SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
Download to read offline
สื่อการสอน การแกะสลัก
Thai carving
รหัสประจาตัว 21416 นายณัฐพล ภู่แก้ว
รหัสประจาตัว 21415 นายอนันต์ โพธิ์นาค
โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
คณะอุตสาหกรรมบริการ สาขาการโรงแรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
สื่อการสอน การแกะสลัก
Thai carving
รหัสประจาตัว 21416 นายณัฐพล ภู่แก้ว
รหัสประจาตัว 21415 นายอนันต์ โพธิ์นาค
โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
คณะอุตสาหกรรมบริการ สาขาการโรงแรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ใบรับรองโครงการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ฯ
เรื่อง สื่อการสอนการแกะสลัก Thai carving
โดย นายณัฐพล ภู่แก้ว รหัสประจาตัว 21416
นายอนันต์ โพธิ์นาค รหัสประจาตัว 21415
ได้รับอนุมัติให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
คณะอุตสาหกรรมบริการการ สาขาการโรงแรม
__________________________ __________________________
(อาจารย์จารัส รู้สมัย) (อาจารย์ธนศักดิ์ ตั้งทองจิตร)
อาจารย์ประจารายวิชา หัวหน้าคณะอุตสาหกรรมบริการ
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย
___________________________ ___________________________
( อาจารย์สุชาติ เกตุกุล) (อาจารย์ปัญจพร เอื้อจงประสิทธิ์)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการ
________________________________
(ผู้ช่วยศาสตรจารย์ดร.ผจญ ขันธะชวนะ)
ประธานกรรมการบริหารวิทยาลัย
วันที่………เดือน…..………….พ.ศ………
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทาโครงสื่อการสอนแกะสลักนี้สาเร็จได้ด้วยดี ทั้งนี้ได้รับความช่วยเหลือและ
คาปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ การปฏิบัติการ ตลอดจนช่วยเหลือสนับสนุนทางด้านต่างๆจากอาจารย์
จารัส รู้สมัยอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง
ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ธนศักดิ์ ตั้งทองจิต, อาจารย์กุลนันท์ ที่ให้คาปรึกษาและตรวจทาน
เรื่องแบบสอบถามสาเร็จได้ด้วยดี
ขอขอบพระคุณครอบครัว รวมทั้งเพื่อนๆ ทุกคนที่ให้การสนับสนุน และให้กาลังใจ
ในการทาโครงการค้นคว้าวิจัยครั้งนี้
ความดีของโครงการสือการสอนแกะสลักฉบับนี้ขอมอบแด่ทุกท่านที่เกี่ยวข้อง
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วม ช่วยเหลือ และสนับสนุนให้
โครงการสื่การสอนการแกะสลักนี้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้น และบรรลุผลสาเร็จได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
19 กันยายน 2556
ชื่อ : นาย อนันต์ โพธิ์นาค นาย ณัฐพล ภู่แก้ว
ชื่อเรื่อง : สื่อการสอนแกะสลัก
สาขาวิชา : สาขาการโรงแรม
คณะวิชา : คณะอุตสาหกรรมบริการ
ที่ปรึกษา : อาจารย์กุลนันท์ หนันดี
ปีการศึกษา : 2556
บูรณาการจากรายวิชา : การประกอบอาหารโรงแรม, โภชนาการและอนามัยอาหาร,
ครัวและอุปกรณ์งานครัว, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, คณิตศาสตร์
บทคัดย่อ
โครงการสื่อการสอนแกะสลัก มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการแกะสลัก โดยการนาเอาแค
รอทมาแกะสลักลายต่างสละสลวยดูน่าสนใจ สมาชิกได้ทดลองแกะลายต่าง ๆ และเลือกผลการทดลอง
ที่มีความเห็นว่าเหมาะสม นามาทาการสารวจและประเมินผล โดยมีผลการดาเนินการเรื่องของอยู่ใน
ระดับคะแนภาพและเสียงนมากที่สุด แต่ยังต้องทาการปรับปรุง พัฒนาเรื่องประโยชน์ของ การ
ประยุกต์ใช้ให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น โครงการสื่อการสอนแกะสลักใช้ระยะเวลาดาเนินการ
ทั้งสิ้น 4 เดือน เริ่มจากมิถุนายน จนถึงเดือนกันยายน
คณะผู้จัดทา
______________________________ _____________________________
( อาจารย์สุชาติ เกตุกุล) (อาจารย์ปัญจพร เอื้อจงประสิทธิ์)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการ
_________________________________
(ผู้ช่วยศาสตรจารย์ดร.ผจญ ขันธะชวนะ)
ประธานกรรมการบริหารวิทยาลัย
วันที่………เดือน…..………….พ.ศ………
คานา
โครงการสื่อการสอนแกะสลัก สาหรับนักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 3 จัดทาขึ้นตามกรอบ สาระ และ
มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้โดยมีเนื้อหา และกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
การสื่อการสอนแกะสลัก นี้ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ของนักศึกษาที่เน้นนักศึกษา
เป็นสาคัญ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ
ผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้ให้การสนับสนุน ให้คาแนะนา ชี้แนะในการจัดทาโครงการ
ในครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงายนี้จะเป็นประโยชน์สาหรับนักศึกษา ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจ
สามารถนาไปพัฒนาการเรียนการสอนหรือศึกษาข้อมูลต่อไป
คณะผู้จัดทา
19 กันยายน 2556
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ 4
บทคัดย่อ 5
คานา 6
สารบัญ 7
สารบัญ 8
บทที่ 1 บทนา
1.1ความเป็นมาของโครงการ 9
1.2วัตถุประสงค์ของโครงการ 9
1.3ขอบเขตของโครงการ 9
1.4ประโยชน์ที่ได้รับของโครงการ 9
1.5วิธีการดาเนินการ 10
1.6นิยามศัพท์ 10
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1ประวัติความเป็นมาของการแกะสลัก 11
2.2 ความสาคัยของการแกะสลัก 13
2.3วัสดุอุปกรณ์การแกะสลัก 14
2.4วิธีการจับมีดแกะสลัก 16
2.5 อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการแกะสลัก ผักผลไม้ 23
2.6หลักการการแกะสลักผักและผลไม้ 23
2.7 วิธีการเก็บรักามีด 25
2.8การปอก 26
2.9การจัก 28
2.10 การกรีด 30
2.11 การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ 33
2.12 การเลือกซื้อผักและผลไม้ที่ใชในงานแกะสลัก 41
2.13หลักการดูแลรักษาผักและผลไม้ก่อนแลหลังการแกะสลัก 43
2.14ประโยชน์ของการแกะสลักผักและผลไม้ 44
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
3.1วิธีการดาเนินงาน 45
3.2 วัสดุ / อุปกรณ์ 45
3.3ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายเกล็ดปลา 45
3.4ขันตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายกลีบแหม 47
3.4ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายหยดน้า 49
3.5 ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายหยดน้าสลักลิม 51
3.6 ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกบัวลายหยดน้า 53
3.7ขั้นตอนการทาสือการสอนแกะสลัก 56
3.8งบประมาณการดาเนินงาน 60
บทที่ 4การสารวจ และประเมินผล
4.1 ตารางสรุปการประเมินผล 62
4.2ตารางสรุปผลคะแนน 63
4.3ตารางสรุปผลความคิดเห็นที่มีต่อทาสือการสอนแกะสลัก 64
4.5สรุปการประเมินผล 66
บทที่ 5 สรุป วิเคราะห์ผลการดาเนินการ
5.1วิเคราะห์ผลการดาเนินการ 67
5.2ปัญหาและอุปสรรค 68
5.3แนวทางการแก้ไข 68
5.4ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับจากการทาโครงการ 69
5.5 แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 69
บรรณานุกรม 70
ภาคผนวก 71
ภาพดาเนินการทดลอง 72
ตัวอย่างแบบประเมิน 73
ดัชนี 74
ดัชนีภาพ ,ตาราง 75
ประวัติผู้จัดทา 76
บทนา
สื่อการเรียนการสอนการแกะสลัก
ระหว่างการเรียนในชั่วโมงนั่นได้ฟังจากอาจารผู้สอนสาถิตแล้วทาให้ลืมจึงได้คิดทาสื่อการเรียนการ
สอนการแกะสลักวีดีโอขึ้นมาเพื่อฝึกฝีมือตัวเองให้ดีขึ้นกว่าเก่าและในเว็บไซหรือใน วีดีโอ บางที่เร็ว
เกินไปและเสียงอาจจะไม่ชัดนักขันตอนวิธีการทาไม่ระเอียดพออาจทาให้อยากต่อการศึกกษา วิทยาลัย
เทคโนโลยีสยามธุรกิจในวีดีโอนี้เป็นลื่การสอนการแกะสลักแบบพื้นฐานง่ายๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถ
เปิดดูและปฎิบัติตามไปพร้อมกับวีดีโอเพื่อให้ผู้ศึกษาหรือผู้ที่สนใจรับรู้ประโยชน์มากยิ่งขึ้นโดยจะ
นาเสนอผลงานในแบบสื่อการเรียนการสอนเพื่อที่จะสามารถนาไป บูรณา การได้ในหลายๆแขนงวิชา
ต่างๆ
วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อให้นักศึกษานาความรู้ที่ได้เรียนในสาขาวิชาการโรงแรมมาบูรณาการให้เกิดองค์ความรู้ใหม่
3.2 เพื่อให้เป็นสื่อในการเรียนและความรู้เพิ่มเติมในการศึกษา
3.3เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเป็นข้อมูลเสริม
3.4 เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันในการประกอบอาหารได้อย่างเหมาะสม
3.5เพื่อใช้เป็นแนวทางที่จะศึกษาย้อนหลังจากการเรียน
ขอบเขตการวิจัย
ศึกษาขอมูลการแกะสลัก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ฝึกการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอน มีการวางแผนก่อนการลงมือปฏิบัติงานทุกครั้ง
2. รู้จักการแบ่งงาน สามารถลงมือปฏิบัติจริงได้และร่วมมือกันในการทางานได้เป็นอย่างดี
3. ได้นาเสนอข้อมูลทางสื่อการสอนแกะสลักได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา
4. มีส่วนช่วยให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความเข่าใจต่อการดูสื่อการสอนแกะสลัก ที่เกิดประโยชน์ต่อร
การศึกษา
5. สามารถเผยแพร่สื่อการสอนแกะสลัก แก่บุคคลทั่วไป และปฏิบัติงานได้จริงและเกิด
ประโยชน์ต่อส่วนรวม
วิธีการดาเนินการ
5.คานิยาม
5.1ประโยชน์ คือ สามารถเรียนรู้ได้เกี่ยวกับประโยชน์ของผักต่างๆมากขึ้น
5.2แกะสลัก คือ การทาผักและผลไม้ให้เป็นลวดลาย
กิจกรรม
มิถุนายน 2555 กรกฎาคม 2555 สิงหาคม 2555 กันยายน 2555
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1.การวางแผน
โครง
2.กาหนด
โครงสร้าง
3เขียนโครงสร้าง
4.ขออนุมัติ
5.ปฏิบัติงานตาม
โครงการ
6.ประเมินการ
ปฏิบัติงาน
7.นาเสนอผลงาน
8.วิเคราะห์และ
สรุปผลการ
ประเมิน
(6-17)
(18-2)
(2-16)
(17-30)
(1-20)
(21-27)
(27-3)
(4-7)
10
00
00
00
บทที่ 2
เอกสารงานวิจัยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การแกะสลักก็เป็นงานศิลปะอย่างหนึ่ง
ที่ถือเป็นมรดกมีค่าที่สืบทอดกันมาช้านาน เป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความถนัด สมาธิ ความสามารถ
เฉพาะตัว และความละเอียดอ่อนมาก การแกะสลักผักและผลไม้เป็นการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็น
เอกลักษณ์ประจาของชาติไทยเลยทีเดียว ซึ่งไม่มีชาติใดสามารถเทียบเทียมได้แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงที่สุด
ในปัจจุบันนี้คงจะเป็นเรื่องของการอนุรักษ์
ศิลปะแขนงนี้ที่มีแนวโน้มจะสูญหายไปและลดน้อยลงไปเรื่อยๆ
การแกะสลักผักและผลไม้เดิมเป็นวิชาที่เรียนขั้นสูงของ กุลสตรีในรั้วในวัง ที่ต้องมีการฝึกฝนและเรียนรู้
จนเกิดความชานาญ บรรพบุรุษของไทยเราได้มีการแกะสลักกัน มานานแล้ว แต่จะเริ่มกันมาตั้งแต่สมัย
ใดนั้น ไม่มีใครรู้แน่ชัด เนื่องจากไม่มีหลักฐานแน่ชัด จนถึงในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ในสมัยของ
สมเด็จพระร่วงเจ้า ได้มีนางสนมคนหนึ่งชื่อ นางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้แต่งหนังสือเล่มหนึ่ง
ชื่อว่า ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ขึ้น และในหนังสือเล่มนี้ ได้พูดถึงพิธีต่าง ๆ ไว้และพิธีหนึ่ง เรียกว่า พระ
ราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง เป็นพิธีโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยที่งดงาม
ประหลาดกว่าโคมของพระสนมคนอื่นทั้งปวง และได้เลือกดอกไม้สีต่าง ๆ ประดับให้เป็นลวดลายแล้ว
จึงนาเอาผลไม้มาแกะสลักเป็นนกและหงส์ให้เกาะเกสรดอกไม้อยู่ตามกลีบดอก เป็นระเบียบสวยงาม
ไปด้วยสีสันสดสวย ชวนน่ามองยิ่งนัก รวมทั้งเสียบธูปเทียน จึงได้มีหลักฐานการแกะสลักมาตั้งแต่สมัย
นั้น
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดการประพันธ์ยิ่งนัก
พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์กาพย์แห่ชมเครื่องคาวหวาน และแห่ชมผลไม้ได้พรรณนา ชมฝีมือการ
ทาอาหาร การปอกคว้านผลไม้และประดิดประดอยขนมสวยงาม และอร่อยทั้งหลาย ว่าเป็นฝีมืองามเลิศ
