SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยที่ 4 เรื่อง รู้รักษ์ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ว 23101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มัธ ย ม ศึก ษ า ต อ น
ต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 13 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1
………………………………………………….
1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ว 2.2 เข้าใจความสำา คัญของทรัพยากรธรรมชาติการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำาความรู้ไป
ใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน
ว 2.2 ม . 3/1 วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ว 2.2 ม. 3/2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศ
ว 2.2 ม. 3/3 อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
ว 2.2 ม . 3/4 วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ช้
ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ว 2.2 ม. 3/5 อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนว
ทางการแก้ปัญหา
ว 2.2 ม. 3/6 อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
2. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด
ศึกษาวิเคราะห์อภิปรายอธิบายสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นที่เกิดจากการกระทำาของธรรมชาติ
และมนุษย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควร
มีแนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้อง
มีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ให้มีปริมาณ
สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสมการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน และการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศ การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้
ซำ้า นำากลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคำานึงถึงหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท
โดยคำานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการเตรียมตัวให้พร้อม
ที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจ
เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของปัญหา
เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้
ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิด
ชอบของทุกคน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ให้กับชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ได้รับข้อมูลข่าวสาร
ที่ถูกต้อง สามารถช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
ได้อย่างยั่งยืน มีความสามารถในการตัดสินใจ ที่จะแก้ปัญหาจาก
ความร่วมมือของทุกฝ่ายเห็นคุณค่าของการนำา ความรู้ไปใช้
ประโยชน์ ในชีวิตประจำาวันและเห็นคุณค่าของการใช้ชีวิตอยู่อย่าง
พอเพียง
3. สาระการเรียนรู้
- สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิด
จากการกระทำาของธรรมชาติและมนุษย์
- ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ที่เกิดขึ้น ควรมี
แนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน
- ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต ผู้
บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ให้มีปริมาณสัดส่วน และการกระจายที่
เหมาะสม
- การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และการดูแลรักษา
สภาพแวดล้อม เป็นการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
- การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า นำา
กลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม
ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
-การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคำานึงถึงหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท
โดยคำานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการเตรียมตัวให้
พร้อมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
- ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางดิน
- แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของ
ปัญหา เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมใน
การปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น
- การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับ
ความร่วมมือจากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน
4. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร (การนำาเสนองาน)
- ความสามารถในการคิด
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- ความสนใจใฝ่รู้
- มุ่งมั่น อดทน รอบคอบ
- ความรับผิดชอบ มีวินัย
- อยู่อย่างพอเพียง
- ความมีเหตุผล ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิด
เห็นของผู้อื่น
- การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
6. ชิ้นงาน / ภาระงาน
ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน
ว 2.2 ม.
3/1
- รายงานการสำารวจ
สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
- รายงานการอภิปราย
แนวทางการดูแลรักษา
และป้องกันปัญหา
- การวิเคราะห์สภาพปัญหา
สิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติในท้อง
ถิ่น
- การอภิปรายแนวทางการ
ดูแลรักษาและป้องกันปัญหา
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ทรัพยากรในท้องถิ่น
ของตนเอง
ทรัพยากรในท้องถิ่นของ
ตนเอง
ว 2.2 ม.
3/2
- รายงานผลการ
อภิปรายแนวทางการ
รักษาสมดุลของระบบ
นิเวศและการนำาเสนอ
- การวิเคราะห์การรักษา
สมดุลของระบบนิเวศและ
การนำาเสนอการรักษาสมดุล
ของระบบนิเวศ
ว 2.2 ม.
3/3
-ใบกิจกรรมที่ 3. 1
เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
-ใบกิจกรรมที่ 3. 2
เรื่อง แผนที่ความคิด
การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
-การอภิปราย 1 เรื่อง การ
ใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
-การวิเคราะห์ใบกิจกรรมที่
3. 1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากร ธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
-การเขียนแผนที่ความคิด
เรื่อง การใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ว 2.2 ม .
3/4
- รายงานแนวทางการ
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
- ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ใ ช้
ทรัพยากรธรรมชาติตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
- การนำา เสนอวิธีการใช้
ทรัพยากร ธรรมชาติตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
ว 2.2 ม .
3/5
- แบบบันทึกการนำาข้อ
สรุปปัญหาสิ่งแวดล้อม
- แบบบันทึกแนวทาง
ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า สิ่ ง
แวดล้อม
- การอภิปรายปัญหาสิ่ง
แวดล้อม
- การเสนอแนะแนวทางการ
แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ว 2.2 ม .
3/6
ใบกิจกรรม 6.1 เรื่อง
แนวทางการมีส่วนร่วม
ในการดูแลและอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน
- ศึกษา / อภิปราย
- ทำาใบกิจกรรม 6.1 เรื่อง
แนวทางการมีส่วนร่วมใน
ก า ร ดู แ ล แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง
แวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน
10. การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง
ตัว ชี้วัด ว 2.2 ม. 3/1 วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่นและเสนอแนวทางในการแก้ไข
ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่ 1 (1 ชั่วโมง)
1. มอบหมายนักเรียนสำา รวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรในท้องถิ่น ดังนี้
1.1 แบ่งกลุ่มนักเรียนในการสำารวจชุมชน โดยกำาหนดให้
นักเรียนที่มีบ้านอยู่ใกล้เคียงกันอยู่กลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวก
ปลอดภัย และประหยัดค่าเดินทางในการดำาเนินงาน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
1.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบใบบันทึกการสำารวจชุมชน
ตามบริบทชุมชนของตนเอง และตามความสนใจของสมาชิกภายใน
กลุ่ม
1.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนการสำารวจชุมชนโดยครู
คอยให้คำาแนะนำาอย่างใกล้ชิด และต้องเน้นถึงความปลอดภัยในการ
เดินทางและการสำารวจให้มากที่สุด
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มาก
ที่สุด จากนั้นช่วยกันวิเคราะห์สภาพปัญหานั้นๆ ว่าเกิดจากการกระทำา
ของมนุษย์หรือธรรมชาติ
3. นักเรียนเขียนรายงานการสำารวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยกำาหนดให้นักเรียนเขียนรายงานด้วยลายมือ
ของตนเอง และเน้นความพอประมาณโดยการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่
นักเรียนมีอยู่แล้ว เช่นใช้กระดาษที่เขียนแล้ว 1 หน้ามาเขียนรายงาน
เป็นต้น
ครั้งที่ 2 (1 ชั่วโมง)
1. นักเรียนรายงานผลการสำารวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากรธรรมชาติหน้าชั้น
เรียน ครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมอภิปรายซักถามเพื่อความ
ชัดเจนของข้อมูล
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาแนวทางในการดูแลและ
ป้องกันโดยมีข้อตกลงร่วมกัน
ดังนี้
2.1 แนวทางที่นักเรียนเลือกนำามาใช้ นักเรียนและชุมชน
ของนักเรียนจะต้องมีส่วน
ร่วมในการดำาเนินงาน
2.2 แนวทางนั้นต้องเป็นแนวทางที่นักเรียนและชุมชน
สามารถทำาได้จริง
2.3 นักเรียนต้องคำานึงถึงงบประมาณที่ใช้ว่ามีความพอ
ประมาณกับศักยภาพของตนเองและชุมชนหรือไม่
3. นักเรียนเขียนรายงานผลการอภิปรายการหาแนวทางการ
ดูแลรักษาและป้องกันปัญหา
ทรัพยากรในท้องถิ่นของตนเอง โดยเน้นการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่
นักเรียนมีอยู่แล้ว เช่นใช้กระดาษที่เขียนแล้ว 1 หน้ามาเขียนรายงาน
เป็นต้น
ครั้งที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศ
กิจกรรมการเรียนรู้
1.ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบนิเวศ
2.นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ เปรียบเทียบสภาพชุมชนที่มีระบบ
นิเวศที่สมดุลและชุมชนที่มี
ระบบนิเวศขาดความสมดุล ในประเด็นต่อไปนี้
- ผู้ผลิต
- ผู้บริโภค
- ผู้ย่อยสลาย
3.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน
ว่า ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมทั้งจำานวน ผู้ผลิต
ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลายอินทรีย์ ให้มีปริมาณสัดส่วนและการกระ
จายที่เหมาะสม
