้กินเป็นยาแก้ท้องร่วง (แก่น, เปลือกต้น, ก้อน สีเสียด) ส่วนเปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ท้องร่วงอย่างแรง (เปลือกต้น) 9. เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้บิด หรือใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ เป็นยาแก้บิด (เปลือกต้น) ส่วนสีเสียดมี สรรพคุณเป็นยาแก้บิดมูกเลือด (ก้อนสีเสียด) 10. ใช้รักษาริดสีดวง (ก้อนสีเสียด) 11. ใช้เป็นยาห้ามเลือด ด้วยการใช้ผงสีเสียดนำมาละลายกับน้ำใช้ใส่แผลสด (ผงสีเสียด) 12. แก่นใช้เป็นยารักษาบาดแผล (แก่น) 13. เปลือกต้น มีรสฝาด เป็นยาสมานแผล และใช้เป็นยาชะล้างบาดแผล แก้แผลเน่าเปื่อยเรื้อรัง แผลหัวแตก ล้าง แผลหัวนมแตก (เปลือกต้น) ก้อนสีเสียดใช้เป็นยาทาสมานบาดแผล หรือรักษาบาดแผล หรือนำมาต้มใช้ชะ ล้างบาดแผล ล้างแผลที่ถูกไฟไหม้ ทำให้แผลหายเร็ว (ก้อนสีเสียด) 14. ใช้ภายนอกเป็นยารักษาโรคผิวหนัง (แก่น, ก้อนสีเสียด) 15. เมล็ดสีเสียดที่อยู่ในฝัก นำมาฝนเป็นยาทาแก้โรคหิด (เมล็ด) 16. เมล็ดนำมาฝนทารักษาแผลน้ำกัดเท้า (เมล็ด) หรือจะใช้ก้อนสีเสียดฝนกับน้ำให้ข้นใช้ทา หรือใช้ผงสีเสียดผสม กับน้ำมันพืชทาบริเวณแผลน้ำกัดเท่าก็ได้เช่นกัน (ก้อนสีเสียด)
  • 4. 4 17. เปลือกต้นนำมาต้มใช้น้ำที่ต้มเป็นยาระงับเชื้อ หรือจะใช้ก้อนสีเสียดนำมาบดหรือต้มทาเป็นยาระงับเชื้อก็ได้ เช่นกัน (เปลือกต้น, ก้อนสีเสียด) 18. สีเสียดใช้ใส่ปูนที่รับประทานกับหมากและพลู จะช่วยป้องกันปูนกัดปากได้ (สีเสียด) 19. สีเสียดเหนือปรากฏอยู่ในตำรับ "ยาเหลืองปิดสมุทร" ซึ่งเป็นตำรับยารักษาอาการโรคในระบบทางเดินอาหาร (มีส่วนประกอบของสีเสียดเหนือ สีเสียดเทศ รวมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ อีกในตำรับ) โดยมีสรรพคุณเป็นยา บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน และท้องเสีย ชนิดที่ไม่มีไข้ (ก้อนสีเสียด) ประโยชน์ของต้นสีเสียดเหนือ 1. ชาวกะเหรี่ยงเชียงใหม่จะใช้แก่นไม้สีเสียด นำมาเคี้ยวกินกับหมาก 2. ใบใช้เป็นอาหารสัตว์ประเภท วัว ควาย ทั้งต้นใช้เลี้ยงครั่ง 3. เปลือกต้นและก้อนสีเสียดถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมย้อมผ้าและฟอกหนังสัตว์ เนื้อไม้หรือแก่นของสีเสียดจะ ให้สีน้ำตาล ที่สามารถนำมาใช้ย้อมผ้า แห อวน และหนังได้ หรือจะใช้เปลือกต้นนำมาย้อมสีเส้นไหม โดยการ ลอกเอาเฉพาะเปลือกต้นแล้วนำมาสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ต้มสกัดสีกับน้ำ ในอัตราส่วน 1:2 (เปลือกต้นสีเสียด 15 กิโลกรัม จะย้อมเส้นไหมได้ 1 กิโลกรัม) โดยให้ต้มสกัดสีนาน 1 ชั่วโมง แล้วนำน้ำสีที่ได้มาย้อมเส้นไหมด้วย กรรมวิธีการย้อมร้อน จากนั้นนำเส้นไหมที่ย้อมได้มาแช่ในสารละลายสารช่วยติดสี สารส้ม และจุนสี ก็จะได้ เส้นไหมสีน้ำตาล (สีที่ได้จะมีความคงทนต่อการซักและคงทนต่อแสงในระดับต่ำ) 4. น้ำหมักสีเสียดใช้เลี้ยงปลากัด 5. เนื้อไม้สีเสียดมีลักษณะแข็งเหนียว สีน้ำตาลแดง ไสกบตกแต่งได้ยาก สามารถนำมาใช้ทำสิ่งปลูกสร้างที่ต้อง รับน้ำหนักมาก ๆ ได้ เช่น เสา คาน ตง สะพาน กงล้อเกวียน หรือใช้ทำด้ามเครื่องมือทางการเกษตรต่าง ๆ เช่น ด้ามมีด ด้ามพร้า ฯลฯ และยังนำมาใช้ทำถ่านทำฟืนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับหุงหาอาหารหรือให้ความอบอุ่น ในช่วงฤดูได้ด้วย ส่วนเยื่อไม้ที่เหลือจากการสกัดเอายางออกยังสามารถนำมาใช้ทำแผ่นไม้อัดได้อีกด้วย 6. หลายแห่งได้มีการพัฒนาและนำต้นสีเสียดเหนือมาปลูกเป็นไม้ประดับตามบ้านหรือประดับตามสวน ในบ้าน เรามีบ้างที่ปลูกไว้เพื่อผลิตก้อนสีเสียดเป็นการค้า แต่ในอินเดียและพม่าจะปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการค้าเป็น หลัก ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสีเสียดเหนือ • เปลือกต้นพบสารจำพวก Catechol, Gallic acid, Tannin, แก่นมีสาร