ของสตรีชาววังสมัยนั้น และทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง สังข์ทอง พระองค์ทรงบรรยายตอนนาง
จันทร์เทวี แกะสลักชิ้นฟักเป็นเรื่องราวของนางกับพระสังข์ นอกจากนั้นยังมีปรากฏในวรรณกรรมไทย
แทบ ทุกเรื่อง เมื่อเอ่ยถึงตัวนางซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องว่า มีคุณสมบัติของกุลสตรี เพรียกพร้อมด้วยฝีมือ
การปรุงแต่งประกอบอาหารประดิดประดอยให้สวยงามทั้งมี ฝีมือในการประดิษฐ์งานช่างทั้งปวง ทาให้
ทราบว่า กุลสตรีสมัยนั้นได้รับการฝึกฝนให้พิถีพิถันกับการจัดตกแต่งผัก ผลไม้และการปรุงแต่งอาหาร
เป็นพิเศษ จากข้อความนี้น่าจะเป็นที่ยืนยันได้ว่า การแกะสลักผัก ผลไม้เป็นศิลปะของไทยที่กุลสตรีใน
สมัยก่อนมีการฝึกหัด เรียนรู้ผู้ใดฝึกหัดจนเกิดความชานาญ ก็จะได้รับการยกย่อง
งานแกะสลักใช้กับของอ่อน สลักออกมาเป็นลวดลายต่างๆอย่างงดงาม มีสลักผัก สลักผลไม้สลักหยวก
กล้วยถือเป็นงานช่างฝีมือของคนไทยที่มีมาแต่โบราณ งานสลักจึงอยู่ในงานช่าง 10 หมู่ เรียกว่า ช่างสลัก
ในช่างสลักแบ่งออกย่อย คือ ช่างฉลุ ช่างกระดาษ ช่างหยวก ช่างเครื่องสด ส่วนช่างอีก 9 หมู่ที่เหลือ
ได้แก่ ช่างแกะ ที่มีทั้งช่างแกะตรา ช่างแกะลาย ช่างแกะพระหรือภาพช่างหุ่น มีช่างไม้ช่างไม้สูง ช่าง
ปากไม้ช่างปั้น มีช่างขี้ผึ้ง ช่างปูน เป็นช่างขึ้นรูปปูน มีช่างปั้น ช่างปูนก่อ ช่างปูนลอย ช่างปั้นปูน ช่างรัก
มีช่างลงรัก มีปิดทอง ช่างประดับกระจก ช่างมุก ช่างบุ บุบาตรพระเพียงอย่างเดียว ช่างกลึง มีช่างไม้ช่าง
หล่อ มีช่างหุ่นดิน ช่างขี้ผึ้ง ช่างผสมโลหะ ช่างเขียน มีช่างเขียน ช่างปิดทอง
การสลักผักผลไม้นอกจากจะเป็นการฝึกสมาธิแล้วยังเป็นการฝึกฝีมือให้เกิดความชานาญเป็นพิเศษ และ
ต้องมีความมานะ อดทน ใจเย็น และมีสมาธิเป็นที่ตั้ง รู้จักการตกแต่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การทางาน
จ้องให้จิตใจทาไปพร้อมกับงานที่กาลังสลักอยู่ จึงได้งานสลักที่สวยงามเพริศแพร้วอย่างเป็นธรรมชาติ
ดัดแปลงเป็นลวดลายประดิษฐ์ต่างๆ ตามใจปรารถนา
ปัจจุบันวิชาการช่างฝีมือเหล่านี้ ถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตร ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษามาจนถึง
อุดมศึกษาเป็นลาดับ ประกอบกับรัฐบาลและภาคเอกชนได้ให้การสนับสนุน จึงมีการอนุรักษ์ศิลปะต่าง
ๆ อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการแกะสลักผลงานประเภทเครื่องจิ้ม จนกระทั่งงานแกะสลักได้กลายเป็น
สิ่งที่ต้องประดิษฐ์ ตกแต่งบนโต๊ะอาหารในการจัดเลี้ยงแขกต่างประเทศ ตามโรงแรมใหญ่ ๆ ภัตตาคาร
ตลอดจนร้านอาหาร ก็จะใช้งานศิลปะการแกะสลักเข้าไปผสมผสานเพื่อให้เกิดความสวยงาม หรูหรา
และประทับใจแก่แขกในงาน หรือสถานที่นั้น ๆ งานแกะสลักผลไม้จึงมีส่วนช่วยตกแต่งอาหารได้มาก
คงเป็นเช่นนี้ตลอดไป
12
2
ความสาคัยของการแกะสลัก
งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การแกะสลักผัก ผลไม้นั้นเป็นงานที่มี
คุณค่า มีความสาคัญมากมายหลายประการ ซึ่งสามารถพอจะแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้
1. นามาใช้ได้ในชีวิตประจาวัน
- สามารถตัด แต่งผัก ผลไม้เป็นชิ้นเป็นคามีความสวยงามและ เพื่อความสะดวกในการรับประทาน
2. นามาใช้ในโอกาสพิเศษ ตามงานเลี้ยงต่างๆ
- สามารถแกะสลักผัก ผลไม้เพื่อนาไปจัดตกแต่งอาหารต่างๆ เช่น แกะสลักผักหรือผลไม้เป็นผอบเพื่อใส่
อาหาร และใช้ในการตกแต่งสถานที่ให้ดูสวยงามน่าชมได้อีกด้วยเช่น การแกะสลักแตงโมหรือแคนตา
ลูปทั้งผลเพื่อตกแต่งสถานที่ในงานให้สวยงาม
3. สร้างสมาธิให้กับผู้ที่แกะสลัก
- การแกะสลักผัก ผลไม้จะต้องมีสมาธิ ไม่เช่นนั้นอาจเกิดอุบัติเหตุจากมีดที่ใช้ในการแกะสลักได้และ
ชิ้นงานที่ได้จะมีความประณีตสวยงามไม่มีรอยช้าตามต้องการ
4. เสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- เมื่อผู้แกะสลักเรียนรู้วิธีการแกะสลักอย่างชานาญแล้ว จะมีความเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์ลวดลาย
ใหม่ได้ตามความต้องการ
5. สร้างความภาคภูมิใจแก่ตัวเอง
- การแกะสลักถือเป็นงานที่มีความยากอย่างหนึ่ง แต่หากได้มีการเรียนรู้อย่างมีระบบ มีขั้นตอน และใช้
ระยะเวลาในการฝึกฝน จะสามารถทาได้อย่างง่ายดายและเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
6. อนุรักษ์สืบสานศิลปะการแกะสลักของไทย
- ปัจจุบันมีผู้สนใจงานด้านแกะสลักผักและผลไม้อย่างจริงจังน้อยลง เนื่องจากค่านิยมมีการเปลี่ยนแปลง
ไป แต่ยังมีผู้สนใจที่จะเรียนรู้การแกะสลักผักและผลไม้เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบอาชีพใน
ต่างประเทศ และการแกะสลักผักและผลไม้เป็นวิชาหนึ่งของการศึกษาในสาขาคหกรรมศาสตร์ จึงเป็นสิ่ง
ที่ยังมีกลุ่มคนที่มีการอนุรักษ์สืบทอดให้คงอยู่ต่อไป
13
วัสดุอุปกรณ์การแกะสลัก
งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง มีดแกะสลักมีมากมายหลายรูปแบบ
ขึ้นอยู่กับความถนัดของผู้แกะสลักเอง มีดแกะสลักถือเป็นสิ่งที่สาคัญมากของงานแกะสลัก อาจจะกล่าว
ได้ว่ามีมีดเพียงเล่มเดียวก็สามารถแกะสลักได้ทุกแบบ ทุกลวดลาย
การเลือกมีดแกะสลัก
1. มีดจะต้องมีความคม ใบมีดที่บางจะสามารถแกะสลักลวดลายได้ละเอียดและไม่มีรอยช้าที่เกิดจากรอย
มีด
2. น้าหนักของด้ามมีดจะต้องมีความเบา เพื่อไม่ให้เกิดการอ่อนล้า
3. ปลายมีดจะต้องมีความเหยียดตรงไม่มีรอยบิ่น และควรมีปลอก หรือซองสาหรับเก็บมีกเพื่อป้ องกัน
ปลายมีด
4. ใบมีดควรเลือกที่ไม่เป็นสนิมง่ายเพราะจะดูแลรักษายาก และไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค
การปอก คว้านและการแกะสลักผลไม้นั้นนอกจากจะต้องทราบกระบวนการต่างๆ ในการแกะสลักแล้ว
หัวใจที่มีความสาคัญต่อการแกะสลัก นั้นก็คือมีดแกะสลักที่มีเพียงเล่มเดียวสามารถแกะสลักลวดลายได้
ทุกลวดลาย มีดแกะสลักในปัจจุบันมี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. มีดแกะสลักที่มีด้ามแบน
- มีลักษณะใบมีดเรียวแหลมยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ใบมีดมักจะเป็นเนื้อสแตนเลสอย่างดีเพื่อมิให้
เกิดปฏิกิริยากับผักและผลไม้มีดด้ามแบนเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มฝึกฝนการแกะสลัก เพราะสามารถควบคุม
มีดได้ง่าย
14
2. มีดแกะสลักที่มีด้ามกลม
- มีลักษณะใบมีดเรียวแหลมยาวประมาณ 1.5 – 2.5 นิ้ว ใบมีดมีทั้งเนื้อสแตนเลส และเนื้อเหล็ก จึงควร
เลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน มีดด้ามกลมเหมาะสาหรับผู้ที่แกะสลักได้แล้ว เพราะสามารถควบคุมมีด
ให้ไปตามทิศทางต่าง
วิธีการจับมีดแกะสลัก
วิธีการจับมีดแกะสลัก ที่ถูกต้องจะทาให้นาไปไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและการความรวดเร็วในการ
ทางาน รวมทั้งผลงานที่จะมีความสวยงาม ปลอดภัยจากอุบัติเหตุได้อีกด้วย การจับมีดแกะสลักมีวิธีการ
จับอยู่ 3 แบบ คือ
1. การจับมีดแกะสลักแบบหั่นผัก เหมาะสาหรับการแกะสลักวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่นแตงโม ลักษณะ
ลวดลายการแกะสลักจะเป็นลวดลายที่มีขนาดใหญ่ วิธีการจับมีดแบบหั่นผัก ลักษณะด้ามมีดจะอยู่ใต้อุ้ง
มือ มีวิธีการจับดังนี้
- นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด
- นิ้วชี้จับตรงสันมีด ตรงกึ่งกลางของใบมีด
- นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อยกาด้ามมีด
วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบหั่นผัก - มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก
- มือขวาจับมีดแบบหั่นผัก และต้องให้นิ้วนางสัมผัสวัสดุที่แกะสลักเพื่อช่วยควบคุมน้าหนักมือและจะทา
ให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกดขึ้น
2. การจับมีดแกะสลักแบบจับปากกา
เหมาะสาหรับการแกะสลักลวดลายได้อย่างอิสระ นิยมใช้แกะสลักโดยทั่วไป วิธีการจับมีดแบบจับ
ปากกา ลักษณะด้ามมีดจะอยู่เหนือฝ่ามือมีอิสระในการแกะสลักลวดลาย มีวิธีการจับดังนี้
- นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด
- นิ้วชี้จับตรงสันมีด ตรงกึ่งกลางของใบมีด
- นิ้วกลางจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด และตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ
- นิ้วนาง นิ้วก้อยไม่สัมผัสมีด วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบหั่นผัก
- มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก
- มือขวาจับมีดแบบหั่นผัก และต้องให้นิ้วนางสัมผัสวัสดุที่แกะสลักเพื่อช่วยควบคุมน้าหนักมือและจะทา
ให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกดขึ้น
15
3. การจับมีดแกะสลักแบบปอกผลไม้
เหมาะสาหรับการปอก การเกลารูปร่าง รูปทรงต่างๆ วิธีการจับมีดแบบปอกผลไม้ ลักษณะด้ามมีดจะอยู่
ใต้อุ้งมือ นิ้วชี้จะเป็นตัวกาหนดทิศ ทางของการเคลื่อนมีด มีวิธีการจับดังนี้
- นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีด ใบมีดและสันมีด
- นิ้วชี้จับด้านข้างมีด ตรงระหว่างใบมีดและด้ามมีด
- นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อยกาด้ามมีด วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบปอกผลไม้
- มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก
- มือขวาจับมีดแบบปอกผลไม้และให้นิ้วชี้ช่วยควบคุมการเคลื่อนของมีดและช่วยควบคุมน้าหนักมือ จะ
ทาให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การแกะสลักลวดลายต่างๆ โดยทั่วไปมักจะจับมีดแบบการจับดินสอ หรือปากกา อาจจะกล่าวได้ว่า การ
แกะสลักนั้นเหมือนกับการเขียนหนังสือ ที่สามารถลากดินสอ หรือปากกาไปในทิศทางต่างๆได้ตามที่
ต้องการ
อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการแกะสลัก ผักผลไม้
การปอก คว้านและการแกะสลักผักและผลไม้มีอุปกรณ์ที่ใช้ในแกะสลักสามารถหาได้ไม่ยุ่งยากนัก มี
คุณสมบัติ หน้าที่และลักษณะที่เหมาะสมดังนี้
1. มีดตัดและหั่น ใช้สาหรับ ตัด หั่นและเกลาผักและผลไม้
- ควรมีความคม และมีดหั่นควรมีความยาวของใบมีด 5-7 นิ้ว
16
2. มีดคว้าน ใช้คว้านเมล็ดผลไม้ออก
- ควรมีความคม ควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส
3. มีดปอก ใช้สาหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
- ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับผักและผลไม้ที่จะใช้
17
4. ที่ตักผลไม้ทรงกลม ใช้สาหรับตักผักหรือผลไม้ให้เป็นทรงกลม
- ช้อนกลมใช้สาหรับควักไส้ผักและผลไม้ควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส
5. ที่ตัดแบบหยัก ใช้ตักและหั่นผัก ผลไม้ให้เป็นลวดลายสวยงาม
- ควรเลือกให้เหมาะกับผักและผลไม้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส
6. พิมพ์กดรูปต่างๆ ใช้กดผัก ผลไม้ให้มีรูปแบบตามต้องการ
- ควรเลือกให้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส
18
7. กรรไกร ใช้ตัดและตกแต่งผักผลไม้ที่สลัก
- ควรเลือกให้เหมาะกับผักและผลไม้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส
8. หินลับมีดหรือกระดาษทราย ใช้สาหรับลับมีดให้มีความคม
- ควรเลือกเนื้อละเอียดๆ เพื่อจะได้ไม่ทาให้มีดสึกกร่อนเร็ว
9. เขียง ใช้สาหรับรอง เวลาหั่น ตัดผักและผลไม้
- ควรเลือกเขียงไม้หรือเขียงพลาสติก ที่มีขนาดเหมาะสมในการใช้งานและมีน้าหนักเบา
19
10. อ่างน้า ใช้สาหรับใส่น้าเพื่อแช่ผักและผลไม้ที่แกะสลักแล้ว ให้สดขึ้น
- ควรเลือกให้เหมาะกับปริมาณผักและผลไม้ที่จะแช่
11. ถาด ใช้สาหรับรองเศษผักและผลไม้เวลาแกะสลัก
- ควรเลือกให้เหมาะกับขนาดของผักหรือผลไม้ที่แกะสลัก
20
21
12. ผ้าเช็ดมือ ใช้สาหรับเช็ดมือและอุปกรณ์ต่างๆในการแกะสลัก
- ควรเลือกที่ซับน้าได้ดี อาจเป็นผ้าขาวบางหรือผ้าขนหนูผืนเล็ก
13. พลาสติกห่ออาหาร ใช้สาหรับห่อผักและผลไม้เพื่อไม่ให้ผักและผลไม้เหี่ยวเฉาเมื่อแกะสลักเสร็จ
- ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับผักและผลไม้ที่แกะสลัก
22
14. ถุงมือยาง ใช้สาหรับสวมมือเพื่อเพิ่มความสะอาดเวลาหยิบจับผักและผลไม้ในการแกะสลัก
- ควรเลือกแบบที่กระชับ แนบเนื้อ
หลักการแกะสลักผักและผลไม้
23