4.แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อหาแนวทางในการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศในชุมชนของตนเอง
โดยมีแนวการดำาเนินงาน ดังนี้
4.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มเองโดยให้มีสมาชิกในกลุ่มที่คละ
ความสามารถ ถ้านักเรียนแบ่งกลุ่มได้ไม่เหมาะสมให้ครู
ช่วยแนะนำานักเรียนให้จัดกลุ่มได้อย่างเหมาะสม เท่าเทียม
กัน
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนดำาเนินงานโดยให้สมาชิก
ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบภายในกลุ่มที่เหมาะสมตามความ
สามารถของแต่ละคน
4.3 กำาหนดเวลาในการทำากิจกรรมการวิเคราะห์การรักษา
สมดุลของระบบนิเวศในชุมชนของตนเองไว้ 20 นาที
นักเรียนจะต้องมีการวางแผนการทำางานให้เหมาะสมกับ
เวลาที่กำาหนดให้
5.นักเรียนรายงานผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน โดยกำาหนด
เวลาไว้กลุ่มละ 3-5 นาที
ครั้งที่ 3 เวลา 2 ชั่วโมง
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/3 อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน กิจกรรมการเรียนรู้
1) แบ่งกลุ่มนักเรียน โดยแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละความ
สามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน
1.1) นักเรียนแต่ละกลุ่มรับใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
1.2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการอภิปราย
คัดเลือกปัญหาที่มี
ผลกระทบต่อชุมชนมากที่สุด ตามข้อกำาหนดในการดำาเนินการ
2) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืนและร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม เพื่อทำาใบกิจกรรมที่ 3.1
เรื่อง แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
3) อาสาสมัครแต่ละกลุ่ม นำาเสนอผลการทำากิจกรรมที่ 3. 1
หน้าชั้นเรียน กลุ่มละ
5 นาที
4) ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายถึงแนวทางการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยเติมเต็มแต่ละกลุ่มที่ มีปัญหาแตกต่างกันเป็น
ไป โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
5) ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปแนวทางการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ในรูปแบบแผนที่ความคิด ในใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความ
คิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
7) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้
ห้องสมุดวิทยาศาสตร์
ตามหลักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้หลักความ
พอเพียง
ครั้งที่ 4 เวลา 3 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/4 วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมการเรียนรู้
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับภาระ
งานและกิจกรรมการ
เรียนรู้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากรณีตัวอย่าง ของ
กิจกรรมหรือโครงการที่สามารถนำา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากใบความรู้ เรื่อง โครงการในพระราชดำาริ
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงจากกรณีตัวอย่างที่ศึกษาจากใบความรู้ เช่น
โครงการแกล้งดิน โครงการแก้มลิง หญ้าแฝก อนุรักษ์ดินและนำ้าโดย
วิเคราะห์และอธิบาย ลงในกระดาษบรู๊ฟ โดยเน้นให้นักเรียนใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำางานอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยกำาหนดเวลาให้
20 นาที โดยมีข้อตกลงกับนักเรียนว่าควรเลือกหัวข้อที่จะวิเคราะห์
ไม่ให้ซำ้ากัน ถ้าซำ้ากันไม่ควรเกิน 2 กลุ่มต่อ 1 เรื่อง เพื่อนักเรียนจะ
ได้รับทราบข้อมูลที่หลากหลายในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบวิธีการนำาเสนอหน้าชั้นเรียน โดย
ใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่
ในหรือนอกห้องเรียน แต่ห้ามเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่ซื้อใหม่ มาประกอบ
การนำาเสนอภายในเวลาที่กำาหนดเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่มกัน
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปผลที่ได้จากการ
วิเคราะห์ เพื่ออธิบายแนว
ทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง จากกรณีตัวอย่าง
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำาผลที่ได้จากการสำารวจชุมชนของ
นักเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา มา
วิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงแนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
และท้องถิ่นให้เหมาะสมตามตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครั้งที่ 5 เวลา 3 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/5 อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอ
แนะแนวทางการแก้ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
1.แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับภาระงานและ
กิจกรรมการ
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
เรียนรู้
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่ออภิปรายเกี่ยวกับปัญหาสิ่ง
แวดล้อมที่อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทาง
อากาศ และมลพิษทางดิน โดยให้อภิปรายในเวลาที่กำาหนด
3.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบการนำาเสนอข้อสรุปปัญหาสิ่ง
แวดล้อมที่อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทาง
อากาศ และมลพิษทางดิน ในรูปแบบ แผนที่ความคิด รูปวาด แผนผัง
เป็นต้น ลงในกระดาษบรู๊ฟ ตกแต่งให้สวยงามโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี
อยู่ในและนอกห้องเรียนแต่ห้ามเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นักเรียนซื้อใหม่
4.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำาเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน ครูและ
สมาชิกในห้องร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมเพื่อให้ผลงานสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
5.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยนักเรียนทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็น โดยมีข้อตกลงว่าแนวทางที่นักเรียนเสนอจะต้องเป็น
แนวทางที่สามารถทำาได้จริง
6.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบใบบันทึกแนวทางแก้ไขปัญหาสิ่ง
แวดล้อมในแต่ละด้านให้เสร็จในเวลาที่กำาหนด
7.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบการนำาเสนอผลการอภิปรายภายในกลุ่ม
เรื่อง แนวทางแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม หน้าชั้นเรียนในรูปแบบที่แตก
ต่างกันตามศักยภาพ และวัสดุอุปกรณ์ที่แต่ละกลุ่มสามารถหาได้ เช่น
PowerPoint แผนที่ความคิด ความเรียง แผนภาพ เป็นต้น
8.อาสาสมัครตัวแทนกลุ่มออกนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน กำาหนด
เวลาให้เหมาะสม และมีการควบคุมเวลาในการรายงานเองให้เหมาะ
สมกับระยะเวลาที่มี
9.นักเรียนทุกกลุ่มนำาผลงานจัดนิทรรศการที่ป้ายนิเทศในชั้นเรียน
ครั้งที่ 6 เวลา 2 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/6 อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนชมวีดิทัศน์ เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เวลา
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ประมาณ 15 นาที ร่วมกันอภิปรายถึงแนวทางการมีส่วนร่วมในการ
ดูแลและอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ในฐานะที่
นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งในชุมชนและท้องถิ่น
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำาเสนอแนวทางการมีส่วน
ร่วมในการดูแลและอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยืน โดยตกลงกับนักเรียนว่า
กำาหนดเวลาให้กลุ่มละ 3 นาที นักเรียนจะต้องวางแผนการนำาเสนอ
ให้อยู่ในเวลาที่กำาหนด
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปถึงแนวทางในการ
มีส่วนร่วมในการดูแลและ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
5. นักเรียนทำาใบกิจกรรม เรื่อง การมีส่วนร่วมในการดูแลและ
อนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน กำาหนดเวลาให้ 30
นาที นักเรียนต้องวางแผนการทำางานให้ทันตามเวลาที่กำาหนด
6. ตัวแทนนำาเสนอผลงานของตนเอง นักเรียนทุกคนช่วยกัน
คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด
จัดทำาเป็นโปสเตอร์ เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนคนอื่นๆ
8. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง ทรัพยากร ธรรมชาติ
2. ข้อมูลความรู้เรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
3. ข้อมูลความรู้เรื่องการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
4. ใบกิจกรรม เรื่อง การรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ
5. ใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนแผนภาพความรู้แสดงกระบวนการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ
6. Power point เรื่อง การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
7. ใบกิจกรรม เรื่อง การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
8. ใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนแผนที่ความคิด เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
9. ใบความรู้ เรื่อง การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
10. อินเตอร์เน็ต
11. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
12. สื่อวีดิทัศน์เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากมลพิษทางนำ้า
มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
13. ใบความรู้ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากมลพิษทางนำ้า
มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
14. ใบกิจกรรมการวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษ
ทางดิน
15. ข้อมูลการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ
16. ใบกิจกรรม เรื่อง การวิเคราะห์การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
17. ใบกิจกรรม เรื่อง การวางแผนการมีส่วนร่วมในการดูแลและ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
18. ข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนรายงานสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม
9. การวัดและประเมินผล
ตัวชี้วัด วิธีการ เครื่องมือ
ว 2.2 ม.