Catechin, Dicatechin, 3' ,4' ,7' , -Tri-O-methyl catechin, 3' ,4' ,5 , 5' , 7-sPenta-O-methyl gallocatechin, ใบมีสาร -(+)- Chatechin, Isoacacatechol, Tannins isoacacatechol acetate ส่วนทั้งต้นมีสาร Epicatechin • องค์ประกอบทางเคมีของสารในกลุ่ม tannins เช่น acacatechin 2-10%, catecchin, catechu red, catechutannic acid 20-35%, epicatechin, epicatechin-3-O-gallate, epigallocatechin-3-O- gallate, phlobatannin, protocatechu tannins, pyrogallic tannins และสารในกลุ่ม flavonoids เช่น quercetin , quercetagetin , fisetin flavanol dimers • สีเสียดเหนือมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อเกิดอาการท้องร่วง (Escherichia coli) สารกลุ่มแทนนินมีฤทธิ์ต้าน เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ฤทธิ์ต้านเชื้อบิด มีฤทธิ์ยับยั้งการบีบตัวของลำไส้ ลดความดัน โลหิต ต้านออกซิเดชัน และต้านการก่อกลายพันธุ์
  • 5. 5 • สารสกัดจากเนื้อไม้ด้วยน้ำและด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus สาย พันธุ์ ATCC 25923 และสายพันธุ์ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ methicillin (MRSA) ได้ดี • สารสกัดด้วยเมทานอลออกฤทธิ์ยับยั้ง Salmonella typhi สายพันธุ์ดื้อยาได้ปานกลาง สารสกัดด้วยเอทา นอลและน้ำมีฤทธิ์ยับยั้งและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าสารสกัดด้วย แอลกอฮอล์หรืออะซีโตนจากลำต้นที่ความเข้มข้น £ 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ B. subtilis, E. coli และ Salmonella typhimurium ส่วนสารสกัดจากเปลือกต้นด้วยแอลกอฮอล์ความเข้มข้น 0.2 กรัมต่อมิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ B. subtilis และ S. typhimurium ปานกลาง • สารสกัดจากยางสีเสียดด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ที่ความเข้มข้น 10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดยางสีเสียดด้วยคลอโรฟอร์มเข้มข้น 30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถ ยับยั้งเชื้อ S. aureus ได้ ในขณะที่สารสกัดด้วยน้ำเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งเชื้อ B. subtilis • ส่วนผสมของสารสกัดที่มี baicalin จาก Scutellaria baicalensis และ (+)-catechin และ epicatechin จากสีเสียด ที่ใช้เป็นยาบำรุงและรักษาโรคข้อ ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเลือดของคนที่มีสุขภาพดีที่ ได้รับสารสกัดนี้เมื่อเทียบกับยาที่ใช้รักษาโรคเดียวกัน • จากการทดสอบความเป็นพิษ โดยทำการทดลองในสัตว์ทดลองเทียบกับยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ พบว่าไม่ทำให้เกิดความผิดปกติ ไม่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะ ไม่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง และไม่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับยีน แต่การฉีดสารสกัดจากลำต้นสีเสียดด้วยแอลกอฮอล์กับน้ำ ใน อัตราส่วน 1:1 เข้าทางช่องท้องหนูเม้าส์ พบว่ามีความเป็นพิษ แบคทีเรีย Streptococcus mutans Streptococcus mutans เป็นแบคทีเรียในสภาวะกึ่งออกซิเจน แกรมบวก รูปกลม พบโดยทั่วไปในช่องปาก และเป็นสาเหตุของฟันผุ พบครั้งแรกโดย J Kilian Clarke ในปี พ.ศ. 2467 สปีชีส์ที่ใกล้เคียงกับ Streptococcus mutans คือ Streptococcus sobrinus ซึ่งเป็นแบคที่เรียที่ทำให้เกิด โรคฟันผุทั้งคู่ บางครั้งจึงเรียกรวมกันว่า mutans streptococci บทบาทในการทำให้เกิดโรคฟันผุ ในช่องปากของมนุษย์ มีเชื้อประจำถิ่นอยู่ในปาก เมื่อเชื้อเหล่านี้โตขึ้น และเกิดการเมตาโบลิซึม จะทำให้เกิด แผ่นคราบจุลินทรีย์ขึ้นบนส่วนต่างๆ ของช่องปาก หากสภาวะในช่องปากเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น สภาวะกรด แบคทีเรียที่สามารถทนกรดได้ เช่นStreptococcus mutans จะเจริญมากขึ้น และจะทำให้แบคทีเรียตัว อื่นๆ ตายลง S.mutans เป็นแบคทีเรียที่มีความสามารถในการทนกรดและผลิตกรดได้ โดยเมื่อมนุษย์รับประทาน น้ำตาลเข้าไป โดยเฉพาะ น้ำตาลทราย หรือน้ำตาลซูโครส เชื้อจะนำน้ำตาลที่ได้ไปหมัก กลายเป็น กรดแลคติก และ ทำให้สภาวะในช่องปากเป็นกรด กรดที่เกิดขึ้นจะทำให้แร่ธาตุที่อยู่ในฟันเกิดการละลายตัว และนำไปสู่การเกิด โรคฟันผุในที่สุด