1. การเลือกซื้อผักและผลไม้ควรเลือกชนิดที่มีความสดใหม่ เพื่อจะช่วยให้ผลงานที่แกะสลัก มีอายุการใช้
งานได้นานขึ้น
2. ก่อนนาผักและผลไม้ไปแกะสลัก ควรล้างน้าให้สะอาด
3. การเลือกมีดแกะสลัก ควรเป็นมีดสแตนเลส หรือมีดทองเหลือง ซึ่งมีดต้องคมมาก เพราะจะ
ทาให้ผักและผลไม้ไม่ช้าและไม่ดา
4. การเลือกชนิดของผักและผลไม้แกะสลัก ควรเลือกให้เหมาะกับประโยชน์การนาไปใช้
5. การเลือกรูปแบบหรือลวดลายที่จะแกะควรเลือกให้เหมาะกับการนาไปใช้ประโยชน์
6. การเลือกผัก ผลไม้ตกแต่งอาหารควรเลือกชนิดที่มีสีสวยงาม หลากหลาย เพื่อจะทาให้
อาหารน่ารับประทานขึ้น
7. การแกะสลักต้องพยายามรักษาคุณค่าอาหาร โดยไม่ควรแช่น้านานเกินไป
การจับมีดแกะสลักผักและผลไม้
วิธีการจับมีดแกะสลักนั้น มีความสาคัญต่อชิ้นงานที่แกะสลักมาก การจับมีดแกะสลักที่ถูกต้อง จะทาให้
ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย และเพื่อความรวดเร็วในการทางาน ผลงานที่ได้ก็จะมีความ
ประณีต สวยงาม การจับมีดแกะสลักมีวิธีการ ดังนี้
24
1. การจับมีดแกะสลักแบบการหั่นผัก
การจับมีดแบบหั่นผัก มือขวาจับมีด นิ้วหัวแม่มือวางอยู่บนสันมีด ในลักษณะสบาย ๆ อย่าให้แน่นเกินไป
ไม่ต้องเกร็งมือ ใช้มือซ้ายจับวัสดุที่แกะสลักโดยให้นิ้วชี้มือซ้ายวางอยู่บนงานที่แกะสลัก ใช้นิ้วชี้มือขวา
กดสันมีด นิ้วหัวแม่มือขวาคอยประคองด้ามมีดไว้ส่วนอีก 3 นิ้ว จับด้ามมีดไว้
2. การจับมีดแบบดินสอ
การจับมีดแบบดินสอ มือขวาจับด้ามมีดโดยให้นิ้วชี้กดสันมีดไว้เหลือปลายมีด ประมาณ 2 – 3
เซนติเมตร นิ้วที่เหลือแตะอยู่บนงานที่แกะสลัก มือซ้ายจับงานแกะสลักตามลักษณะของงาน
25
การเก็บรักษามีด
1. หลังใช้งานแล้วต้องทาความสะอาดทุกครั้ง วัสดุที่นามาแกะสลักบางชนิดมียาง ต้องล้างยางที่คมมีด
ด้วยมะนาว หรือน้ามันพืชก่อน แล้วจึงล้างด้วยน้าให้สะอาด เช็ดให้แห้งเก็บปลายมีดในฝักหรือปลอด
2. หมั่นดูแลมีดแกะสลักให้มีความคมสม่าเสมอเวลาใช้งานแกะสลักผักและผลไม้จะได้ไม่ช้า โดยหลัง
การใช้ต้องลับคมมีดทุกครั้ง เช็ดให้แห้งเก็บใส่กล่องไว้ให้พ้นมือเด็ก
3. ควรเก็บมีดแกะสลักในปลอกมีดเพื่อป้ องกันไม่ให้ปลายมีดกระทบของแข็ง จะทาให้ปลายมีดหักหรือ
งอได้ิ
การแกะสลักผักและผลไม้
ความหมายของคาศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการแกะสลักผักและผลไม้เป็นสิ่งจาเป็นที่นักเรียนควรทราบ ซึ่งเมื่อ
พูดถึงคาศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการแกะสลักแล้ว ผู้เรียนเข้าใจความหมาย สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตาม
ขั้นตอนคาศัพท์ต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นทักษะพื้นฐาน ที่นักเรียนควรทราบและควรปฏิบัติได้
26
การปอก
การปอก หมายถึง การทาวัสดุที่มีเปลือก ต้องการให้เปลือกออก ด้วยมือหรือใช้มีด แล้วแต่ชนิดวัสดุ เช่น
ใช้มือปอกกล้วยหรือส้ม ถ้าเป็นของที่ใช้มีดก็จับมีดมือหนึ่ง อีกมือหนึ่งจับของที่จะปอก แล้วกดมีดลงที่
เปลือกให้คมมีดเดินไปตามเปลือกเรื่อยไปจนสุดเปลือกของสิ่งนั้นๆ เช่นปอกมะเขือเทศ ปอกแตงโม เป็น
ต้น
การฝึกทักษะ การปอก (การปอกมะเขือเทศเป็นดอกกุหลาบ)
วัสดุและอุปกรณ์
1. มะเขือเทศ 4. ถาดรอง
2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า
3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
27
ขั้นตอนการทา
1. ใช้มีดแกะสลักปอกผิวมะเขือเทศเริ่มต้นจากขั้วของมะเขือเทศ
2. ปอกมะเขือเทศ ให้ตัดเนื้อเล็กน้อย ปลายโค้ง
3. ปอกรอบผล เส้นระยะให้เท่ากันจนถึงปลายผล
4. ม้วนกลีบกุหลาบโดยเริ่มที่ปลายผล
5. ม้วนจนหมด เส้นที่ปอก ใช้ส่วนตรงขั้วผลรองรับกลีบดอกกุหลาบ
จัดกลีบให้เข้าที่สวยงาม
28
การจัก
การจัก หมายถึง การทาวัสดุให้เป็นแฉกหรือฟันเลื่อย โดยใช้มีดแกะสลักกดลงบนส่วนกลางของวัสดุนั้น
ให้แยกออกจากกัน หรือใช้เครื่องมือแหลมแทงตรงที่ต้องการ เช่นการจักหอมหัวใหญ่ การจักละมุด
การฝึกทักษะ การจัก (การจักหอมหัวใหญ่)
29
วัสดุและอุปกรณ์
1. หอมหัวใหญ่ 4. ถาดรอง
2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า
3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
ขั้นตอนการทา
1. ปอกหอมหัวใหญ่ ล้างให้สะอาด
2. ใช้ปลายมีดแกะสลักจักซิกแซ็ก ตรงกลางหัว ตามขวางจนรอบหัว
ให้มีระยะที่เท่าๆกัน
3. ค่อยๆ ดึงหอมหัวใหญ่ให้แยกออกจากกันเป็น 2 ส่วน
30
4. ปาดเนื้อด้านล่าง ออกเล็กน้อย ให้ตั้งได้และนาไปล้างน้าเย็นจัด
การกรีด
การกรีด หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ให้เป็นรอยแยก หรือขาดออกจากกัน โดยใช้ของแหลมคมกด
ลงบนวัสดุนั้น แล้วลากไปตามความต้องการ
การฝึกทักษะ การกรีด (การกรีดพริกชี้ฟ้าเป็นดอกหน้าวัว)
31
วัสดุและอุปกรณ์
1. พริกชี้ฟ้า 4. ถาดรอง
2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า
3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
ขั้นตอนการทา
1. ล้างพริกให้สะอาด ใช้มีดควั่นโดยรอบขั้วพริก อย่าให้ขาด
2. กรีดตามยาว จากโคนจรดปลาย
3. ใช้ปลายมีดแคะเมล็ดพริกออก ระวังอย่าให้
กลีบขาด
32
4. ดึงเม็ดพริกที่ติดกับก้านออก
5. เจียนพริก ช่วงโคนให้มนและเว้นตรงกลาง แช่น้าให้กลีบแข็ง
6. ใช้ปลายมีด เจาะพริก ให้ต่าจากรอยเว้าเล็กน้อย
7. นาเมล็ดพริกที่ติดกับก้านมาใส่เป็นเกสร
8. เกสรเมื่อเสียบเสร็จแล้วดังรูป
33
การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ
การตัด หมายถึง การทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งต้องการให้เป็นท่อนสั้นยาวตามต้องการ โดยใช้มือหนึ่งจับมีด
และอีกมือหนึ่งจับวัสดุวางบนเขียง แล้วกดมีดลงบนวัสดุให้ขาดออกจากกัน
การฝาน หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นแผ่นหรือชิ้นบาง โดยใช้มือจับของไว้ในฝ่ามือหรือวาง
บนเขียง แล้วใช้อีกมือหนึ่งจับมีดกดลงบนของนั้นให้ตรง มีความบางมากหรือน้อยตามต้องการ
การเจียน หมายถึง การทาให้รอบนอกของวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งเรียบไม่ขรุขระ หรือเป็นรูปทรงต่างๆ
การเซาะ หมายถึง การทาให้เป็นรอยลึกหรือรอยกว้าง เช่น เซาะเป็นรอยตามประสงค์ โดยใช้มือข้างหนึ่ง
จับวัสดุนั้น แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งจับมีด ให้ทางคมกดกับวัสดุนั้น ไถไปด้วยความเร็วเพื่อให้วัสดุขาดและ
เรียบ
การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ
34
การฝึกทักษะ การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ (แตงร้านเป็นรูปใบไม้พลิ้ว)
วัสดุและอุปกรณ์
1. แตงร้าน 4. ถาดรอง
2. มีดแกะสลัก 5. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
3. เขียง 6. อ่างใส่น้า
ขั้นตอนการทา
1. ตัดแตงร้านให้เป็นเส้นเฉียง (การตัด)
2. ตัดแตงร้านให้ขาดออกจากกัน
35
3. ฝานเมล็ดออก (การฝาน)
4. ตัดตกแต่งแตงร้านให้เป็นรูปใบไม้เจียนตกแต่งใบไม้ให้บาง (การ
เจียน)
5. เซาะร่องเส้นกลางใบ ให้เป็นแนวคู่
6. เซาะเส้นกลางใบ ให้ปลายแหลม (การเซาะ)
7. หยักริมใบทั้งสองข้าง
36
8. ใบไม้ที่พลิ้วที่สาเร็จ ใบจะมีลักษณะโค้งเล็กน้อย ปลายใบดู
อ่อนไหว ตามธรรมชาติ
การเกลา การแกะสลัก
การเกลา หมายถึง การตกแต่งวัสดุที่ยังไม่เกลี้ยงให้เรียบร้อยยิ่งขึ้น โดยใช้มีดนอนหันคมออก ฝานรอยที่
ขึ้นเป็นสันและขรุขระให้เกลี้ยง
การแกะสลัก หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกจากกัน หรือใช้เครื่องมือที่แหลมคม กดทางคมลง
บนวัตถุนั้นตามความประสงค์เป็นลวดลายสวยงามต่างๆ หรือการใช้เล็บมือค่อยๆแกะเพื่อให้หลุดออก
การเกลา การแกะสลัก
37
การฝึกทักษะ การเกลา การแกะสลัก (การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่)
วัสดุและอุปกรณ์
1. ฟักทอง 4. ถาดรอง
2. มีดแกะสลัก 5. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
3. เขียง 6. อ่างใส่น้า
ขั้นตอนการทา
1. ตัดฟักทองให้เป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตัดเหลี่ยมทั้ง 4 ด้านออก
2. เกลาชิ้นฟักทอง ให้มีลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลม
38
3. แกะสลักเกสรโดยใช้มีดปัก 90 องศา และปาดเนื้อออก
4. แกะสลักเกสรหันปลายกลีบเข้าหาจุดศูนย์กลาง ปาดเนื้อกลางกลีบ
ให้เป็นร่อง
5. แบ่งระยะกลีบ ปาดเนื้อกลางกลีบให้เป็นร่อง และแกะสลักกลีบให้
ปลายแหลม
6. ดอกรักเร่กลีบด้านข้าง จากโค้งเล็กน้อย มีปลายแหลม ปาดเนื้อใต้
กลีบออกทุกครั้ง กลีบจึงจะเด่น
7. แกะสลักกลีบชั้นต่อไป ให้สับหว่าง เช่นนี้จนจบ
39
การคว้าน
การคว้าน หมายถึง การทาวัสดุซึ่งมีส่วนเป็นแกนหรือเมล็ดให้ออกจากกัน โดยใช้เครื่องมือที่มีปลาย
แหลมและคมแทงลงตรงจุดที่ต้องการคว้าน แล้วขยับไปรอบๆ จนแกนหลุดค่อยๆ แคะหรือดุนออก เช่น
การคว้านเงาะ
การฝึกทักษะ การคว้าน (การแกะสลักแตงร้านเป็นดอกทิวลิป)
วัสดุและอุปกรณ์
1. แตงร้าน 5. เขียง
2. ต้นหอม 6. อ่างใส่น้า
3. มีดแกะสลัก 7. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
4. ถาดรอง
40
ขั้นตอนการทา
1. ตัดแตงร้านส่วนปลาย แบ่งออกเป็น 3 กลีบ ใช้มีดคว้านไส้ออก
(การคว้าน)
2. ใช้มีดเจียนกลีบให้ปลายมน
3. จักริมกลีบให้เป็นฟันปลา
4. เจาะกลีบเล็กในกลีบใหญ่ ให้โค้งตามกลีบรอบนอก
5. ใช้ปลายมีดกดกลีบเล็กเข้าด้านใน นาไปแช่น้าให้กลีบบาน
41
6. ตัดใบหอมทาเกสร ยาวพอประมาณกรีดให้เป็นเส้นฝอยแช่น้าให้
บาน นามาวางตรงกลางดอกเป็นเกสร
การเลือกซื้อผักและผลไม้ที่ใช้ในงานแกะสลัก
1. เลือกตามฤดูกาลที่มี จะได้ผักและผลไม้ที่มีปริมาณให้เลือกมาก มีความสดและราคาถูก
2. เลือกให้ตรงกับความต้องการหรือวัตถุประสงค์ในงานแกะสลัก เช่น เพื่อการปอก คว้าน เพื่อการ
รับประทาน เพื่อการตกแต่งหรือเพื่อเป็นภาชนะ
3. เลือกผักและผลไม้ที่สด และสวยตามลักษณะของผักและผลไม้ที่แกะสลัก
4. เลือกให้มีขนาดและรูปทรงเหมาะสมกับผลงานที่จะแกะสลัก
ผักและผลไม้นั้นมีมากมายหลายชนิด แต่ที่นิยมนามาแกะสลัก จะเพื่อใช้ในงานอาหารเท่านั้น
การเลือกซื้อตามชนิด และการดูแลรักษาผัก-ผลไม้
แตงกวา เลือกผิวสดสีเขียวปนขาวไม่เหลือง สามารถนามาแกะสลักได้หลายรูปแบบ เช่น
กระเช้าใส่ดอกไม้ ดอกไม้ ใบไม้ เมื่อแกะเสร็จให้ล้างด้วยน้าเย็นใส่กล่องแช่เย็นไว้ หรือใช้ผ้าขาวบาง
ชุบน้าคลุมไว้จะได้สดและกรอบ
มะเขือเทศ เลือกผลที่มีผิวสด ขั้วสีเขียว นามาแกะสลักเป็นดอกไม้ หรือปอกผิวนามาม้วนเป็นดอก
กุหลาบ เมื่อแกะเสร็จควรล้างด้วยน้าเย็น ใส่กล่องแช่เย็น
42
มะเขือ เลือกผลที่มีผิวเรียบ ไม่มีรอยหนอนเจาะ ขั้วสีเขียวสด นามาแกะเป็นใบไม้ ดอกไม้เมื่อแกะ
เสร็จควรแช่ในน้ามะนาวหรือน้ามะขาม จะทาให้ไม่ดา
แครอท เลือกสีส้มสด หัวตรง นามาแกะเป็นดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ต่างๆ เมื่อแกะเสร็จให้แช่ไว้ในน้าเย็น
ขิง เลือกเหง้าที่มีลักษณะตามรูปร่างที่ต้องการ แกะเป็นช่อดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ เมื่อนาขิงอ่อนไปแช่ใน
น้ามะนาวจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูสวย
มันเทศ เลือกหัวที่มีผิวสด ไม่มีแมลงเจาะ แกะเป็นรูปสัตว์ต่างๆ แกะเสร็จแล้วนาไปแช่ในน้ามะนาว
หรือน้ามะขาม ผิวจะได้ไม่ดา
เผือก เลือกหัวใหญ่กาบสีเขียวสด นามาแกะเป็นภาชนะใส่ของ หรืออาหาร ดอกไม้ ใบไม้ เมื่อแกะ
เสร็จให้นาไปแช่ในน้ามะนาวหรือน้ามะขามจะทาให้มีสีขาวขึ้น
ฟักทอง เลือกผลแก่เนื้อสีเหลืองนวล นามาแกะเป็นภาชนะ ดอกไม้ ใบไม้ หรือสัตว์ต่างๆ แกะเสร็จ
แล้วให้ล้างน้าแล้วใช้ผ้าขาวบางชุบน้าคลุมไว้
มันฝรั่ง เลือกผิวสด นามาแกะเป็นใบไม้ ดอกไม้ สัตว์ต่างๆ เมื่อปอกเปลือกแล้วให้แช่ไว้ในน้ามะนาว
จะได้ไม่ดา
แตงโม เลือกผลให้เหมาะกับงานที่ออกแบบไว้ นามาแกะเป็นภาชนะแบบต่างๆ เมื่อแกะเสร็จให้ใช้ผ้า
ขาวบางชุบน้าคลุมไว้
เงาะ นามาคว้านเอาเมล็ดออก ใช้วุ้นสีสันต่างๆ หรือสับปะรด หรือเนื้อแตงโม ยัดใส่แทน เมื่อแกะ
เสร็จให้นาไปแช่เย็น
ละมุด เลือกผลขนาดพอดี ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป ไม่สุกงอม แกะเสร็จให้นาไปแช่ในตู้เย็น
43
สับปะรด เลือกผลใหญ่ ไม่ช้า แกะเป็นพวงรางสาดได้สวยงาม แกะเสร็จให้ล้างด้วยน้าเย็นและนาไป
แช่เย็น
ส้ม เลือกผลใหญ่ แกะเป็นหน้าสัตว์ เช่น แมวเหมียว