3/1
- ตรวจรายงานการสำารวจสภาพ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
- ตรวจรายงานการอภิปรายแนวทาง
การดูแลรักษาและป้องกันปัญหา
ทรัพยากรในท้องถิ่นของตนเอง
- แบบประเมิน
ผลงาน
- แบบประเมิน
ผลงาน
ว 2.2 ม.
3/2
- ตรวจรายงานผลการอภิปราย
แนวทางการรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศและการนำาเสนอ
- แบประเมิน
ผลงาน
ว 2.2 ม.
3/3
-ตรวจใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
-ตรวจใบกิจกรรมที่ 3. 2 เรื่อง แผนที่
ความคิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
- แบบประเมิน
ผลงาน
ว 2.2 ม.
3/4
- ตรวจรายงานแนวทางการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
- แบบประเมิน
ผลงาน
ว 2.2 ม.
3/5
- ตรวจแบบบันทึกการนำาข้อสรุป
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
- ตรวจแบบบันทึกแนวทางการแก้
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
- แบบประเมิน
ผลงาน
ว 2.2 ม. ตรวจใบกิจกรรม 6.1 เรื่องแนวทาง - แบบประเมิน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
3/6 การมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ผลงาน
10. การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการ
เรียนรู้
10.1 ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ปศพ.
ประเด็น
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
กิจกรรม
การ
เรียนรู้
-ก่อนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ครูวางแผน
การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ชัดเจนและเป็น
ลำาดับขั้นตอน
-มีการกำาหนดเนื้อหา
สาระตามตัวชี้วัด
ชัดเจนและคลอบคลุม
-จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้กระบวนการ
กลุ่มเพื่อให้เหมาะสม
กับวัยของผู้เรียนซึ่งอยู่
ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3
-เป็นการจัดการ
เรียนรู้เพื่อให้บรรลุ
ตามมาตรฐานตัวชี้
วัดของหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
มาตรฐานตัวชี้วัด ว
2.2
ม.3/1 – ม.3/6
-จัดการเรียนรู้เพื่อ
เสริมสร้าง
คุณลักษณะอยู่อย่าง
พอเพียงให้กับผู้
-มีการวางแผน
การจัด
กิจกรรมการ
เรียนรู้ชัดเจน
และเป็นลำาดับ
ขั้นตอน
-มีการตรวจ
สอบและ
ทบทวนเนื้อหา
และกิจกรรม
การเรียนรู้ก่อน
การจัดการ
เรียนรู้
-มีการวัดผล
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
-จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยการสืบค้นข้อมูล
การอภิปราย การ
ออกแบบกิจกรรมด้วย
ตนเอง การนำาเสนอ
และการจัดทำารายงาน
ผลการศึกษาเพื่อเสริม
สร้างการคิดวิเคราะห์
และการเชื่อมโยงความ
คิดให้เหมาะสมกับผู้
เรียน
เรียน
-จัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาการคิด
วิเคราะห์ของผู้เรียน
ประเมินผลตาม
สภาพจริงเพื่อ
ตรวจสอบ
ความ
สอดคล้องและ
การบรรลุตัวชี้
วัดของผลการ
เรียนรู้ที่เกิดขึ้น
ของผู้เรียน
หลักการ
จัดการเรียนรู้
เวลา -กำาหนดเนื้อหาสาระ
ตามตัวชี้วัด ว 2.2
ม.3/1 – ม.3/6 ให้
เหมาะสมกับการเรียน
ในเวลา ในแต่ละครั้ง
-ออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้โดยใช้
กระบวนการกลุ่มเพื่อ
ให้นักเรียนสามารถทำา
กิจกรรมบรรลุ
วัตถุประสงค์ได้ทันตาม
เวลา
-เพื่อให้กิจกรรมการ
เรียนการสอนบรรลุ
ตัวชี้วัดได้ตามเวลา
ที่กำาหนด
-มีการเผื่อเวลา
ในการทำา
กิจกรรมแต่ละ
ขั้นเพื่อให้
นักเรียนที่มี
ความสามารถ
ต่างกัน
สามารถ
ทำางานเสร็จได้
ทันตามเวลา
ปศพ.