  • 6. 6 วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่สนใจ 2. นำเสนอหัวข้อที่สนใจกับครูที่ปรึกษา 3. ศึกษาข้อมูลและรวบรวมข้อมูล 4. จัดทำรายงานโครงงาน 5. นำเสนอแก่ครูที่ปรึกษา 6. ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทำโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) 1. ได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus mutans สาเหตุของโรค ฟันผุ 2. โครงงานเรื่องนี้สามารถเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไปแก่ผู้ที่สนใจได้ สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
  • 7. 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง • วิทยาศาสตร์ • การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1. (ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์). “สีเสียดเหนือ (Sisiad Nuea)”. หน้า 305. หนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล). “สีเสียดเหนือ Catechu Tree / Cutch Tree”. หน้า 32. หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5. (ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม). “สีเสียดเหนือ”. หน้า 784- 785. สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด, สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. “สีเสียดเหนือ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.rspg.or.th/plants_data/herbs/. [12 กันยายน 2562]. ไทยเกษตรศาสตร์. “สีเสียดเหนือมีประโยชน์อย่างไร”. อ้างอิงใน : ศาสตราจารย์พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.thaikasetsart.com. [12 กันยายน 2562]. พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. “สีเสียดแก่น”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.dnp.go.th. [12 กันยายน 2562]. ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “สีเสียดไทย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.thaicrudedrug.com. [12 กันยายน 2562]. โครงการเผยแพร่ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นที่สูง, สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง (องค์กรมหาชน). “สีเสียด”. อ้างอิงใน : หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน์)., หนังสือสมุนไพรไทยตอนที่ 7 (ก่องกานดา ชยามฤต, ลีนา ผู้พัฒนพงศ์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : eherb.hrdi.or.th. [12 กันยายน 2562]. สมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน, สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. “สีเสียด”. เข้าถึงได้จาก : www.medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/. [12 กันยายน 2562]. ดร.นิธิยา รัตนานราภรณ์ ฐานะโชติรัตน์,เกศินี นันทมานพ. การเสริมฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัด สมุนไพรต่อเชื้อ Stertococcus mutan และ Potphylomonas gingvalis. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-research-special- abstract.php?num=5&year=2543. [12 กันยายน 2562]. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. Streptococcus mutans. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/Streptococcus_mutans. [12 กันยายน 2562].