หลักการดูแลรักษาผักและผลไม้ก่อนและหลังการแกะสลัก
ผักและผลไม้ที่ใช้ในงานแกะสลักมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป จึงควรได้รับการดูแลรักษาอย่างดี ตั้งแต่
ขั้นตอนก่อนแกะสลัก ในระหว่างการแกะสลักและหลังการแกะสลัก เพื่อให้มีสภาพที่น่ารับประทาน
ตลอดจนสงวนคุณค่าทางโภชนาการไว้ได้ซึ่งมีวิธีการดูแลรักษาดังนี้
1. ผักและผลไม้ที่ซื้อมาต้องล้างให้สะอาดก่อนนาไปแกะสลัก ไม่ควรแช่ผักผลไม้ไว้ในน้านานเกินไป
เพราะจะทาให้ผักและผลไม้เน่าและช้าง่าย เมื่อแกะสลักเรียบร้อยแล้ว ควรแยกผักและผลไม้ที่เก็บไว้เป็น
ประเภท
2. การป้ องกันผักและผลไม้ที่มีลักษณะรอยดาหรือเป็นสีน้าตาลตามกลีบที่ถูกกรีด อาจจุ่มน้าเปล่าที่เย็น
จัด น้าเกลือเจือจาง หรือน้ามะนาว เพื่อช่วยชะลอการเกิดรอยดาหรือสีน้าตาล
3. ผักและผลไม้ที่แกะสลักเรียบร้อยแล้วควรล้างน้าเย็นจัด แล้วจึงนาไปจัดตกแต่งหรือนาไปถนอม
อาหารเพื่อใช้ในโอกาสต่อไป ถ้ายังไม่ใช้งานควรเก็บใส่ถุงพลาสติก ปิดปากถุง หรือเก็บใส่กล่องปิดฝา
ให้สนิท นาไปเก็บในตู้เย็น
4. เมื่อจัดงานแกะสลักใส่ภาชนะเรียบร้อยแล้ว ให้คลุมด้วยพลาสติกห่ออาหารแล้วนาไปเก็บในตู้เย็น
44
ประโยชน์ของงานแกะสลักผักและผลไม้
1. เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น
1.1 จัดตกแต่งผักและผลไม้ให้สวยงามน่ารับประทาน
1.2 จัดแต่งให้สะดวกแก่การรับประทาน
2. เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น
2.1 งานประเพณีต่างๆ นิยมจัดตกแต่งอาหารคาวหวานให้สวยงาม เพื่อเลี้ยงพระหรือรับรองแขก เช่น
งานบวชนาค งานแต่งงาน งานวันเกิด งานฉลองแสดงความยินดี
2.2 งานวันสาคัญ เช่น งานปีใหม่ หรือแกะสลักผลไม้เชื่อม/แช่อิ่ม ใส่ภาชนะที่เหมาะสมใช้เป็นของขวัญ
ของฝาก ไปกราบญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ
2.3 งานพระราชพิธีต่างๆ
3. เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น เป็นช่างแกะสลักผักและผลไม้ตามร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม
หรือบนสายการบินระหว่างประเทศ
4. เพื่อเป็นแนวทางในการดารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ไทย
5. เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย
45
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ
จากการที่ศึกษาข้อมูลจากคณะอาจารย์ผู้สอนและได้ศึกษาข้อมูลจากยูทูปและสื่อวิดิโอการสอนแกะสลัก
และได้จาสูตรวิธีการแกะจากสื่อต่างๆและศึกษาวิธีการแกะลายต่างๆและวิธีการเก็บรักษาชิ้นงานและ
ศึกษาข้อมูลการทาเว็บการตัดต่อวีดีโอจากอาจาร์ผู้ชานานการและนามาดัดแปลงและคิดค้นหาวิธีการ
แกะสลักและวีการประยุกต์การแกะสลักและทาสือวีดีโอ
วิธีการแกะสลัก
ลาดับ วัสดุ/อุปกรณ์ จานวณ
1 มีดแกะสลัก 1ด้าม
2 มีดปลอก 1ด้าม
3 ถาดรองผักผลไม้ 1ใบ
4 ผ้าเช็ดอุปกรณ์ 1ผืน
5 แครอท 10 หัว
โดยมีวีการขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.แกะสลักทรงดอกข่าลายเกล็ดปลา
1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
1.2นาแครอทไปเกลาให้เป็นรูปทรงดอกข่า
1.3จากนั้นทาแกนขั้วประมาณ1ซม.และบากเป็นรูปบวก
1.4จากนั้นบากให้เป็นรอยยายาวตรงกับที่เราบากไว้เพื่อที่จะทากลีบเลี้ยง
1.5จากนั้นร่างจากจุดที่1มาหาจุดที่2โดยทากลีบย้อยเหมือนเกล็ดปลา
47
1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบ
1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดบทากลีบย้อยเหมือนเกล็ดปลาโดยทาสับหว่างและทา
แบบนี้ไปเรื่อยๆจนเสร็จ
2.แกะสลักรูปทรงดอกข่าลายกลีบแหลม
1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
48
1.2นาแครอทไปเกลาให้เป็นรูปทรงดอกข่า
1.3จากนั้นทาแกนขั้วประมาณ1ซม.และบากเป็นรูปบวก
1.4จากนั้นบากให้เป็นรอยยายาวตรงกับที่เราบากไว้เพื่อที่จะทากลีบเลี้ยง
1.5จากนั้นลากจากจุดที่1มาหาจุดที่2โดยการทาให้เป็นกลีบแหลมให้ครบ4กลีบ
49
1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบ
1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดบทากลีบแหลมโดยทาสับหว่างและทาแบบนี้ไปเรื่อยๆ
จนเสร็จ
3.แกะสลักรูปทรงดอกข่าลายหยดน้า
1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
1.2นาแครอทไปเกลาให้เป็นรูปทรงดอกข่า
50
1.3จากนั้นทาแกนขั้วประมาณ1ซม.และบากเป็นรูปบวก
1.4จากนั้นบากให้เป็นรอยยายาวตรงกับที่เราบากไว้เพื่อที่จะทากลีบเลี้ยง
1.5จากนั้นลากจากจุดที่1มาหาจุดที่2โดยการทาให้เป็นกลีบย้อยเหมือนหยดน้าให้ครบ4กลีบ
51
1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบ
1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดยทากลีบย้อยเหมือนหยดน้าโดยทาสับหว่างและทาแบบนี้
ไปเรื่อยๆจนเสร็จ
4.แกะสลักรูปทรงดอกข่าลายหยดน้าสลักริม
1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
52
1.2นาแครอทไปเกลาให้เป็นรูปทรงดอกข่า
1.3จากนั้นทาแกนขั้วประมาณ1ซม.และบากเป็นรูปบวก
1.4จากนั้นบากให้เป็นรอยยายาวตรงกับที่เราบากไว้เพื่อที่จะทากลีบเลี้ยง
1.5จากนั้นลากจากจุดที่1มาหาจุดที่2โดยการทาให้เป็นกลีบย้อยเหมือน
หยดน้าและบากระหว่างกึ่งกลางเพื่อทากลีบ2ชั้นให้ครบ4กลีบ
53
1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบเหมือนกลีบเลี้ยง
1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดยทากลีบย้อยเหมือนหยดน้าและบากระหว่างกึ่งกลางเพื่อ
ทากลีบ2ชั้นโดยทาสับหว่างและทาแบบนี้ไปเรื่อยๆจนเสร็จ
5.แกะสลักทรงดอกบัวลายหยดน้า
1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
54
1.2นาแครอทมาตัดจากก้นขึ้นมาประมาณ1นิ้วครึ่ง
1.3จากนั้นแกะสลักลายหยดน้าให้ครบ5กลีบ
1.4จากนั้นเริ่มระหว่างกึ่งกลางของกลีบเลี้ยงเพื่อทากลีบดอก
1.5เริ่มทาชั้นที3โดยทาการสับหว่างระหว่างกลีบเลี้ยงและกลีบดอกให้ครบ2ชั้น
55
1.6จากนั้นเกลาให้มนแล้วทากลีบเลี้ยงให้โค้งเข้ามาจนถึงกึ่งกลางระหว่างแครอท
ขั้นตอนต่อไปคือการถ่ายทา
ลาดับ วัสดุ/อุปกรณ์ จานวณ
1 เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) 1
2 อินเตอร์เน็ต(Internet) 1
3 กล้องสาหรับถ่าย วีดีโอ 1
4 โปรแกรมWindows Movie Maker(สาหรับสร้างvdo) 1
5 แผ่น วีดีโอ เปล่า 1
6 กล้องสาหรับใส่แผ่น dvd 1
7 ปริ้นเตอร์ (Printer) 1
56
วิธีการสร้างสื่อการสอนการแกะสลัก
1เริ่มจากการถ่ายทาเพื่อสร้างวีดีโอ ขึ้นมาโดยทาตามขั้นตอนการแกะสลักข้างต้น
2หลังจากที่เราได้ filevdo มาแล้ว สิ่งอืนที่ต้องเตรียมอีกก็คือ
1.รูปภาพ สกุล jpg. ไม่จากัดจานวนภาพ แต่ต้องคานึงถึงความจุ และขนาดของภาพอย่าให้มาก
เกินไป นามาเก็บไว้ในแฟลชไดร์ หรือ My computer ของเรา
2.เพลงประกอบ สกุล MP3 จะง่ายสุด เก็บไว้ที่เดียวกันกับไฟล์รูปภาพ
3เริ่มดาเนินการสร้างสรรค์ชิ้นงาน!! โดย 1.จากหน้าจอ Desktop คลิกที่ start (ด้านมุมซ้ายล่างขอ
หน้าจอ)เลือก All Programs มองหาโปรแกรม Windows Movie Maker จากนั้นให้คลิกที่ชื่อโปรแกรม จะ
ปรากฏหน้าจอโปรแกรมWindows Movie Maker เพื่อใช้เริ่มการทางาน
57
4ดึงไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราที่ต้องการนามาทาชิ้นงาน วางไว้ในส่วนพื้นที่ collectionตามจานวนที่
ต้องการ
5 .เลือกภาพเรียงตามลาดับความต้องการมาจัดวางใน drag media to the show timeline to begin…
จากนั้นให้ใส่ลูกเล่น ทั้งที่เป็น effects และ transitions โดยไปที่ เมนู edit movie จากนั้นให้เลือกใส่ลูกเล่น
ได้ตามต้องการ
.เมื่อตกแต่งชิ้นงานรูปภาพของท่าน เรียบร้อยแล้วให้
58
6.เพิ่ม credit (make titles or credits) บริเวณส่วนต่างๆของรูปภาพ ได้แก่ ส่วนหน้าสุดของภาพชิ้นงาน,
ส่วนระหว่างภาพ, ส่วนในรูปภาพ และส่วนจบชิ้นงานรูปภาพ ซึ่งต้องคานึงให้ข้อความ กับรูปภาพเนื้อหา
สอดคล้องกันเราสามารถเลือกใส่ credit ได้ตามความพอใจ หรือไม่ใส่ส่วนใดก็ได้
7.เพิ่มเสียงประกอบ(เพลง) โดยให้กลับไปที่ เมนู edit movie เลือก Show collection (หน้าหลักที่มีไฟล์
รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราอยู่) จากนั้นดึงเสียงเพลงที่ต้องการมาจัดวางที่ส่วนการสร้างชิ้นงาน (ส่วน show
storyboard)
8.ปรับระดับความยาวของภาพ หรือเสียงเพลงให้เหมาสมกัน สามารถใช้วิธีการ ตัดทอนเพลงให้สั้นลง
โดยคลิกที่ไฟล์เพลงค้างไว้จากนั้นกดลากเมาส์ที่เนื้อเพลง (หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ หรือ หรือ
59
ขยายไฟล์ภาพให้ขยายกว้างขึ้น ให้พอเหมาะกับเพลงประกอบ โดยคลิกที่ไฟล์ภาพแล้วกดเมาท์ค้าง
ไว้จากนั้นลากรูปภาพที่ต้อง (หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ
9.เมื่อได้ชิ้นงานดังใจหวังแล้ว ให้ Save ชิ้นงานเป็น 2 ลักษณะ คือ save project กับ save project
movie ดังนี้
*9.1 ไปที่ file เลือก save project (เก็บเพื่อสามารถนากลับมาแก้ไขได้ใหม่)ชิ้นงานไว้ที่ My
video หรือ เก็บใน USB
*9.2 ไปที่ file เลือก save project movie (ชิ้นงานสามารถนาไปใช้ได้เลย)
สรุปผลการทดลองของสมาชิกกลุ่ม
1.คุณภาพของเสี่ยงและภาพไม่ชัด ควรพูดช้าๆชัดๆไม่เร็วเกินไป
2.ระยะเวลาของการนาเสนอเร็วเกินไป อธิบายขั้นให้มากขึ้นเพื่อที่จะเพิ่มระยะเวลาของสื่อ
3.มีการนาเสนอข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน ควรหาวิธีนาเสนอให้มากและเข้าใจง่าย
4.ให้ความรู้เกียวกับอุปกรณ์น้อยเกินไป ควรหาข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์การแกะสลักให้มากขึ้น
5.ประวัติเบื้องต้นมีความเข้าใจอยากเกินไป ควรหาประวัติขอการแกะสลักเพิ่มขึ้นและให้มากกว่าเก่า
6.ประโยชน์ที่จะนามาใช้น้อยเกินไป ในวีดีโอควรบอกประโยชน์และวิธีประยุกค์ของการแกะสลัก
7. เพลงที่นามาประกอบไมเหมาะสมกับสื่อการสอน ควรใช้เพลงที่มีความเหมาะสมกับชิ้นงานเช่นเพลง
ไทยเดิมและมีความยาวเหมาะสมกับ วีดีโอ
60
งบประมาณวันที่ 13 สิงหาคม 2556
ลาดับ รายการ ราคาสุทธิ์
1 ค่าแครอท 134 บาท
2 ค่า internet 599 บาท
3 ค่าแผ่น วีดีโอ เปล่า จานวณ 2แผ่น 30 บาท
4 ค่ากล่องเปล่าใส่แผ่น วีดีโอ 10 บาท
5 ค่าปริ้น
รวม 768 บาท
61
บทที่ 4
การสารวจ และประเมินผล
จากที่ได้จัดทาแบบสอบถามเพื่อทาการประเมินผล จากประชากรเป็นนักศึกษาภาคปกติ
ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ฯ ทั้งหมด 1,200 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
(Sampling) จึงได้จานวน กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 84 คน ใช้หลักการคานวณสูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Taro
Yamane , 1973 : 727-728) และ ของ R. VKrejcie and D.W. Morgan
เพื่อป้ องกันการผิดพลาดจึงกาหนดให้ทาการสารวจกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจานวน 50 คน แต่ทั้งนี้ ทาง
สมาชิกเห็นว่าจะเป็นการใช้งบประมาณ วัตถุดิบมากเกินไป เนื่องจากผลิตภัณฑ์มีถึง 3 หน้า เพื่อให้ทาการ
ประเมินความพึงพอใจ จึงได้ทาการสารวจทั้งหมด 50 คน แต่ทาแบบกระจายกลุ่มตัวอย่าง
1. ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ ชาย หญิง
ตาแหน่งหน้าที่ / ระดับการศึกษา
อาจารย์ นักศึกษาระดับชั้น ปวช. ............. นักศึกษาระดับชั้น ปวส. .............
หมายเหตุ ระดับความคิดเห็น 5 หมายถึงเหมาะสมมากที่สุด
ระดับความคิดเห็น 4 หมายถึงเหมาะสมมาก
ระดับความคิดเห็น 3 หมายถึงเหมาะสมปานกลาง
ระดับความคิดเห็น 2 หมายถึงเหมาะสมน้อย
ระดับความคิดเห็น 1 หมายถึงเหมาะสมน้อยที่สุด
2. ให้ทาเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็น
รายการ ระดับความคิดเห็น
5 4 3 2 1
1คุณภาพของเสียง ภาพ
2มีการนาเสนอที่หลาหหลาย
3ระยะเวลานาเสนอของ video ที่เหมาะสม
4ให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการแกะสลักได้ดี
5ทราบประวัติเบื่องต้นของการแกะสลัก
6สามารถนาความรู้ที่ได้จากสื่อไปประยุกค์ใช้ได้
8เพลงที่นามาประกอบมีความเหมาะสม
ข้อเสนอแนะ
.....................................................................................................................................................................
63
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56