ประเด็น
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
สื่อ -จัดเตรียมและใช้สื่อ
ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน เหมาะ
สมกับจำานวนกลุ่ม
นักเรียน โดยให้มี
จำานวนมากกว่าจำานวน
นักเรียนอย่างน้อย 1
ชุด และใช้กระดาษ
-เพื่อใช้เป็นเครื่อง
มือในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
ให้บรรลุผลตามตัวชี้
วัดที่กำาหนดไว้
-เพื่อให้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เกิด
ความสะดวก รวดเร็ว
-มีสื่อการสอน
เพียงพอและมี
สำารองในกรณี
ที่จำาเป็นต้อง
ใช้เพิ่ม
-ใช้สื่อที่มี
อย่างคุ้มค่า
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
รีไซเคิลในการทำาใบ
งานและ
ใบกิจกรรม
ผู้เรียนสามารถเรียน
รู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
แหล่ง
เรียนรู้
-กำาหนดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมการเรียนรู้
เหมาะสมแหล่งเรียนรู้
ในท้องถิ่น
-เลือกใช้แหล่งเรียนรู้
ในท้องถิ่นเหมาะสมกับ
ผู้เรียน
-เพื่อให้การจัดการ
เรียนการสอน
สอดคล้องกับปัญหา
สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
ของนักเรียนเอง
ทำาให้สามารถเชื่อม
โยงความรู้ที่ได้รับ
การท้องถิ่นของ
ตนเองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
-มีการสำารวจ
ชุมชนก่อนที่
จะนำามา
ออกแบบการ
จัดกิจกรรม
การเรียนรู้
ความรู้ที่
ใช้ใน
การจัด
กิจกรรม
การ
เรียนรู้
-เทคนิควิธีการสอน,รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
-สาระการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดที่กำาหนดไว้ในมาตรฐาน ว 2.2
ม.3/1 – ม.3/6
-การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
-หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรียนรู้
คุณธรรม -มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่การสอน เข้าสอนตรง
เวลา, ปฏิบัติ
หน้าที่การสอนเต็มเวลา, เตรียมการสอน และใบความรู้ ใบ
งานประกอบการสอนล่วงหน้า
-มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียนทุก
คน
-มีความอดทน เสียสละ ใฝ่รู้
10.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง”
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกันในตัวที่
ดี
-นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่ง -นักเรียนได้เรียนรู้ -มีการวางแผนการ
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
หน้าที่ในกลุ่มเหมาะสม
กับความสามารถและ
พอเพียง
กับจำานวนสมาชิก
-นักเรียนรู้จักและ
เข้าใจปัญหาสิ่ง
แวดล้อมและทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
ของตนเอง
-นักเรียนสามารถ
บริหารจัดการเวลาใน
การทำากิจกรรมได้
สำาเร็จบรรลุ
วัตถุประสงค์การจัดการ
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ตามเวลาที่กำาหนด
จากแหล่งเรียนรู้ใน
ท้องถิ่นของตนเองซึ่ง
สอดคล้องกับเนื้อหาที่
เรียนทำาให้สามารถ
เชื่อมโยงความรู้ที่ได้
รับกับชีวิตประจำาวัน
ได้
-นักเรียนสามารถใช้
เหตุผลในการ
วิเคราะห์เพื่อหา
แนวทางในการใช้
และดูแลสิ่งแวดล้อม
และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นได้อย่าง
ยั่งยืนและเหมาะสม
-นักเรียนรู้จักวิธีการ
จัดการปัญหาสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นและ
สามารถเลือกวิธีการ
ต่างๆมาใช้แก้ปัญหา
ได้อย่างเหมาะสม
-นักเรียนรู้จักการ
ทำางานร่วมกับผู้อื่น
เป็นกลุ่มอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ทำางานอย่างรอบคอบ
ด้วยความสามัคคีจน
ทำาให้งานสำาเร็จ
-นำาแนวทางการ
จัดการปัญหาสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืนไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
ความรู้ที่นักเรียนได้รับ
-ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ตาม
สาระการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ในมาตรฐานตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/1 – ม.3/6
-ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในกลุ่ม
คุณธรรมที่เกิดกับนักเรียน
-มีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย ทำาชิ้นงานด้วยความ
เรียบร้อย ถูกต้อง และเสร็จตามเวลา
-มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินัยเป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติงาน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ร่วมกัน
-ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจ และใฝ่
เรียนรู้
10. 3 ผลลัพท์ KPA 4 มิติ ที่เกี่ยวข้องกับการอยู่อย่างพอ
เพียง.....สมดุลและพร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ผลลัพธ์
สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง
แวดล้อม
ด้าน
วัฒนธรรม
ด้าน
ความรู้
- นักเรียนมี
ความรู้ ความ
เข้าใจเกี่ยว
กับสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธร
รมชาติใน
ท้องถิ่น
- นักเรียนมี
ความรู้เกี่ยว
กับการ
ทำางานระบบ
กลุ่ม
-นักเรียนมี
ความรู้เกี่ยว
กับการ
วางแผนการ
ทำางานร่วม
กับผู้อื่น
- นักเรียน
มีความรู้
ความ
เข้าใจเกี่ยว
กับปัญหา
สิ่งแวดล้อม
และ
ทรัพยากรธ
รรม
ชาติและ
แนวทาง
การใช้
ทรัพยากรธ
รรม
ชาติอย่าง
ยั่งยืน
-นักเรียนมี
ความรู้เกี่ยว
กับ
ภูมิปัญญา
เพื่อแก้
ปัญหาและ
ดูแลสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธร
รม
ชาติในท้อง
ถิ่น
-นักเรียนมี
ความรู้ใน
การเลือกใช้
วัสดุอุปกรณ์
ที่มีในท้อง
ถิ่นใน
กิจกรรมการ
เรียนรู้
ด้าน -นักเรียนมี -นักเรียน -นักเรียน -นักเรียนมี
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ทักษะ ความ
สามารถใน
การเลือกใช้
วัสดุอุปกรณ์
และแหล่ง
เรียนรู้
ในท้องถิ่นที่
เหมาะสมใน
การทำา
กิจกรรม
สามารถ
ทำางานร่วม
กับผู้อื่นใน
รูปแบบ
กระบวนการ
กลุ่ม
-นักเรียนมี
ทักษะใน
การสร้าง
ปฏิสัมพันธ์
กับผู้อื่น
เลือก
แนวทางใน
การใช้
ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
ได้อย่าง
อย่างเหมาะ
สม คุ้มค่า
และยั่งยืน
ความ
สามารถใน
การเลือกใช้
ภูมิปัญญา
เพื่อแก้
ปัญหาและ
ดูแลสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธร
รม
ชาติในท้อง
ถิ่น
-นักเรียนมี
ความ
สามารถใน
การเลือกใช้
วัสดุอุปกรณ์
ที่มีในท้อง
ถิ่นใน
กิจกรรมการ
เรียนรู้
ผลลัพธ์
สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง
แวดล้อม
ด้าน
วัฒนธรรม
ด้านค่า
นิยม
-นักเรียนเห็น
คุณค่า
ทรัพยากรธร
รมชาติใน
ท้องถิ่น
-นักเรียน
เห็นความ
สำาคัญของ
การทำางาน
ร่วมกับผู้อื่น
และการ
-นักเรียน
เกิดความ
ตระหนัก
ในการใช้
ทรัพยากร
ธรรมชาติ
-นักเรียน
เห็นคุณค่า
ในการใช้
ภูมิปัญญา
เพื่อแก้
ปัญหาและ
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ทำางานใน
ระบบกลุ่ม
และ
สิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน
ดูแลสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธร
รม
ชาติในท้อง
ถิ่น
-นักเรียน
เห็นความ
สำาคัญของ
การเลือกใช้
วัสดุอุปกรณ์
ที่มีในท้อง
ถิ่นใน
กิจกรรมการ
เรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง 4Rs พาโลกเย็นอย่างยั่งยืน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย รู้รักษ์ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา
ว 23101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลาทั้งหมด 13 ชั่วโมง เวลาเรียนครั้งนี้ 2
ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1
1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2
เข้าใจความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและโลก นำาความรู้ไป
ใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน
2. ตัวชี้วัด
อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
3. สาระสำาคัญ
การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า
นำากลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้
ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็น
วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ทำาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า และตระหนักในการมี
ส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น
4. สาระการเรียนรู้
- การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า
- การนำาทรัพยากรธรรมชาติกลับมาใช้ใหม่
- การลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม
- การซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ อย่างยั่งยืน
5. สมรรถนะสำาคัญ
- ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- ความสนใจใฝ่รู้
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
- มุ่งมั่น อดทน รอบคอบ
- อยู่อย่างพอเพียง
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
7. 1 การอภิปรายใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
7. 2 การเขียนแผนที่ความคิด ใบกิจกรรมที่ 3. 2 เรื่อง
แผนที่ความคิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
8. กระบวนการจัดการเรียนรู้
8.1 ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1) นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5 – 6 คน โดยแต่ละกลุ่มมี
นักเรียนคละความสามารถ
เก่ง ปานกลาง และอ่อน
2) นักเรียนแต่ละกลุ่มรับใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
3) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการอภิปรายคัด
เลือกปัญหาที่มี
ผลกระทบต่อชุมชนมากที่สุดโดยมีข้อกำาหนดในการดำาเนินการ ดังนี้
- สมาชิกทุกคนในกลุ่มแบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสม
และความสามารถ
- สมาชิกทุกคนเสนอปัญหาและมีส่วนร่วมในการ
แสดงความคิดเห็น
- ในการเลือกปัญหาต้องเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อ
ตนเองมากที่สุด
- กำาหนดแนวทางในการอภิปรายกลุ่ม/ลับความ
สำาคัญเพื่อคัดเลือกปัญหาที่
มีผลกระทบมากที่สุด ใช้เวลา 30 นาที
- ปัญหาที่เลือกเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของ
ตนเอง เพื่อนำามาวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขและใช้
ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม ยั่งยืน
- สมาชิกทุกคนทำาหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง
ตั้งใจ ด้วยความ
กระตือรือร้นและเสร็จทันตามเวลาที่กำาหนด
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
- ปัญหาที่เลือกต้องไม่ง่ายหรือยากเกินสามารถของ
นักเรียน
- การเสนอแนวทางแก้ปัญหา จะต้องมีความเป็นไปได้
8.2 ขั้นการจัดการเรียนรู้
1) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืนและร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม เพื่อทำาใบกิจกรรมที่ 3.1
เรื่อง แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
2) อาสาสมัครแต่ละกลุ่ม นำาเสนอผลการทำากิจกรรมที่ 3.