More Related Content

What's hot

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยJanchai Pokmoonphon
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
เห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าACHRPMM
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์Darunee Ongmin
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่Nichakorn Sengsui
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 

What's hot (20)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
เห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้า
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 

More from ครูสม ฟาร์มมะนาว

บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ comment
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ commentหน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ comment
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ commentครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 expressครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressหน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressครูสม ฟาร์มมะนาว
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลครูสม ฟาร์มมะนาว
 

More from ครูสม ฟาร์มมะนาว (20)

Presentation rvc2
Presentation rvc2Presentation rvc2
Presentation rvc2
 
แบบร่างเขียนรายงานโครงการ
แบบร่างเขียนรายงานโครงการแบบร่างเขียนรายงานโครงการ
แบบร่างเขียนรายงานโครงการ
 
Joomla 56 km
Joomla 56 kmJoomla 56 km
Joomla 56 km
 
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 
บทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagramบทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagram
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ comment
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ commentหน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ comment
หน่วยการเรียนที่ 3 เรียนรู้ไวยากรณ์ ตัวแปร ค่าคงที่ comment
 
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
 
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 1 เริ่มต้นโปรแกรม vb 2013 express
 
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 expressหน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 express
หน่วยการเรียนที่ 2 สภาพแวดล้อมของ vb 2013 express
 
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 expressหน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
หน่วยการเรียนที่ 4 การใช้คำสั่งควบคุมและการตัดสินใจ vb2013 express
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
160
160160
160
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
โดนัทPresent project
โดนัทPresent projectโดนัทPresent project
โดนัทPresent project
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 

ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56

  • 1. สื่อการสอน การแกะสลัก Thai carving รหัสประจาตัว 21416 นายณัฐพล ภู่แก้ว รหัสประจาตัว 21415 นายอนันต์ โพธิ์นาค โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ คณะอุตสาหกรรมบริการ สาขาการโรงแรม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 2. สื่อการสอน การแกะสลัก Thai carving รหัสประจาตัว 21416 นายณัฐพล ภู่แก้ว รหัสประจาตัว 21415 นายอนันต์ โพธิ์นาค โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ คณะอุตสาหกรรมบริการ สาขาการโรงแรม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 3. ใบรับรองโครงการ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ฯ เรื่อง สื่อการสอนการแกะสลัก Thai carving โดย นายณัฐพล ภู่แก้ว รหัสประจาตัว 21416 นายอนันต์ โพธิ์นาค รหัสประจาตัว 21415 ได้รับอนุมัติให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ คณะอุตสาหกรรมบริการการ สาขาการโรงแรม __________________________ __________________________ (อาจารย์จารัส รู้สมัย) (อาจารย์ธนศักดิ์ ตั้งทองจิตร) อาจารย์ประจารายวิชา หัวหน้าคณะอุตสาหกรรมบริการ คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ___________________________ ___________________________ ( อาจารย์สุชาติ เกตุกุล) (อาจารย์ปัญจพร เอื้อจงประสิทธิ์) รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการ ________________________________ (ผู้ช่วยศาสตรจารย์ดร.ผจญ ขันธะชวนะ) ประธานกรรมการบริหารวิทยาลัย วันที่………เดือน…..………….พ.ศ………
  • 4. กิตติกรรมประกาศ การจัดทาโครงสื่อการสอนแกะสลักนี้สาเร็จได้ด้วยดี ทั้งนี้ได้รับความช่วยเหลือและ คาปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ การปฏิบัติการ ตลอดจนช่วยเหลือสนับสนุนทางด้านต่างๆจากอาจารย์ จารัส รู้สมัยอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ธนศักดิ์ ตั้งทองจิต, อาจารย์กุลนันท์ ที่ให้คาปรึกษาและตรวจทาน เรื่องแบบสอบถามสาเร็จได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณครอบครัว รวมทั้งเพื่อนๆ ทุกคนที่ให้การสนับสนุน และให้กาลังใจ ในการทาโครงการค้นคว้าวิจัยครั้งนี้ ความดีของโครงการสือการสอนแกะสลักฉบับนี้ขอมอบแด่ทุกท่านที่เกี่ยวข้อง สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วม ช่วยเหลือ และสนับสนุนให้ โครงการสื่การสอนการแกะสลักนี้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้น และบรรลุผลสาเร็จได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา 19 กันยายน 2556
  • 5. ชื่อ : นาย อนันต์ โพธิ์นาค นาย ณัฐพล ภู่แก้ว ชื่อเรื่อง : สื่อการสอนแกะสลัก สาขาวิชา : สาขาการโรงแรม คณะวิชา : คณะอุตสาหกรรมบริการ ที่ปรึกษา : อาจารย์กุลนันท์ หนันดี ปีการศึกษา : 2556 บูรณาการจากรายวิชา : การประกอบอาหารโรงแรม, โภชนาการและอนามัยอาหาร, ครัวและอุปกรณ์งานครัว, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, คณิตศาสตร์ บทคัดย่อ โครงการสื่อการสอนแกะสลัก มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการแกะสลัก โดยการนาเอาแค รอทมาแกะสลักลายต่างสละสลวยดูน่าสนใจ สมาชิกได้ทดลองแกะลายต่าง ๆ และเลือกผลการทดลอง ที่มีความเห็นว่าเหมาะสม นามาทาการสารวจและประเมินผล โดยมีผลการดาเนินการเรื่องของอยู่ใน ระดับคะแนภาพและเสียงนมากที่สุด แต่ยังต้องทาการปรับปรุง พัฒนาเรื่องประโยชน์ของ การ ประยุกต์ใช้ให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น โครงการสื่อการสอนแกะสลักใช้ระยะเวลาดาเนินการ ทั้งสิ้น 4 เดือน เริ่มจากมิถุนายน จนถึงเดือนกันยายน คณะผู้จัดทา ______________________________ _____________________________ ( อาจารย์สุชาติ เกตุกุล) (อาจารย์ปัญจพร เอื้อจงประสิทธิ์) รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการ _________________________________ (ผู้ช่วยศาสตรจารย์ดร.ผจญ ขันธะชวนะ) ประธานกรรมการบริหารวิทยาลัย วันที่………เดือน…..………….พ.ศ………
  • 6. คานา โครงการสื่อการสอนแกะสลัก สาหรับนักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 3 จัดทาขึ้นตามกรอบ สาระ และ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้โดยมีเนื้อหา และกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน การสื่อการสอนแกะสลัก นี้ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ของนักศึกษาที่เน้นนักศึกษา เป็นสาคัญ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้ให้การสนับสนุน ให้คาแนะนา ชี้แนะในการจัดทาโครงการ ในครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงายนี้จะเป็นประโยชน์สาหรับนักศึกษา ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจ สามารถนาไปพัฒนาการเรียนการสอนหรือศึกษาข้อมูลต่อไป คณะผู้จัดทา 19 กันยายน 2556
  • 7. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ 4 บทคัดย่อ 5 คานา 6 สารบัญ 7 สารบัญ 8 บทที่ 1 บทนา 1.1ความเป็นมาของโครงการ 9 1.2วัตถุประสงค์ของโครงการ 9 1.3ขอบเขตของโครงการ 9 1.4ประโยชน์ที่ได้รับของโครงการ 9 1.5วิธีการดาเนินการ 10 1.6นิยามศัพท์ 10 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1ประวัติความเป็นมาของการแกะสลัก 11 2.2 ความสาคัยของการแกะสลัก 13 2.3วัสดุอุปกรณ์การแกะสลัก 14 2.4วิธีการจับมีดแกะสลัก 16 2.5 อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการแกะสลัก ผักผลไม้ 23 2.6หลักการการแกะสลักผักและผลไม้ 23 2.7 วิธีการเก็บรักามีด 25 2.8การปอก 26 2.9การจัก 28 2.10 การกรีด 30 2.11 การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ 33 2.12 การเลือกซื้อผักและผลไม้ที่ใชในงานแกะสลัก 41 2.13หลักการดูแลรักษาผักและผลไม้ก่อนแลหลังการแกะสลัก 43 2.14ประโยชน์ของการแกะสลักผักและผลไม้ 44
  • 8. สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 3.1วิธีการดาเนินงาน 45 3.2 วัสดุ / อุปกรณ์ 45 3.3ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายเกล็ดปลา 45 3.4ขันตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายกลีบแหม 47 3.4ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายหยดน้า 49 3.5 ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกข่าลายหยดน้าสลักลิม 51 3.6 ขั้นตอนการแกะสลักทรงดอกบัวลายหยดน้า 53 3.7ขั้นตอนการทาสือการสอนแกะสลัก 56 3.8งบประมาณการดาเนินงาน 60 บทที่ 4การสารวจ และประเมินผล 4.1 ตารางสรุปการประเมินผล 62 4.2ตารางสรุปผลคะแนน 63 4.3ตารางสรุปผลความคิดเห็นที่มีต่อทาสือการสอนแกะสลัก 64 4.5สรุปการประเมินผล 66 บทที่ 5 สรุป วิเคราะห์ผลการดาเนินการ 5.1วิเคราะห์ผลการดาเนินการ 67 5.2ปัญหาและอุปสรรค 68 5.3แนวทางการแก้ไข 68 5.4ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับจากการทาโครงการ 69 5.5 แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 69 บรรณานุกรม 70 ภาคผนวก 71 ภาพดาเนินการทดลอง 72 ตัวอย่างแบบประเมิน 73 ดัชนี 74 ดัชนีภาพ ,ตาราง 75 ประวัติผู้จัดทา 76
  • 9. บทนา สื่อการเรียนการสอนการแกะสลัก ระหว่างการเรียนในชั่วโมงนั่นได้ฟังจากอาจารผู้สอนสาถิตแล้วทาให้ลืมจึงได้คิดทาสื่อการเรียนการ สอนการแกะสลักวีดีโอขึ้นมาเพื่อฝึกฝีมือตัวเองให้ดีขึ้นกว่าเก่าและในเว็บไซหรือใน วีดีโอ บางที่เร็ว เกินไปและเสียงอาจจะไม่ชัดนักขันตอนวิธีการทาไม่ระเอียดพออาจทาให้อยากต่อการศึกกษา วิทยาลัย เทคโนโลยีสยามธุรกิจในวีดีโอนี้เป็นลื่การสอนการแกะสลักแบบพื้นฐานง่ายๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถ เปิดดูและปฎิบัติตามไปพร้อมกับวีดีโอเพื่อให้ผู้ศึกษาหรือผู้ที่สนใจรับรู้ประโยชน์มากยิ่งขึ้นโดยจะ นาเสนอผลงานในแบบสื่อการเรียนการสอนเพื่อที่จะสามารถนาไป บูรณา การได้ในหลายๆแขนงวิชา ต่างๆ วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อให้นักศึกษานาความรู้ที่ได้เรียนในสาขาวิชาการโรงแรมมาบูรณาการให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ 3.2 เพื่อให้เป็นสื่อในการเรียนและความรู้เพิ่มเติมในการศึกษา 3.3เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเป็นข้อมูลเสริม 3.4 เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันในการประกอบอาหารได้อย่างเหมาะสม 3.5เพื่อใช้เป็นแนวทางที่จะศึกษาย้อนหลังจากการเรียน ขอบเขตการวิจัย ศึกษาขอมูลการแกะสลัก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ฝึกการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอน มีการวางแผนก่อนการลงมือปฏิบัติงานทุกครั้ง 2. รู้จักการแบ่งงาน สามารถลงมือปฏิบัติจริงได้และร่วมมือกันในการทางานได้เป็นอย่างดี 3. ได้นาเสนอข้อมูลทางสื่อการสอนแกะสลักได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา 4. มีส่วนช่วยให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความเข่าใจต่อการดูสื่อการสอนแกะสลัก ที่เกิดประโยชน์ต่อร การศึกษา 5. สามารถเผยแพร่สื่อการสอนแกะสลัก แก่บุคคลทั่วไป และปฏิบัติงานได้จริงและเกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวม
  • 10. วิธีการดาเนินการ 5.คานิยาม 5.1ประโยชน์ คือ สามารถเรียนรู้ได้เกี่ยวกับประโยชน์ของผักต่างๆมากขึ้น 5.2แกะสลัก คือ การทาผักและผลไม้ให้เป็นลวดลาย กิจกรรม มิถุนายน 2555 กรกฎาคม 2555 สิงหาคม 2555 กันยายน 2555 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1.การวางแผน โครง 2.กาหนด โครงสร้าง 3เขียนโครงสร้าง 4.ขออนุมัติ 5.ปฏิบัติงานตาม โครงการ 6.ประเมินการ ปฏิบัติงาน 7.นาเสนอผลงาน 8.วิเคราะห์และ สรุปผลการ ประเมิน (6-17) (18-2) (2-16) (17-30) (1-20) (21-27) (27-3) (4-7) 10 00 00 00
  • 11. บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การแกะสลักก็เป็นงานศิลปะอย่างหนึ่ง ที่ถือเป็นมรดกมีค่าที่สืบทอดกันมาช้านาน เป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความถนัด สมาธิ ความสามารถ เฉพาะตัว และความละเอียดอ่อนมาก การแกะสลักผักและผลไม้เป็นการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็น เอกลักษณ์ประจาของชาติไทยเลยทีเดียว ซึ่งไม่มีชาติใดสามารถเทียบเทียมได้แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงที่สุด ในปัจจุบันนี้คงจะเป็นเรื่องของการอนุรักษ์ ศิลปะแขนงนี้ที่มีแนวโน้มจะสูญหายไปและลดน้อยลงไปเรื่อยๆ การแกะสลักผักและผลไม้เดิมเป็นวิชาที่เรียนขั้นสูงของ กุลสตรีในรั้วในวัง ที่ต้องมีการฝึกฝนและเรียนรู้ จนเกิดความชานาญ บรรพบุรุษของไทยเราได้มีการแกะสลักกัน มานานแล้ว แต่จะเริ่มกันมาตั้งแต่สมัย ใดนั้น ไม่มีใครรู้แน่ชัด เนื่องจากไม่มีหลักฐานแน่ชัด จนถึงในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ในสมัยของ สมเด็จพระร่วงเจ้า ได้มีนางสนมคนหนึ่งชื่อ นางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้แต่งหนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อว่า ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ขึ้น และในหนังสือเล่มนี้ ได้พูดถึงพิธีต่าง ๆ ไว้และพิธีหนึ่ง เรียกว่า พระ ราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง เป็นพิธีโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยที่งดงาม ประหลาดกว่าโคมของพระสนมคนอื่นทั้งปวง และได้เลือกดอกไม้สีต่าง ๆ ประดับให้เป็นลวดลายแล้ว จึงนาเอาผลไม้มาแกะสลักเป็นนกและหงส์ให้เกาะเกสรดอกไม้อยู่ตามกลีบดอก เป็นระเบียบสวยงาม ไปด้วยสีสันสดสวย ชวนน่ามองยิ่งนัก รวมทั้งเสียบธูปเทียน จึงได้มีหลักฐานการแกะสลักมาตั้งแต่สมัย นั้น ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดการประพันธ์ยิ่งนัก พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์กาพย์แห่ชมเครื่องคาวหวาน และแห่ชมผลไม้ได้พรรณนา ชมฝีมือการ ทาอาหาร การปอกคว้านผลไม้และประดิดประดอยขนมสวยงาม และอร่อยทั้งหลาย ว่าเป็นฝีมืองามเลิศ ของสตรีชาววังสมัยนั้น และทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง สังข์ทอง พระองค์ทรงบรรยายตอนนาง จันทร์เทวี แกะสลักชิ้นฟักเป็นเรื่องราวของนางกับพระสังข์ นอกจากนั้นยังมีปรากฏในวรรณกรรมไทย แทบ ทุกเรื่อง เมื่อเอ่ยถึงตัวนางซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องว่า มีคุณสมบัติของกุลสตรี เพรียกพร้อมด้วยฝีมือ การปรุงแต่งประกอบอาหารประดิดประดอยให้สวยงามทั้งมี ฝีมือในการประดิษฐ์งานช่างทั้งปวง ทาให้ ทราบว่า กุลสตรีสมัยนั้นได้รับการฝึกฝนให้พิถีพิถันกับการจัดตกแต่งผัก ผลไม้และการปรุงแต่งอาหาร
  • 12. เป็นพิเศษ จากข้อความนี้น่าจะเป็นที่ยืนยันได้ว่า การแกะสลักผัก ผลไม้เป็นศิลปะของไทยที่กุลสตรีใน สมัยก่อนมีการฝึกหัด เรียนรู้ผู้ใดฝึกหัดจนเกิดความชานาญ ก็จะได้รับการยกย่อง งานแกะสลักใช้กับของอ่อน สลักออกมาเป็นลวดลายต่างๆอย่างงดงาม มีสลักผัก สลักผลไม้สลักหยวก กล้วยถือเป็นงานช่างฝีมือของคนไทยที่มีมาแต่โบราณ งานสลักจึงอยู่ในงานช่าง 10 หมู่ เรียกว่า ช่างสลัก ในช่างสลักแบ่งออกย่อย คือ ช่างฉลุ ช่างกระดาษ ช่างหยวก ช่างเครื่องสด ส่วนช่างอีก 9 หมู่ที่เหลือ ได้แก่ ช่างแกะ ที่มีทั้งช่างแกะตรา ช่างแกะลาย ช่างแกะพระหรือภาพช่างหุ่น มีช่างไม้ช่างไม้สูง ช่าง ปากไม้ช่างปั้น มีช่างขี้ผึ้ง ช่างปูน เป็นช่างขึ้นรูปปูน มีช่างปั้น ช่างปูนก่อ ช่างปูนลอย ช่างปั้นปูน ช่างรัก มีช่างลงรัก มีปิดทอง ช่างประดับกระจก ช่างมุก ช่างบุ บุบาตรพระเพียงอย่างเดียว ช่างกลึง มีช่างไม้ช่าง หล่อ มีช่างหุ่นดิน ช่างขี้ผึ้ง ช่างผสมโลหะ ช่างเขียน มีช่างเขียน ช่างปิดทอง การสลักผักผลไม้นอกจากจะเป็นการฝึกสมาธิแล้วยังเป็นการฝึกฝีมือให้เกิดความชานาญเป็นพิเศษ และ ต้องมีความมานะ อดทน ใจเย็น และมีสมาธิเป็นที่ตั้ง รู้จักการตกแต่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การทางาน จ้องให้จิตใจทาไปพร้อมกับงานที่กาลังสลักอยู่ จึงได้งานสลักที่สวยงามเพริศแพร้วอย่างเป็นธรรมชาติ ดัดแปลงเป็นลวดลายประดิษฐ์ต่างๆ ตามใจปรารถนา ปัจจุบันวิชาการช่างฝีมือเหล่านี้ ถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตร ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษามาจนถึง อุดมศึกษาเป็นลาดับ ประกอบกับรัฐบาลและภาคเอกชนได้ให้การสนับสนุน จึงมีการอนุรักษ์ศิลปะต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการแกะสลักผลงานประเภทเครื่องจิ้ม จนกระทั่งงานแกะสลักได้กลายเป็น สิ่งที่ต้องประดิษฐ์ ตกแต่งบนโต๊ะอาหารในการจัดเลี้ยงแขกต่างประเทศ ตามโรงแรมใหญ่ ๆ ภัตตาคาร ตลอดจนร้านอาหาร ก็จะใช้งานศิลปะการแกะสลักเข้าไปผสมผสานเพื่อให้เกิดความสวยงาม หรูหรา และประทับใจแก่แขกในงาน หรือสถานที่นั้น ๆ งานแกะสลักผลไม้จึงมีส่วนช่วยตกแต่งอาหารได้มาก คงเป็นเช่นนี้ตลอดไป 12 2