1 หน้าชั้นเรียน กลุ่มละ
5 นาที ประเด็น ดังนี้
2.1) ปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในท้อง
ถิ่นที่มีผลกระทบ
ต่อชุมชน ที่กลุ่มร่วมกันเลือก และเหตุผลที่เลือก
2.2) แนวทางในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นที่มีผลกระทบต่อชุมชนโดยใช้หลัก 4 Rs ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเหมาะสม คุ้มค่าและเกิดความ
ยั่งยืน
3) ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายถึงแนวทาง
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยเติมเต็มแต่ละกลุ่มที่ มีปัญหาแตกต่างกันเป็น
ไป โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน (หลัก 4 Rs)
8.3 ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปแนวทางการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็น ดังนี้
1.1 การพิจารณาในการเลือกปัญหาของแต่ละกลุ่ม ควร
คำานึงถึงสิ่งใดบ้าง เพราะเหตุใด (แนวการตอบ...ความเหมาะสมของ
ปัญหา เหตุผลในเลือกปัญหา และภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เช่น ความเร่ง
ด่วนของปัญหา ความสามารถของท้องถิ่นในการแก้ปัญหา ผลกระ
ทบของปัญหาที่มีต่อชุมชน ความร้ายแรงของปัญหา เป็นปัญหาที่
สามารถหาแนวทางแก้ไขได้จริง สามารถนำาไปปฏิบัติได้จริง ฯลฯ)
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
2) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ในรูปแบบแผนที่ความคิด ในใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความ
คิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
3)นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้
ห้องสมุดวิทยาศาสตร์
ตามหลักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้หลักความ
พอเพียง
9. สื่อและแหล่งเรียนรู้
9. 1 สื่อ
- ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
- ใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
- ใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความคิดการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
9.2 แหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- อินเตอร์เน็ต http://www.pttplc.com/TH/Default.aspx
10. การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่วัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
การอภิปราย
การใช้
ทรัพยากรธร
รมชาติอย่าง
ยั่งยืน
ใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน
ได้ระดับคุณภาพระดับ 2 ขึ้น
ไป อย่างน้อย 2 ใน 3
องค์ประกอบ
ใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง
แผนที่ความคิดการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืน
ได้ระดับคุณภาพระดับ 2 ขึ้น
ไป อย่างน้อย 2 ใน 3
องค์ประกอบ
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
11. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.1 ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ปศพ.
ประเด็
น
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
กิจกรร
มการ
เรียนรู้
-ก่อนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ครูวางแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ชัดเจน
และเป็นลำาดับ ขั้นตอน มี
การกำาหนดเนื้อหาสาระ
เรื่องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ยั่งยืนอย่างชัดเจนและ
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
การอภิปรายผ่าน
กระบวนการกลุ่มเพื่อให้
เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
ซึ่งอยู่ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3
-จัดการเรียนรู้
ตรงตาม
มาตรฐานตัวชี้
วัดของ
หลักสูตรแกน
กลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช
2551
มาตรฐานตัวชี้
วัด ว 2.2
ม.3/3
-มีการ
วางแผนการ
จัดกิจกรรม
การเรียนรู้
ชัดเจนและ
เป็นลำาดับขั้น
ตอน
เวลา -กำาหนดเนื้อหาสาระตาม
ตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/3
เพียงข้อเดียวเพื่อให้เหมาะ
สมกับการเรียนในเวลา 2
ชั่วโมง และกิจกรรมการ
เรียนรู้เป็นการเรียนรู้ร่วม
กันโดยใช้กระบวนการ
กลุ่มในการอภิปรายเพื่อ
ให้นักเรียนสามารถทำา
กิจกรรมได้ทันตามเวลา
-เพื่อให้
กิจกรรมการ
เรียนการสอน
บรรลุตัวชี้วัด
ได้ตามเวลาที่
กำาหนด
-มีการเผื่อ
เวลาในการ
ทำากิจกรรม
แต่ละขั้นเพื่อ
ให้นักเรียนที่
มีความ
สามารถต่าง
กันสามารถ
ทำางานเสร็จ
ได้ทันตาม
เวลา
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
สื่อ -จัดเตรียมและใช้สื่อใน
การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน เหมาะสมกับ
จำานวนกลุ่มนักเรียน โดย
ให้มีจำานวนมากกว่า
จำานวนนักเรียนอย่างน้อย
1 ชุด และใช้กระดาษ
รีไซเคิลในการทำาใบงาน
และใบกิจกรรม
-เพื่อใช้เป็น
เครื่องมือใน
การให้นักเรียน
ได้ร่วม
อภิปรายและ
สรุปความรู้ที่
ได้ผ่านการทำา
ใบกิจกรรม
-มีใบความรู้
และใบ
กิจกรรมเพียง
พอและมี
สำารองใน
กรณีที่จำาเป็น
ต้องใช้เพิ่ม
-ใช้สื่อที่มี
อย่างคุ้มค่า
ปศพ.
ประเด็น
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
แหล่ง
เรียนรู้
-กำาหนดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมการเรียน
รู้เหมาะสมแหล่งเรียน
รู้ในท้องถิ่น
-เพื่อให้การจัดการ
เรียนการสอน
สอดคล้องกับปัญหา
สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
ของนักเรียนเอง
ทำาให้สามารถเชื่อม
โยงความรู้ที่ได้รับ
การท้องถิ่นของ
ตนเองได้
-มีการสำารวจ
ชุมชนก่อนที่
จะนำามา
ออกแบบการ
จัดกิจกรรม
การเรียนรู้
ความรู้ที่
ใช้ในการ
จัด
กิจกรรม
การเรียน
รู้
-เทคนิควิธีการสอน,รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
-เนื้อหาเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
-สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนทรัพยากรธรรมชาติใน
ชุมชน
-การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
-หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรียนรู้
คุณธรรม -มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่การสอน เข้าสอนตรง
เวลา, ปฏิบัติ
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
หน้าที่การสอนเต็มเวลา, เตรียมการสอน และใบความรู้ ใบ
งานประกอบการสอนล่วงหน้า
-มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียน
ทุกคน
-มีความอดทน เสียสละ ใฝ่รู้
11.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง”
พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกันในตัวที่
ดี
-แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่
ในกลุ่มเหมาะสมกับ
ความสามารถและพอ
เพียง
กับจำานวนสมาชิก
-รู้จักและเข้าใจปัญหา
สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากร ธรรมชาติ
ในท้องถิ่นของตนเอง
-ใช้เวลาในการทำา
กิจกรรมได้ตามเวลาที่
กำาหนด
-เรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ในท้องถิ่น
ของตนเองได้อย่าง
สอดคล้องกับเนื้อหา
ที่เรียน
-สามารถใช้เหตุผล
ในการเลือกปัญหา
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
ของตนเองมา
วิเคราะห์เพื่อหา
แนวทางในการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ได้อย่างยั่งยืนและ
-มีการวางแผนการ
ทำางานอย่างรอบคอบ
ด้วยความสามัคคีจน
ทำาให้งานสำาเร็จ
-นำาแนวทางการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ไปใช้ในชีวิตประจำา
วัน
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
เหมาะสม
-รู้จักวิธีการจัดการ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นและ
สามารถเลือกวิธีการ
ต่างๆมาใช้แก้
ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสม
-รู้จักการทำางานร่วม
กับผู้อื่น เป็นกลุ่ม
ความรู้ที่นักเรียนได้รับ
-ความรู้ ความเข้าใจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
-ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนที่ความคิด
คุณธรรมที่เกิดกับนักเรียน
-มีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย ทำาชิ้นงานด้วยความ
เรียบร้อย ถูกต้อง และเสร็จตามเวลา
-มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินัยเป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติ
งานร่วมกัน
-ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจ และใฝ่
เรียนรู้
11. 3 ผลลัพท์ KPA 4 มิติ ที่เกี่ยวข้องกับการอยู่อย่างพอ
เพียง
ผลลัพธ์ สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง
แวดล้อม
ด้าน
วัฒนธรร
ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู
รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด
ม
ด้าน
ความรู้
- นักเรียนมี
ความรู้ ความ
เข้าใจเกี่ยว
กับสิ่ง
แวดล้อมและ
ทรัพยากรธร
รมชาติใน
ท้องถิ่น
- นักเรียนมี
ความรู้เกี่ยว
กับการทำางาน
ระบบกลุ่ม
-นักเรียนมี
ความรู้เกี่ยว
กับการ
วางแผนการ
ทำางานร่วม
กับผู้อื่น
- นักเรียนมี
ความรู้ ความ
เข้าใจเกี่ยว
กับแนวทาง
การใช้
ทรัพยากรธร
รม
ชาติอย่าง
ยั่งยืน
-
ด้าน
ทักษะ
นักเรียนมี
ความ
สามารถใน
การเลือก ใช้
วัสดุอุปกรณ์
และแหล่ง
เรียนรู้ใน
ท้องถิ่น ที่
เหมาะสมใน
การทำา
กิจกรรม
-นักเรียน
สามารถ
ทำางานร่วม
กับผู้อื่นในรูป
แบบกระบวน
การกลุ่ม
-นักเรียนมี
ทักษะในการ
สร้าง
ปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น
นักเรียนเลือก
แนวทางใน
การใช้
ทรัพยากร
ธรรมชาติใน
ท้องถิ่นได้
อย่าง เหมาะ
สม คุ้มค่าและ
ยั่งยืน
-
ด้านค่า
นิยม
นักเรียนเห็น
คุณค่า
ทรัพยากรธร
รมชาติใน
ท้องถิ่น
นักเรียนเห็น
ความสำาคัญ
ของการ
ทำางานร่วม
กับผู้อื่นและ
การทำางานใน
ระบบกลุ่ม
นักเรียนเกิด
ความ
ตระหนักใน
การใช้
ทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน
-
13. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ห้อง
สมุดวิทยาศาสตร์
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
krupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
oracha2010
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
krupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
supphawan
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
Mam Chongruk
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
krujaew77
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
Mam Chongruk
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wann Rattiya
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
korakate
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
krupornpana55
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
 
Herbarium 815 for biology
Herbarium 815 for biologyHerbarium 815 for biology
Herbarium 815 for biology
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
833 กลุ่ม 7
833 กลุ่ม 7833 กลุ่ม 7
833 กลุ่ม 7
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
 

Similar to วิทย์ มอต้น

Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
oracha2010
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
krupornpana55
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
Mam Chongruk
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
Apichaya Savetvijit
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
krupornpana55
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
Aor_1234
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
Anny Na Sonsawan
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
Lekleklek Jongrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Bliss_09
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Similar to วิทย์ มอต้น (20)

Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 

วิทย์ มอต้น

  • 1. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด การออกแบบหน่วยการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง หน่วยที่ 4 เรื่อง รู้รักษ์ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ว 23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มัธ ย ม ศึก ษ า ต อ น ต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 13 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 …………………………………………………. 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ว 2.2 เข้าใจความสำา คัญของทรัพยากรธรรมชาติการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำาความรู้ไป ใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน ว 2.2 ม . 3/1 วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ว 2.2 ม. 3/2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบ นิเวศ ว 2.2 ม. 3/3 อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน ว 2.2 ม . 3/4 วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ช้ ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ว 2.2 ม. 3/5 อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนว ทางการแก้ปัญหา ว 2.2 ม. 3/6 อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 2. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด ศึกษาวิเคราะห์อภิปรายอธิบายสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นที่เกิดจากการกระทำาของธรรมชาติ และมนุษย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควร มีแนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้อง มีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ให้มีปริมาณ สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสมการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน และการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ ซำ้า นำากลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม
  • 2. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคำานึงถึงหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการเตรียมตัวให้พร้อม ที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจ เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของปัญหา เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิด ชอบของทุกคน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ให้กับชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ได้รับข้อมูลข่าวสาร ที่ถูกต้อง สามารถช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ได้อย่างยั่งยืน มีความสามารถในการตัดสินใจ ที่จะแก้ปัญหาจาก ความร่วมมือของทุกฝ่ายเห็นคุณค่าของการนำา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ในชีวิตประจำาวันและเห็นคุณค่าของการใช้ชีวิตอยู่อย่าง พอเพียง 3. สาระการเรียนรู้ - สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิด จากการกระทำาของธรรมชาติและมนุษย์ - ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ที่เกิดขึ้น ควรมี แนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน - ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต ผู้ บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ให้มีปริมาณสัดส่วน และการกระจายที่ เหมาะสม - การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และการดูแลรักษา สภาพแวดล้อม เป็นการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ - การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า นำา กลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน -การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคำานึงถึงหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการเตรียมตัวให้ พร้อมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
  • 3. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด - ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน - แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของ ปัญหา เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น - การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน 4. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร (การนำาเสนองาน) - ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ความสนใจใฝ่รู้ - มุ่งมั่น อดทน รอบคอบ - ความรับผิดชอบ มีวินัย - อยู่อย่างพอเพียง - ความมีเหตุผล ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิด เห็นของผู้อื่น - การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ 6. ชิ้นงาน / ภาระงาน ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว 2.2 ม. 3/1 - รายงานการสำารวจ สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น - รายงานการอภิปราย แนวทางการดูแลรักษา และป้องกันปัญหา - การวิเคราะห์สภาพปัญหา สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติในท้อง ถิ่น - การอภิปรายแนวทางการ ดูแลรักษาและป้องกันปัญหา
  • 4. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ทรัพยากรในท้องถิ่น ของตนเอง ทรัพยากรในท้องถิ่นของ ตนเอง ว 2.2 ม. 3/2 - รายงานผลการ อภิปรายแนวทางการ รักษาสมดุลของระบบ นิเวศและการนำาเสนอ - การวิเคราะห์การรักษา สมดุลของระบบนิเวศและ การนำาเสนอการรักษาสมดุล ของระบบนิเวศ ว 2.2 ม. 3/3 -ใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน -ใบกิจกรรมที่ 3. 2 เรื่อง แผนที่ความคิด การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน -การอภิปราย 1 เรื่อง การ ใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างยั่งยืน -การวิเคราะห์ใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน -การเขียนแผนที่ความคิด เรื่อง การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน
  • 5. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ว 2.2 ม . 3/4 - รายงานแนวทางการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ใ ช้ ทรัพยากรธรรมชาติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง - การนำา เสนอวิธีการใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ว 2.2 ม . 3/5 - แบบบันทึกการนำาข้อ สรุปปัญหาสิ่งแวดล้อม - แบบบันทึกแนวทาง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า สิ่ ง แวดล้อม - การอภิปรายปัญหาสิ่ง แวดล้อม - การเสนอแนะแนวทางการ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ว 2.2 ม . 3/6 ใบกิจกรรม 6.1 เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วม ในการดูแลและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน - ศึกษา / อภิปราย - ทำาใบกิจกรรม 6.1 เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมใน ก า ร ดู แ ล แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน 10. การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง ตัว ชี้วัด ว 2.2 ม. 3/1 วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่นและเสนอแนวทางในการแก้ไข ปัญหา กิจกรรมการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (1 ชั่วโมง) 1. มอบหมายนักเรียนสำา รวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรในท้องถิ่น ดังนี้ 1.1 แบ่งกลุ่มนักเรียนในการสำารวจชุมชน โดยกำาหนดให้ นักเรียนที่มีบ้านอยู่ใกล้เคียงกันอยู่กลุ่มเดียวกัน เพื่อความสะดวก ปลอดภัย และประหยัดค่าเดินทางในการดำาเนินงาน
  • 6. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 1.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบใบบันทึกการสำารวจชุมชน ตามบริบทชุมชนของตนเอง และตามความสนใจของสมาชิกภายใน กลุ่ม 1.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนการสำารวจชุมชนโดยครู คอยให้คำาแนะนำาอย่างใกล้ชิด และต้องเน้นถึงความปลอดภัยในการ เดินทางและการสำารวจให้มากที่สุด 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มาก ที่สุด จากนั้นช่วยกันวิเคราะห์สภาพปัญหานั้นๆ ว่าเกิดจากการกระทำา ของมนุษย์หรือธรรมชาติ 3. นักเรียนเขียนรายงานการสำารวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยกำาหนดให้นักเรียนเขียนรายงานด้วยลายมือ ของตนเอง และเน้นความพอประมาณโดยการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ นักเรียนมีอยู่แล้ว เช่นใช้กระดาษที่เขียนแล้ว 1 หน้ามาเขียนรายงาน เป็นต้น ครั้งที่ 2 (1 ชั่วโมง) 1. นักเรียนรายงานผลการสำารวจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติหน้าชั้น เรียน ครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมอภิปรายซักถามเพื่อความ ชัดเจนของข้อมูล 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาแนวทางในการดูแลและ ป้องกันโดยมีข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้ 2.1 แนวทางที่นักเรียนเลือกนำามาใช้ นักเรียนและชุมชน ของนักเรียนจะต้องมีส่วน ร่วมในการดำาเนินงาน 2.2 แนวทางนั้นต้องเป็นแนวทางที่นักเรียนและชุมชน สามารถทำาได้จริง 2.3 นักเรียนต้องคำานึงถึงงบประมาณที่ใช้ว่ามีความพอ ประมาณกับศักยภาพของตนเองและชุมชนหรือไม่ 3. นักเรียนเขียนรายงานผลการอภิปรายการหาแนวทางการ ดูแลรักษาและป้องกันปัญหา ทรัพยากรในท้องถิ่นของตนเอง โดยเน้นการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ นักเรียนมีอยู่แล้ว เช่นใช้กระดาษที่เขียนแล้ว 1 หน้ามาเขียนรายงาน เป็นต้น ครั้งที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
  • 7. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/2 อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบนิเวศ 2.นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ เปรียบเทียบสภาพชุมชนที่มีระบบ นิเวศที่สมดุลและชุมชนที่มี ระบบนิเวศขาดความสมดุล ในประเด็นต่อไปนี้ - ผู้ผลิต - ผู้บริโภค - ผู้ย่อยสลาย 3.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ว่า ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมทั้งจำานวน ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลายอินทรีย์ ให้มีปริมาณสัดส่วนและการกระ จายที่เหมาะสม 4.แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อหาแนวทางในการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศในชุมชนของตนเอง โดยมีแนวการดำาเนินงาน ดังนี้ 4.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มเองโดยให้มีสมาชิกในกลุ่มที่คละ ความสามารถ ถ้านักเรียนแบ่งกลุ่มได้ไม่เหมาะสมให้ครู ช่วยแนะนำานักเรียนให้จัดกลุ่มได้อย่างเหมาะสม เท่าเทียม กัน 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนดำาเนินงานโดยให้สมาชิก ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบภายในกลุ่มที่เหมาะสมตามความ สามารถของแต่ละคน 4.3 กำาหนดเวลาในการทำากิจกรรมการวิเคราะห์การรักษา สมดุลของระบบนิเวศในชุมชนของตนเองไว้ 20 นาที นักเรียนจะต้องมีการวางแผนการทำางานให้เหมาะสมกับ เวลาที่กำาหนดให้ 5.นักเรียนรายงานผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน โดยกำาหนด เวลาไว้กลุ่มละ 3-5 นาที ครั้งที่ 3 เวลา 2 ชั่วโมง
  • 8. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/3 อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน กิจกรรมการเรียนรู้ 1) แบ่งกลุ่มนักเรียน โดยแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละความ สามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน 1.1) นักเรียนแต่ละกลุ่มรับใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 1.2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการอภิปราย คัดเลือกปัญหาที่มี ผลกระทบต่อชุมชนมากที่สุด ตามข้อกำาหนดในการดำาเนินการ 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืนและร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม เพื่อทำาใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 3) อาสาสมัครแต่ละกลุ่ม นำาเสนอผลการทำากิจกรรมที่ 3. 1 หน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 5 นาที 4) ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายถึงแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยเติมเต็มแต่ละกลุ่มที่ มีปัญหาแตกต่างกันเป็น ไป โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน 5) ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ในรูปแบบแผนที่ความคิด ในใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความ คิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 7) นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ตามหลักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้หลักความ พอเพียง ครั้งที่ 4 เวลา 3 ชั่วโมง ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/4 วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู้