  • 13. ความสาคัยของการแกะสลัก งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การแกะสลักผัก ผลไม้นั้นเป็นงานที่มี คุณค่า มีความสาคัญมากมายหลายประการ ซึ่งสามารถพอจะแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้ 1. นามาใช้ได้ในชีวิตประจาวัน - สามารถตัด แต่งผัก ผลไม้เป็นชิ้นเป็นคามีความสวยงามและ เพื่อความสะดวกในการรับประทาน 2. นามาใช้ในโอกาสพิเศษ ตามงานเลี้ยงต่างๆ - สามารถแกะสลักผัก ผลไม้เพื่อนาไปจัดตกแต่งอาหารต่างๆ เช่น แกะสลักผักหรือผลไม้เป็นผอบเพื่อใส่ อาหาร และใช้ในการตกแต่งสถานที่ให้ดูสวยงามน่าชมได้อีกด้วยเช่น การแกะสลักแตงโมหรือแคนตา ลูปทั้งผลเพื่อตกแต่งสถานที่ในงานให้สวยงาม 3. สร้างสมาธิให้กับผู้ที่แกะสลัก - การแกะสลักผัก ผลไม้จะต้องมีสมาธิ ไม่เช่นนั้นอาจเกิดอุบัติเหตุจากมีดที่ใช้ในการแกะสลักได้และ ชิ้นงานที่ได้จะมีความประณีตสวยงามไม่มีรอยช้าตามต้องการ 4. เสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - เมื่อผู้แกะสลักเรียนรู้วิธีการแกะสลักอย่างชานาญแล้ว จะมีความเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์ลวดลาย ใหม่ได้ตามความต้องการ 5. สร้างความภาคภูมิใจแก่ตัวเอง - การแกะสลักถือเป็นงานที่มีความยากอย่างหนึ่ง แต่หากได้มีการเรียนรู้อย่างมีระบบ มีขั้นตอน และใช้ ระยะเวลาในการฝึกฝน จะสามารถทาได้อย่างง่ายดายและเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง 6. อนุรักษ์สืบสานศิลปะการแกะสลักของไทย - ปัจจุบันมีผู้สนใจงานด้านแกะสลักผักและผลไม้อย่างจริงจังน้อยลง เนื่องจากค่านิยมมีการเปลี่ยนแปลง ไป แต่ยังมีผู้สนใจที่จะเรียนรู้การแกะสลักผักและผลไม้เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบอาชีพใน ต่างประเทศ และการแกะสลักผักและผลไม้เป็นวิชาหนึ่งของการศึกษาในสาขาคหกรรมศาสตร์ จึงเป็นสิ่ง ที่ยังมีกลุ่มคนที่มีการอนุรักษ์สืบทอดให้คงอยู่ต่อไป 13
  • 14. วัสดุอุปกรณ์การแกะสลัก งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง มีดแกะสลักมีมากมายหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความถนัดของผู้แกะสลักเอง มีดแกะสลักถือเป็นสิ่งที่สาคัญมากของงานแกะสลัก อาจจะกล่าว ได้ว่ามีมีดเพียงเล่มเดียวก็สามารถแกะสลักได้ทุกแบบ ทุกลวดลาย การเลือกมีดแกะสลัก 1. มีดจะต้องมีความคม ใบมีดที่บางจะสามารถแกะสลักลวดลายได้ละเอียดและไม่มีรอยช้าที่เกิดจากรอย มีด 2. น้าหนักของด้ามมีดจะต้องมีความเบา เพื่อไม่ให้เกิดการอ่อนล้า 3. ปลายมีดจะต้องมีความเหยียดตรงไม่มีรอยบิ่น และควรมีปลอก หรือซองสาหรับเก็บมีกเพื่อป้ องกัน ปลายมีด 4. ใบมีดควรเลือกที่ไม่เป็นสนิมง่ายเพราะจะดูแลรักษายาก และไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค การปอก คว้านและการแกะสลักผลไม้นั้นนอกจากจะต้องทราบกระบวนการต่างๆ ในการแกะสลักแล้ว หัวใจที่มีความสาคัญต่อการแกะสลัก นั้นก็คือมีดแกะสลักที่มีเพียงเล่มเดียวสามารถแกะสลักลวดลายได้ ทุกลวดลาย มีดแกะสลักในปัจจุบันมี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. มีดแกะสลักที่มีด้ามแบน - มีลักษณะใบมีดเรียวแหลมยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ใบมีดมักจะเป็นเนื้อสแตนเลสอย่างดีเพื่อมิให้ เกิดปฏิกิริยากับผักและผลไม้มีดด้ามแบนเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มฝึกฝนการแกะสลัก เพราะสามารถควบคุม มีดได้ง่าย 14
  • 15. 2. มีดแกะสลักที่มีด้ามกลม - มีลักษณะใบมีดเรียวแหลมยาวประมาณ 1.5 – 2.5 นิ้ว ใบมีดมีทั้งเนื้อสแตนเลส และเนื้อเหล็ก จึงควร เลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน มีดด้ามกลมเหมาะสาหรับผู้ที่แกะสลักได้แล้ว เพราะสามารถควบคุมมีด ให้ไปตามทิศทางต่าง วิธีการจับมีดแกะสลัก วิธีการจับมีดแกะสลัก ที่ถูกต้องจะทาให้นาไปไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและการความรวดเร็วในการ ทางาน รวมทั้งผลงานที่จะมีความสวยงาม ปลอดภัยจากอุบัติเหตุได้อีกด้วย การจับมีดแกะสลักมีวิธีการ จับอยู่ 3 แบบ คือ 1. การจับมีดแกะสลักแบบหั่นผัก เหมาะสาหรับการแกะสลักวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่นแตงโม ลักษณะ ลวดลายการแกะสลักจะเป็นลวดลายที่มีขนาดใหญ่ วิธีการจับมีดแบบหั่นผัก ลักษณะด้ามมีดจะอยู่ใต้อุ้ง มือ มีวิธีการจับดังนี้ - นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด - นิ้วชี้จับตรงสันมีด ตรงกึ่งกลางของใบมีด - นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อยกาด้ามมีด วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบหั่นผัก - มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก - มือขวาจับมีดแบบหั่นผัก และต้องให้นิ้วนางสัมผัสวัสดุที่แกะสลักเพื่อช่วยควบคุมน้าหนักมือและจะทา ให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกดขึ้น 2. การจับมีดแกะสลักแบบจับปากกา เหมาะสาหรับการแกะสลักลวดลายได้อย่างอิสระ นิยมใช้แกะสลักโดยทั่วไป วิธีการจับมีดแบบจับ ปากกา ลักษณะด้ามมีดจะอยู่เหนือฝ่ามือมีอิสระในการแกะสลักลวดลาย มีวิธีการจับดังนี้ - นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด - นิ้วชี้จับตรงสันมีด ตรงกึ่งกลางของใบมีด - นิ้วกลางจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีดและใบมีด และตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ - นิ้วนาง นิ้วก้อยไม่สัมผัสมีด วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบหั่นผัก - มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก - มือขวาจับมีดแบบหั่นผัก และต้องให้นิ้วนางสัมผัสวัสดุที่แกะสลักเพื่อช่วยควบคุมน้าหนักมือและจะทา ให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกดขึ้น 15
  • 16. 3. การจับมีดแกะสลักแบบปอกผลไม้ เหมาะสาหรับการปอก การเกลารูปร่าง รูปทรงต่างๆ วิธีการจับมีดแบบปอกผลไม้ ลักษณะด้ามมีดจะอยู่ ใต้อุ้งมือ นิ้วชี้จะเป็นตัวกาหนดทิศ ทางของการเคลื่อนมีด มีวิธีการจับดังนี้ - นิ้วหัวแม่มือจะอยู่ด้านข้างมีด ตรงระหว่างด้ามมีด ใบมีดและสันมีด - นิ้วชี้จับด้านข้างมีด ตรงระหว่างใบมีดและด้ามมีด - นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อยกาด้ามมีด วิธีการแกะสลักโดยการจับมีดแบบปอกผลไม้ - มือซ้ายจับวัสดุที่จะแกะสลัก - มือขวาจับมีดแบบปอกผลไม้และให้นิ้วชี้ช่วยควบคุมการเคลื่อนของมีดและช่วยควบคุมน้าหนักมือ จะ ทาให้ช่วยลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น การแกะสลักลวดลายต่างๆ โดยทั่วไปมักจะจับมีดแบบการจับดินสอ หรือปากกา อาจจะกล่าวได้ว่า การ แกะสลักนั้นเหมือนกับการเขียนหนังสือ ที่สามารถลากดินสอ หรือปากกาไปในทิศทางต่างๆได้ตามที่ ต้องการ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการแกะสลัก ผักผลไม้ การปอก คว้านและการแกะสลักผักและผลไม้มีอุปกรณ์ที่ใช้ในแกะสลักสามารถหาได้ไม่ยุ่งยากนัก มี คุณสมบัติ หน้าที่และลักษณะที่เหมาะสมดังนี้ 1. มีดตัดและหั่น ใช้สาหรับ ตัด หั่นและเกลาผักและผลไม้ - ควรมีความคม และมีดหั่นควรมีความยาวของใบมีด 5-7 นิ้ว 16
  • 17. 2. มีดคว้าน ใช้คว้านเมล็ดผลไม้ออก - ควรมีความคม ควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส 3. มีดปอก ใช้สาหรับปอกเปลือกผักและผลไม้ - ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับผักและผลไม้ที่จะใช้ 17
  • 18. 4. ที่ตักผลไม้ทรงกลม ใช้สาหรับตักผักหรือผลไม้ให้เป็นทรงกลม - ช้อนกลมใช้สาหรับควักไส้ผักและผลไม้ควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส 5. ที่ตัดแบบหยัก ใช้ตักและหั่นผัก ผลไม้ให้เป็นลวดลายสวยงาม - ควรเลือกให้เหมาะกับผักและผลไม้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส 6. พิมพ์กดรูปต่างๆ ใช้กดผัก ผลไม้ให้มีรูปแบบตามต้องการ - ควรเลือกให้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส 18
  • 19. 7. กรรไกร ใช้ตัดและตกแต่งผักผลไม้ที่สลัก - ควรเลือกให้เหมาะกับผักและผลไม้มีความคมและควรเลือกที่ทาจากสแตนเลส 8. หินลับมีดหรือกระดาษทราย ใช้สาหรับลับมีดให้มีความคม - ควรเลือกเนื้อละเอียดๆ เพื่อจะได้ไม่ทาให้มีดสึกกร่อนเร็ว 9. เขียง ใช้สาหรับรอง เวลาหั่น ตัดผักและผลไม้ - ควรเลือกเขียงไม้หรือเขียงพลาสติก ที่มีขนาดเหมาะสมในการใช้งานและมีน้าหนักเบา 19
  • 20. 10. อ่างน้า ใช้สาหรับใส่น้าเพื่อแช่ผักและผลไม้ที่แกะสลักแล้ว ให้สดขึ้น - ควรเลือกให้เหมาะกับปริมาณผักและผลไม้ที่จะแช่ 11. ถาด ใช้สาหรับรองเศษผักและผลไม้เวลาแกะสลัก - ควรเลือกให้เหมาะกับขนาดของผักหรือผลไม้ที่แกะสลัก 20
  • 21. 21
  • 22. 12. ผ้าเช็ดมือ ใช้สาหรับเช็ดมือและอุปกรณ์ต่างๆในการแกะสลัก - ควรเลือกที่ซับน้าได้ดี อาจเป็นผ้าขาวบางหรือผ้าขนหนูผืนเล็ก 13. พลาสติกห่ออาหาร ใช้สาหรับห่อผักและผลไม้เพื่อไม่ให้ผักและผลไม้เหี่ยวเฉาเมื่อแกะสลักเสร็จ - ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับผักและผลไม้ที่แกะสลัก 22
  • 23. 14. ถุงมือยาง ใช้สาหรับสวมมือเพื่อเพิ่มความสะอาดเวลาหยิบจับผักและผลไม้ในการแกะสลัก - ควรเลือกแบบที่กระชับ แนบเนื้อ หลักการแกะสลักผักและผลไม้ 23
  • 24. 1. การเลือกซื้อผักและผลไม้ควรเลือกชนิดที่มีความสดใหม่ เพื่อจะช่วยให้ผลงานที่แกะสลัก มีอายุการใช้ งานได้นานขึ้น 2. ก่อนนาผักและผลไม้ไปแกะสลัก ควรล้างน้าให้สะอาด 3. การเลือกมีดแกะสลัก ควรเป็นมีดสแตนเลส หรือมีดทองเหลือง ซึ่งมีดต้องคมมาก เพราะจะ ทาให้ผักและผลไม้ไม่ช้าและไม่ดา 4. การเลือกชนิดของผักและผลไม้แกะสลัก ควรเลือกให้เหมาะกับประโยชน์การนาไปใช้ 5. การเลือกรูปแบบหรือลวดลายที่จะแกะควรเลือกให้เหมาะกับการนาไปใช้ประโยชน์ 6. การเลือกผัก ผลไม้ตกแต่งอาหารควรเลือกชนิดที่มีสีสวยงาม หลากหลาย เพื่อจะทาให้ อาหารน่ารับประทานขึ้น 7. การแกะสลักต้องพยายามรักษาคุณค่าอาหาร โดยไม่ควรแช่น้านานเกินไป การจับมีดแกะสลักผักและผลไม้ วิธีการจับมีดแกะสลักนั้น มีความสาคัญต่อชิ้นงานที่แกะสลักมาก การจับมีดแกะสลักที่ถูกต้อง จะทาให้ ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย และเพื่อความรวดเร็วในการทางาน ผลงานที่ได้ก็จะมีความ ประณีต สวยงาม การจับมีดแกะสลักมีวิธีการ ดังนี้ 24
  • 25. 1. การจับมีดแกะสลักแบบการหั่นผัก การจับมีดแบบหั่นผัก มือขวาจับมีด นิ้วหัวแม่มือวางอยู่บนสันมีด ในลักษณะสบาย ๆ อย่าให้แน่นเกินไป ไม่ต้องเกร็งมือ ใช้มือซ้ายจับวัสดุที่แกะสลักโดยให้นิ้วชี้มือซ้ายวางอยู่บนงานที่แกะสลัก ใช้นิ้วชี้มือขวา กดสันมีด นิ้วหัวแม่มือขวาคอยประคองด้ามมีดไว้ส่วนอีก 3 นิ้ว จับด้ามมีดไว้ 2. การจับมีดแบบดินสอ การจับมีดแบบดินสอ มือขวาจับด้ามมีดโดยให้นิ้วชี้กดสันมีดไว้เหลือปลายมีด ประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร นิ้วที่เหลือแตะอยู่บนงานที่แกะสลัก มือซ้ายจับงานแกะสลักตามลักษณะของงาน 25
  • 26. การเก็บรักษามีด 1. หลังใช้งานแล้วต้องทาความสะอาดทุกครั้ง วัสดุที่นามาแกะสลักบางชนิดมียาง ต้องล้างยางที่คมมีด ด้วยมะนาว หรือน้ามันพืชก่อน แล้วจึงล้างด้วยน้าให้สะอาด เช็ดให้แห้งเก็บปลายมีดในฝักหรือปลอด 2. หมั่นดูแลมีดแกะสลักให้มีความคมสม่าเสมอเวลาใช้งานแกะสลักผักและผลไม้จะได้ไม่ช้า โดยหลัง การใช้ต้องลับคมมีดทุกครั้ง เช็ดให้แห้งเก็บใส่กล่องไว้ให้พ้นมือเด็ก 3. ควรเก็บมีดแกะสลักในปลอกมีดเพื่อป้ องกันไม่ให้ปลายมีดกระทบของแข็ง จะทาให้ปลายมีดหักหรือ งอได้ิ การแกะสลักผักและผลไม้ ความหมายของคาศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการแกะสลักผักและผลไม้เป็นสิ่งจาเป็นที่นักเรียนควรทราบ ซึ่งเมื่อ พูดถึงคาศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการแกะสลักแล้ว ผู้เรียนเข้าใจความหมาย สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตาม ขั้นตอนคาศัพท์ต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นทักษะพื้นฐาน ที่นักเรียนควรทราบและควรปฏิบัติได้ 26
  • 27. การปอก การปอก หมายถึง การทาวัสดุที่มีเปลือก ต้องการให้เปลือกออก ด้วยมือหรือใช้มีด แล้วแต่ชนิดวัสดุ เช่น ใช้มือปอกกล้วยหรือส้ม ถ้าเป็นของที่ใช้มีดก็จับมีดมือหนึ่ง อีกมือหนึ่งจับของที่จะปอก แล้วกดมีดลงที่ เปลือกให้คมมีดเดินไปตามเปลือกเรื่อยไปจนสุดเปลือกของสิ่งนั้นๆ เช่นปอกมะเขือเทศ ปอกแตงโม เป็น ต้น การฝึกทักษะ การปอก (การปอกมะเขือเทศเป็นดอกกุหลาบ) วัสดุและอุปกรณ์ 1. มะเขือเทศ 4. ถาดรอง 2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า 3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด 27
  • 28. ขั้นตอนการทา 1. ใช้มีดแกะสลักปอกผิวมะเขือเทศเริ่มต้นจากขั้วของมะเขือเทศ 2. ปอกมะเขือเทศ ให้ตัดเนื้อเล็กน้อย ปลายโค้ง 3. ปอกรอบผล เส้นระยะให้เท่ากันจนถึงปลายผล 4. ม้วนกลีบกุหลาบโดยเริ่มที่ปลายผล 5. ม้วนจนหมด เส้นที่ปอก ใช้ส่วนตรงขั้วผลรองรับกลีบดอกกุหลาบ จัดกลีบให้เข้าที่สวยงาม 28
  • 29. การจัก การจัก หมายถึง การทาวัสดุให้เป็นแฉกหรือฟันเลื่อย โดยใช้มีดแกะสลักกดลงบนส่วนกลางของวัสดุนั้น ให้แยกออกจากกัน หรือใช้เครื่องมือแหลมแทงตรงที่ต้องการ เช่นการจักหอมหัวใหญ่ การจักละมุด การฝึกทักษะ การจัก (การจักหอมหัวใหญ่) 29
  • 30. วัสดุและอุปกรณ์ 1. หอมหัวใหญ่ 4. ถาดรอง 2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า 3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด ขั้นตอนการทา 1. ปอกหอมหัวใหญ่ ล้างให้สะอาด 2. ใช้ปลายมีดแกะสลักจักซิกแซ็ก ตรงกลางหัว ตามขวางจนรอบหัว ให้มีระยะที่เท่าๆกัน 3. ค่อยๆ ดึงหอมหัวใหญ่ให้แยกออกจากกันเป็น 2 ส่วน 30
  • 31. 4. ปาดเนื้อด้านล่าง ออกเล็กน้อย ให้ตั้งได้และนาไปล้างน้าเย็นจัด การกรีด การกรีด หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ให้เป็นรอยแยก หรือขาดออกจากกัน โดยใช้ของแหลมคมกด ลงบนวัสดุนั้น แล้วลากไปตามความต้องการ การฝึกทักษะ การกรีด (การกรีดพริกชี้ฟ้าเป็นดอกหน้าวัว) 31
  • 32. วัสดุและอุปกรณ์ 1. พริกชี้ฟ้า 4. ถาดรอง 2. มีดแกะสลัก 5. อ่างใส่น้า 3. เขียง 6. ผ้าเช็ดทาความสะอาด ขั้นตอนการทา 1. ล้างพริกให้สะอาด ใช้มีดควั่นโดยรอบขั้วพริก อย่าให้ขาด 2. กรีดตามยาว จากโคนจรดปลาย 3. ใช้ปลายมีดแคะเมล็ดพริกออก ระวังอย่าให้ กลีบขาด 32
  • 33. 4. ดึงเม็ดพริกที่ติดกับก้านออก 5. เจียนพริก ช่วงโคนให้มนและเว้นตรงกลาง แช่น้าให้กลีบแข็ง 6. ใช้ปลายมีด เจาะพริก ให้ต่าจากรอยเว้าเล็กน้อย 7. นาเมล็ดพริกที่ติดกับก้านมาใส่เป็นเกสร 8. เกสรเมื่อเสียบเสร็จแล้วดังรูป 33
  • 34. การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ การตัด หมายถึง การทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งต้องการให้เป็นท่อนสั้นยาวตามต้องการ โดยใช้มือหนึ่งจับมีด และอีกมือหนึ่งจับวัสดุวางบนเขียง แล้วกดมีดลงบนวัสดุให้ขาดออกจากกัน การฝาน หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นแผ่นหรือชิ้นบาง โดยใช้มือจับของไว้ในฝ่ามือหรือวาง บนเขียง แล้วใช้อีกมือหนึ่งจับมีดกดลงบนของนั้นให้ตรง มีความบางมากหรือน้อยตามต้องการ การเจียน หมายถึง การทาให้รอบนอกของวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งเรียบไม่ขรุขระ หรือเป็นรูปทรงต่างๆ การเซาะ หมายถึง การทาให้เป็นรอยลึกหรือรอยกว้าง เช่น เซาะเป็นรอยตามประสงค์ โดยใช้มือข้างหนึ่ง จับวัสดุนั้น แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งจับมีด ให้ทางคมกดกับวัสดุนั้น ไถไปด้วยความเร็วเพื่อให้วัสดุขาดและ เรียบ การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ 34
  • 35. การฝึกทักษะ การตัด การฝาน การเจียน การเซาะ (แตงร้านเป็นรูปใบไม้พลิ้ว) วัสดุและอุปกรณ์ 1. แตงร้าน 4. ถาดรอง 2. มีดแกะสลัก 5. ผ้าเช็ดทาความสะอาด 3. เขียง 6. อ่างใส่น้า ขั้นตอนการทา 1. ตัดแตงร้านให้เป็นเส้นเฉียง (การตัด) 2. ตัดแตงร้านให้ขาดออกจากกัน 35
  • 36. 3. ฝานเมล็ดออก (การฝาน) 4. ตัดตกแต่งแตงร้านให้เป็นรูปใบไม้เจียนตกแต่งใบไม้ให้บาง (การ เจียน) 5. เซาะร่องเส้นกลางใบ ให้เป็นแนวคู่ 6. เซาะเส้นกลางใบ ให้ปลายแหลม (การเซาะ) 7. หยักริมใบทั้งสองข้าง 36
  • 37. 8. ใบไม้ที่พลิ้วที่สาเร็จ ใบจะมีลักษณะโค้งเล็กน้อย ปลายใบดู อ่อนไหว ตามธรรมชาติ การเกลา การแกะสลัก การเกลา หมายถึง การตกแต่งวัสดุที่ยังไม่เกลี้ยงให้เรียบร้อยยิ่งขึ้น โดยใช้มีดนอนหันคมออก ฝานรอยที่ ขึ้นเป็นสันและขรุขระให้เกลี้ยง การแกะสลัก หมายถึง การทาวัสดุสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกจากกัน หรือใช้เครื่องมือที่แหลมคม กดทางคมลง บนวัตถุนั้นตามความประสงค์เป็นลวดลายสวยงามต่างๆ หรือการใช้เล็บมือค่อยๆแกะเพื่อให้หลุดออก การเกลา การแกะสลัก 37
  • 38. การฝึกทักษะ การเกลา การแกะสลัก (การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่) วัสดุและอุปกรณ์ 1. ฟักทอง 4. ถาดรอง 2. มีดแกะสลัก 5. ผ้าเช็ดทาความสะอาด 3. เขียง 6. อ่างใส่น้า ขั้นตอนการทา 1. ตัดฟักทองให้เป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตัดเหลี่ยมทั้ง 4 ด้านออก 2. เกลาชิ้นฟักทอง ให้มีลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลม 38
  • 39. 3. แกะสลักเกสรโดยใช้มีดปัก 90 องศา และปาดเนื้อออก 4. แกะสลักเกสรหันปลายกลีบเข้าหาจุดศูนย์กลาง ปาดเนื้อกลางกลีบ ให้เป็นร่อง 5. แบ่งระยะกลีบ ปาดเนื้อกลางกลีบให้เป็นร่อง และแกะสลักกลีบให้ ปลายแหลม 6. ดอกรักเร่กลีบด้านข้าง จากโค้งเล็กน้อย มีปลายแหลม ปาดเนื้อใต้ กลีบออกทุกครั้ง กลีบจึงจะเด่น 7. แกะสลักกลีบชั้นต่อไป ให้สับหว่าง เช่นนี้จนจบ 39
  • 40. การคว้าน การคว้าน หมายถึง การทาวัสดุซึ่งมีส่วนเป็นแกนหรือเมล็ดให้ออกจากกัน โดยใช้เครื่องมือที่มีปลาย แหลมและคมแทงลงตรงจุดที่ต้องการคว้าน แล้วขยับไปรอบๆ จนแกนหลุดค่อยๆ แคะหรือดุนออก เช่น การคว้านเงาะ การฝึกทักษะ การคว้าน (การแกะสลักแตงร้านเป็นดอกทิวลิป) วัสดุและอุปกรณ์ 1. แตงร้าน 5. เขียง 2. ต้นหอม 6. อ่างใส่น้า 3. มีดแกะสลัก 7. ผ้าเช็ดทาความสะอาด 4. ถาดรอง 40
  • 41. ขั้นตอนการทา 1. ตัดแตงร้านส่วนปลาย แบ่งออกเป็น 3 กลีบ ใช้มีดคว้านไส้ออก (การคว้าน) 2. ใช้มีดเจียนกลีบให้ปลายมน 3. จักริมกลีบให้เป็นฟันปลา 4. เจาะกลีบเล็กในกลีบใหญ่ ให้โค้งตามกลีบรอบนอก 5. ใช้ปลายมีดกดกลีบเล็กเข้าด้านใน นาไปแช่น้าให้กลีบบาน 41
  • 42. 6. ตัดใบหอมทาเกสร ยาวพอประมาณกรีดให้เป็นเส้นฝอยแช่น้าให้ บาน นามาวางตรงกลางดอกเป็นเกสร การเลือกซื้อผักและผลไม้ที่ใช้ในงานแกะสลัก 1. เลือกตามฤดูกาลที่มี จะได้ผักและผลไม้ที่มีปริมาณให้เลือกมาก มีความสดและราคาถูก 2. เลือกให้ตรงกับความต้องการหรือวัตถุประสงค์ในงานแกะสลัก เช่น เพื่อการปอก คว้าน เพื่อการ รับประทาน เพื่อการตกแต่งหรือเพื่อเป็นภาชนะ 3. เลือกผักและผลไม้ที่สด และสวยตามลักษณะของผักและผลไม้ที่แกะสลัก 4. เลือกให้มีขนาดและรูปทรงเหมาะสมกับผลงานที่จะแกะสลัก ผักและผลไม้นั้นมีมากมายหลายชนิด แต่ที่นิยมนามาแกะสลัก จะเพื่อใช้ในงานอาหารเท่านั้น การเลือกซื้อตามชนิด และการดูแลรักษาผัก-ผลไม้ แตงกวา เลือกผิวสดสีเขียวปนขาวไม่เหลือง สามารถนามาแกะสลักได้หลายรูปแบบ เช่น กระเช้าใส่ดอกไม้ ดอกไม้ ใบไม้ เมื่อแกะเสร็จให้ล้างด้วยน้าเย็นใส่กล่องแช่เย็นไว้ หรือใช้ผ้าขาวบาง ชุบน้าคลุมไว้จะได้สดและกรอบ มะเขือเทศ เลือกผลที่มีผิวสด ขั้วสีเขียว นามาแกะสลักเป็นดอกไม้ หรือปอกผิวนามาม้วนเป็นดอก กุหลาบ เมื่อแกะเสร็จควรล้างด้วยน้าเย็น ใส่กล่องแช่เย็น 42
  • 43. มะเขือ เลือกผลที่มีผิวเรียบ ไม่มีรอยหนอนเจาะ ขั้วสีเขียวสด นามาแกะเป็นใบไม้ ดอกไม้เมื่อแกะ เสร็จควรแช่ในน้ามะนาวหรือน้ามะขาม จะทาให้ไม่ดา แครอท เลือกสีส้มสด หัวตรง นามาแกะเป็นดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ต่างๆ เมื่อแกะเสร็จให้แช่ไว้ในน้าเย็น ขิง เลือกเหง้าที่มีลักษณะตามรูปร่างที่ต้องการ แกะเป็นช่อดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ เมื่อนาขิงอ่อนไปแช่ใน น้ามะนาวจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูสวย มันเทศ เลือกหัวที่มีผิวสด ไม่มีแมลงเจาะ แกะเป็นรูปสัตว์ต่างๆ แกะเสร็จแล้วนาไปแช่ในน้ามะนาว หรือน้ามะขาม ผิวจะได้ไม่ดา เผือก เลือกหัวใหญ่กาบสีเขียวสด นามาแกะเป็นภาชนะใส่ของ หรืออาหาร ดอกไม้ ใบไม้ เมื่อแกะ เสร็จให้นาไปแช่ในน้ามะนาวหรือน้ามะขามจะทาให้มีสีขาวขึ้น ฟักทอง เลือกผลแก่เนื้อสีเหลืองนวล นามาแกะเป็นภาชนะ ดอกไม้ ใบไม้ หรือสัตว์ต่างๆ แกะเสร็จ แล้วให้ล้างน้าแล้วใช้ผ้าขาวบางชุบน้าคลุมไว้ มันฝรั่ง เลือกผิวสด นามาแกะเป็นใบไม้ ดอกไม้ สัตว์ต่างๆ เมื่อปอกเปลือกแล้วให้แช่ไว้ในน้ามะนาว จะได้ไม่ดา แตงโม เลือกผลให้เหมาะกับงานที่ออกแบบไว้ นามาแกะเป็นภาชนะแบบต่างๆ เมื่อแกะเสร็จให้ใช้ผ้า ขาวบางชุบน้าคลุมไว้ เงาะ นามาคว้านเอาเมล็ดออก ใช้วุ้นสีสันต่างๆ หรือสับปะรด หรือเนื้อแตงโม ยัดใส่แทน เมื่อแกะ เสร็จให้นาไปแช่เย็น ละมุด เลือกผลขนาดพอดี ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป ไม่สุกงอม แกะเสร็จให้นาไปแช่ในตู้เย็น 43
  • 44. สับปะรด เลือกผลใหญ่ ไม่ช้า แกะเป็นพวงรางสาดได้สวยงาม แกะเสร็จให้ล้างด้วยน้าเย็นและนาไป แช่เย็น ส้ม เลือกผลใหญ่ แกะเป็นหน้าสัตว์ เช่น แมวเหมียว หลักการดูแลรักษาผักและผลไม้ก่อนและหลังการแกะสลัก ผักและผลไม้ที่ใช้ในงานแกะสลักมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป จึงควรได้รับการดูแลรักษาอย่างดี ตั้งแต่ ขั้นตอนก่อนแกะสลัก ในระหว่างการแกะสลักและหลังการแกะสลัก เพื่อให้มีสภาพที่น่ารับประทาน ตลอดจนสงวนคุณค่าทางโภชนาการไว้ได้ซึ่งมีวิธีการดูแลรักษาดังนี้ 1. ผักและผลไม้ที่ซื้อมาต้องล้างให้สะอาดก่อนนาไปแกะสลัก ไม่ควรแช่ผักผลไม้ไว้ในน้านานเกินไป เพราะจะทาให้ผักและผลไม้เน่าและช้าง่าย เมื่อแกะสลักเรียบร้อยแล้ว ควรแยกผักและผลไม้ที่เก็บไว้เป็น ประเภท 2. การป้ องกันผักและผลไม้ที่มีลักษณะรอยดาหรือเป็นสีน้าตาลตามกลีบที่ถูกกรีด อาจจุ่มน้าเปล่าที่เย็น จัด น้าเกลือเจือจาง หรือน้ามะนาว เพื่อช่วยชะลอการเกิดรอยดาหรือสีน้าตาล 3. ผักและผลไม้ที่แกะสลักเรียบร้อยแล้วควรล้างน้าเย็นจัด แล้วจึงนาไปจัดตกแต่งหรือนาไปถนอม อาหารเพื่อใช้ในโอกาสต่อไป ถ้ายังไม่ใช้งานควรเก็บใส่ถุงพลาสติก ปิดปากถุง หรือเก็บใส่กล่องปิดฝา ให้สนิท นาไปเก็บในตู้เย็น 4. เมื่อจัดงานแกะสลักใส่ภาชนะเรียบร้อยแล้ว ให้คลุมด้วยพลาสติกห่ออาหารแล้วนาไปเก็บในตู้เย็น 44
  • 45. ประโยชน์ของงานแกะสลักผักและผลไม้ 1. เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น 1.1 จัดตกแต่งผักและผลไม้ให้สวยงามน่ารับประทาน 1.2 จัดแต่งให้สะดวกแก่การรับประทาน 2. เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น 2.1 งานประเพณีต่างๆ นิยมจัดตกแต่งอาหารคาวหวานให้สวยงาม เพื่อเลี้ยงพระหรือรับรองแขก เช่น งานบวชนาค งานแต่งงาน งานวันเกิด งานฉลองแสดงความยินดี 2.2 งานวันสาคัญ เช่น งานปีใหม่ หรือแกะสลักผลไม้เชื่อม/แช่อิ่ม ใส่ภาชนะที่เหมาะสมใช้เป็นของขวัญ ของฝาก ไปกราบญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ 2.3 งานพระราชพิธีต่างๆ 3. เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น เป็นช่างแกะสลักผักและผลไม้ตามร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม หรือบนสายการบินระหว่างประเทศ 4. เพื่อเป็นแนวทางในการดารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ไทย 5. เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย 45
  • 46. บทที่ 3 วิธีดาเนินการ จากการที่ศึกษาข้อมูลจากคณะอาจารย์ผู้สอนและได้ศึกษาข้อมูลจากยูทูปและสื่อวิดิโอการสอนแกะสลัก และได้จาสูตรวิธีการแกะจากสื่อต่างๆและศึกษาวิธีการแกะลายต่างๆและวิธีการเก็บรักษาชิ้นงานและ ศึกษาข้อมูลการทาเว็บการตัดต่อวีดีโอจากอาจาร์ผู้ชานานการและนามาดัดแปลงและคิดค้นหาวิธีการ แกะสลักและวีการประยุกต์การแกะสลักและทาสือวีดีโอ วิธีการแกะสลัก ลาดับ วัสดุ/อุปกรณ์ จานวณ 1 มีดแกะสลัก 1ด้าม 2 มีดปลอก 1ด้าม 3 ถาดรองผักผลไม้ 1ใบ 4 ผ้าเช็ดอุปกรณ์ 1ผืน 5 แครอท 10 หัว โดยมีวีการขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.แกะสลักทรงดอกข่าลายเกล็ดปลา 1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก
  • 50. 1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบ 1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดบทากลีบแหลมโดยทาสับหว่างและทาแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนเสร็จ 3.แกะสลักรูปทรงดอกข่าลายหยดน้า 1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก 1.2นาแครอทไปเกลาให้เป็นรูปทรงดอกข่า 50
  • 54. 1.6จากนั้นกะกึ่งกลางระหว่างกลีบเลี้ยงเพื่อที่จะทากลีบดอกโดยทาให้ครบ4กลีบเหมือนกลีบเลี้ยง 1.7จากนั้นร่างระหว่างกลีบเลี้ยงกับกลีบดอกโดยทากลีบย้อยเหมือนหยดน้าและบากระหว่างกึ่งกลางเพื่อ ทากลีบ2ชั้นโดยทาสับหว่างและทาแบบนี้ไปเรื่อยๆจนเสร็จ 5.แกะสลักทรงดอกบัวลายหยดน้า 1.1นาแครอทที่เราเตรียมไว้นาไปล้างและปลอกเปลือก 54
  • 56. 1.6จากนั้นเกลาให้มนแล้วทากลีบเลี้ยงให้โค้งเข้ามาจนถึงกึ่งกลางระหว่างแครอท ขั้นตอนต่อไปคือการถ่ายทา ลาดับ วัสดุ/อุปกรณ์ จานวณ 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) 1 2 อินเตอร์เน็ต(Internet) 1 3 กล้องสาหรับถ่าย วีดีโอ 1 4 โปรแกรมWindows Movie Maker(สาหรับสร้างvdo) 1 5 แผ่น วีดีโอ เปล่า 1 6 กล้องสาหรับใส่แผ่น dvd 1 7 ปริ้นเตอร์ (Printer) 1 56
  • 57. วิธีการสร้างสื่อการสอนการแกะสลัก 1เริ่มจากการถ่ายทาเพื่อสร้างวีดีโอ ขึ้นมาโดยทาตามขั้นตอนการแกะสลักข้างต้น 2หลังจากที่เราได้ filevdo มาแล้ว สิ่งอืนที่ต้องเตรียมอีกก็คือ 1.รูปภาพ สกุล jpg. ไม่จากัดจานวนภาพ แต่ต้องคานึงถึงความจุ และขนาดของภาพอย่าให้มาก เกินไป นามาเก็บไว้ในแฟลชไดร์ หรือ My computer ของเรา 2.เพลงประกอบ สกุล MP3 จะง่ายสุด เก็บไว้ที่เดียวกันกับไฟล์รูปภาพ 3เริ่มดาเนินการสร้างสรรค์ชิ้นงาน!! โดย 1.จากหน้าจอ Desktop คลิกที่ start (ด้านมุมซ้ายล่างขอ หน้าจอ)เลือก All Programs มองหาโปรแกรม Windows Movie Maker จากนั้นให้คลิกที่ชื่อโปรแกรม จะ ปรากฏหน้าจอโปรแกรมWindows Movie Maker เพื่อใช้เริ่มการทางาน 57
  • 58. 4ดึงไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราที่ต้องการนามาทาชิ้นงาน วางไว้ในส่วนพื้นที่ collectionตามจานวนที่ ต้องการ 5 .เลือกภาพเรียงตามลาดับความต้องการมาจัดวางใน drag media to the show timeline to begin… จากนั้นให้ใส่ลูกเล่น ทั้งที่เป็น effects และ transitions โดยไปที่ เมนู edit movie จากนั้นให้เลือกใส่ลูกเล่น ได้ตามต้องการ .เมื่อตกแต่งชิ้นงานรูปภาพของท่าน เรียบร้อยแล้วให้ 58
  • 59. 6.เพิ่ม credit (make titles or credits) บริเวณส่วนต่างๆของรูปภาพ ได้แก่ ส่วนหน้าสุดของภาพชิ้นงาน, ส่วนระหว่างภาพ, ส่วนในรูปภาพ และส่วนจบชิ้นงานรูปภาพ ซึ่งต้องคานึงให้ข้อความ กับรูปภาพเนื้อหา สอดคล้องกันเราสามารถเลือกใส่ credit ได้ตามความพอใจ หรือไม่ใส่ส่วนใดก็ได้ 7.เพิ่มเสียงประกอบ(เพลง) โดยให้กลับไปที่ เมนู edit movie เลือก Show collection (หน้าหลักที่มีไฟล์ รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราอยู่) จากนั้นดึงเสียงเพลงที่ต้องการมาจัดวางที่ส่วนการสร้างชิ้นงาน (ส่วน show storyboard) 8.ปรับระดับความยาวของภาพ หรือเสียงเพลงให้เหมาสมกัน สามารถใช้วิธีการ ตัดทอนเพลงให้สั้นลง โดยคลิกที่ไฟล์เพลงค้างไว้จากนั้นกดลากเมาส์ที่เนื้อเพลง (หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ หรือ หรือ 59
  • 60. ขยายไฟล์ภาพให้ขยายกว้างขึ้น ให้พอเหมาะกับเพลงประกอบ โดยคลิกที่ไฟล์ภาพแล้วกดเมาท์ค้าง ไว้จากนั้นลากรูปภาพที่ต้อง (หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ 9.เมื่อได้ชิ้นงานดังใจหวังแล้ว ให้ Save ชิ้นงานเป็น 2 ลักษณะ คือ save project กับ save project movie ดังนี้ *9.1 ไปที่ file เลือก save project (เก็บเพื่อสามารถนากลับมาแก้ไขได้ใหม่)ชิ้นงานไว้ที่ My video หรือ เก็บใน USB *9.2 ไปที่ file เลือก save project movie (ชิ้นงานสามารถนาไปใช้ได้เลย) สรุปผลการทดลองของสมาชิกกลุ่ม 1.คุณภาพของเสี่ยงและภาพไม่ชัด ควรพูดช้าๆชัดๆไม่เร็วเกินไป 2.ระยะเวลาของการนาเสนอเร็วเกินไป อธิบายขั้นให้มากขึ้นเพื่อที่จะเพิ่มระยะเวลาของสื่อ 3.มีการนาเสนอข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน ควรหาวิธีนาเสนอให้มากและเข้าใจง่าย 4.ให้ความรู้เกียวกับอุปกรณ์น้อยเกินไป ควรหาข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์การแกะสลักให้มากขึ้น 5.ประวัติเบื้องต้นมีความเข้าใจอยากเกินไป ควรหาประวัติขอการแกะสลักเพิ่มขึ้นและให้มากกว่าเก่า 6.ประโยชน์ที่จะนามาใช้น้อยเกินไป ในวีดีโอควรบอกประโยชน์และวิธีประยุกค์ของการแกะสลัก 7. เพลงที่นามาประกอบไมเหมาะสมกับสื่อการสอน ควรใช้เพลงที่มีความเหมาะสมกับชิ้นงานเช่นเพลง ไทยเดิมและมีความยาวเหมาะสมกับ วีดีโอ 60
  • 61. งบประมาณวันที่ 13 สิงหาคม 2556 ลาดับ รายการ ราคาสุทธิ์ 1 ค่าแครอท 134 บาท 2 ค่า internet 599 บาท 3 ค่าแผ่น วีดีโอ เปล่า จานวณ 2แผ่น 30 บาท 4 ค่ากล่องเปล่าใส่แผ่น วีดีโอ 10 บาท 5 ค่าปริ้น รวม 768 บาท 61
  • 62. บทที่ 4 การสารวจ และประเมินผล จากที่ได้จัดทาแบบสอบถามเพื่อทาการประเมินผล จากประชากรเป็นนักศึกษาภาคปกติ ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ ในพระอุปถัมภ์ฯ ทั้งหมด 1,200 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง (Sampling) จึงได้จานวน กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 84 คน ใช้หลักการคานวณสูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane , 1973 : 727-728) และ ของ R. VKrejcie and D.W. Morgan เพื่อป้ องกันการผิดพลาดจึงกาหนดให้ทาการสารวจกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจานวน 50 คน แต่ทั้งนี้ ทาง สมาชิกเห็นว่าจะเป็นการใช้งบประมาณ วัตถุดิบมากเกินไป เนื่องจากผลิตภัณฑ์มีถึง 3 หน้า เพื่อให้ทาการ ประเมินความพึงพอใจ จึงได้ทาการสารวจทั้งหมด 50 คน แต่ทาแบบกระจายกลุ่มตัวอย่าง
  • 63. 1. ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ ชาย หญิง ตาแหน่งหน้าที่ / ระดับการศึกษา อาจารย์ นักศึกษาระดับชั้น ปวช. ............. นักศึกษาระดับชั้น ปวส. ............. หมายเหตุ ระดับความคิดเห็น 5 หมายถึงเหมาะสมมากที่สุด ระดับความคิดเห็น 4 หมายถึงเหมาะสมมาก ระดับความคิดเห็น 3 หมายถึงเหมาะสมปานกลาง ระดับความคิดเห็น 2 หมายถึงเหมาะสมน้อย ระดับความคิดเห็น 1 หมายถึงเหมาะสมน้อยที่สุด 2. ให้ทาเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็น รายการ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1คุณภาพของเสียง ภาพ 2มีการนาเสนอที่หลาหหลาย 3ระยะเวลานาเสนอของ video ที่เหมาะสม 4ให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการแกะสลักได้ดี 5ทราบประวัติเบื่องต้นของการแกะสลัก 6สามารถนาความรู้ที่ได้จากสื่อไปประยุกค์ใช้ได้ 8เพลงที่นามาประกอบมีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................................................................................... 63