  • 9. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับภาระ งานและกิจกรรมการ เรียนรู้ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากรณีตัวอย่าง ของ กิจกรรมหรือโครงการที่สามารถนำา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากใบความรู้ เรื่อง โครงการในพระราชดำาริ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงจากกรณีตัวอย่างที่ศึกษาจากใบความรู้ เช่น โครงการแกล้งดิน โครงการแก้มลิง หญ้าแฝก อนุรักษ์ดินและนำ้าโดย วิเคราะห์และอธิบาย ลงในกระดาษบรู๊ฟ โดยเน้นให้นักเรียนใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการทำางานอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยกำาหนดเวลาให้ 20 นาที โดยมีข้อตกลงกับนักเรียนว่าควรเลือกหัวข้อที่จะวิเคราะห์ ไม่ให้ซำ้ากัน ถ้าซำ้ากันไม่ควรเกิน 2 กลุ่มต่อ 1 เรื่อง เพื่อนักเรียนจะ ได้รับทราบข้อมูลที่หลากหลายในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบวิธีการนำาเสนอหน้าชั้นเรียน โดย ใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ ในหรือนอกห้องเรียน แต่ห้ามเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่ซื้อใหม่ มาประกอบ การนำาเสนอภายในเวลาที่กำาหนดเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่มกัน 5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปผลที่ได้จากการ วิเคราะห์ เพื่ออธิบายแนว ทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง จากกรณีตัวอย่าง 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำาผลที่ได้จากการสำารวจชุมชนของ นักเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา มา วิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงแนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน และท้องถิ่นให้เหมาะสมตามตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 5 เวลา 3 ชั่วโมง ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/5 อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอ แนะแนวทางการแก้ปัญหา กิจกรรมการเรียนรู้ 1.แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับภาระงานและ กิจกรรมการ
  • 10. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด เรียนรู้ 2.นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่ออภิปรายเกี่ยวกับปัญหาสิ่ง แวดล้อมที่อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทาง อากาศ และมลพิษทางดิน โดยให้อภิปรายในเวลาที่กำาหนด 3.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบการนำาเสนอข้อสรุปปัญหาสิ่ง แวดล้อมที่อาจเกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทาง อากาศ และมลพิษทางดิน ในรูปแบบ แผนที่ความคิด รูปวาด แผนผัง เป็นต้น ลงในกระดาษบรู๊ฟ ตกแต่งให้สวยงามโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี อยู่ในและนอกห้องเรียนแต่ห้ามเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นักเรียนซื้อใหม่ 4.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำาเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน ครูและ สมาชิกในห้องร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมเพื่อให้ผลงานสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 5.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยนักเรียนทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น โดยมีข้อตกลงว่าแนวทางที่นักเรียนเสนอจะต้องเป็น แนวทางที่สามารถทำาได้จริง 6.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบใบบันทึกแนวทางแก้ไขปัญหาสิ่ง แวดล้อมในแต่ละด้านให้เสร็จในเวลาที่กำาหนด 7.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบการนำาเสนอผลการอภิปรายภายในกลุ่ม เรื่อง แนวทางแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม หน้าชั้นเรียนในรูปแบบที่แตก ต่างกันตามศักยภาพ และวัสดุอุปกรณ์ที่แต่ละกลุ่มสามารถหาได้ เช่น PowerPoint แผนที่ความคิด ความเรียง แผนภาพ เป็นต้น 8.อาสาสมัครตัวแทนกลุ่มออกนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน กำาหนด เวลาให้เหมาะสม และมีการควบคุมเวลาในการรายงานเองให้เหมาะ สมกับระยะเวลาที่มี 9.นักเรียนทุกกลุ่มนำาผลงานจัดนิทรรศการที่ป้ายนิเทศในชั้นเรียน ครั้งที่ 6 เวลา 2 ชั่วโมง ตัวชี้วัด ว 2.2 ม. 3/6 อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน กิจกรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนชมวีดิทัศน์ เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มๆ 4-5 คน เพื่อให้เหมาะสมกับ กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เวลา
  • 11. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ประมาณ 15 นาที ร่วมกันอภิปรายถึงแนวทางการมีส่วนร่วมในการ ดูแลและอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ในฐานะที่ นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งในชุมชนและท้องถิ่น 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำาเสนอแนวทางการมีส่วน ร่วมในการดูแลและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยืน โดยตกลงกับนักเรียนว่า กำาหนดเวลาให้กลุ่มละ 3 นาที นักเรียนจะต้องวางแผนการนำาเสนอ ให้อยู่ในเวลาที่กำาหนด 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปถึงแนวทางในการ มีส่วนร่วมในการดูแลและ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 5. นักเรียนทำาใบกิจกรรม เรื่อง การมีส่วนร่วมในการดูแลและ อนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน กำาหนดเวลาให้ 30 นาที นักเรียนต้องวางแผนการทำางานให้ทันตามเวลาที่กำาหนด 6. ตัวแทนนำาเสนอผลงานของตนเอง นักเรียนทุกคนช่วยกัน คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด จัดทำาเป็นโปสเตอร์ เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนคนอื่นๆ 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง ทรัพยากร ธรรมชาติ 2. ข้อมูลความรู้เรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ ในท้องถิ่น 3. ข้อมูลความรู้เรื่องการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 4. ใบกิจกรรม เรื่อง การรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ 5. ใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนแผนภาพความรู้แสดงกระบวนการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ 6. Power point เรื่อง การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 7. ใบกิจกรรม เรื่อง การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน 8. ใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนแผนที่ความคิด เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 9. ใบความรู้ เรื่อง การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน 10. อินเตอร์เน็ต 11. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 12. สื่อวีดิทัศน์เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
  • 12. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 13. ใบความรู้ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน 14. ใบกิจกรรมการวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ เกิดจากมลพิษทางนำ้า มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษ ทางดิน 15. ข้อมูลการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ 16. ใบกิจกรรม เรื่อง การวิเคราะห์การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 17. ใบกิจกรรม เรื่อง การวางแผนการมีส่วนร่วมในการดูแลและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 18. ข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนรายงานสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 9. การวัดและประเมินผล ตัวชี้วัด วิธีการ เครื่องมือ ว 2.2 ม. 3/1 - ตรวจรายงานการสำารวจสภาพ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น - ตรวจรายงานการอภิปรายแนวทาง การดูแลรักษาและป้องกันปัญหา ทรัพยากรในท้องถิ่นของตนเอง - แบบประเมิน ผลงาน - แบบประเมิน ผลงาน ว 2.2 ม. 3/2 - ตรวจรายงานผลการอภิปราย แนวทางการรักษาสมดุลของระบบ นิเวศและการนำาเสนอ - แบประเมิน ผลงาน ว 2.2 ม. 3/3 -ตรวจใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน -ตรวจใบกิจกรรมที่ 3. 2 เรื่อง แผนที่ ความคิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน - แบบประเมิน ผลงาน ว 2.2 ม. 3/4 - ตรวจรายงานแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง - แบบประเมิน ผลงาน ว 2.2 ม. 3/5 - ตรวจแบบบันทึกการนำาข้อสรุป ปัญหาสิ่งแวดล้อม - ตรวจแบบบันทึกแนวทางการแก้ ปัญหาสิ่งแวดล้อม - แบบประเมิน ผลงาน ว 2.2 ม. ตรวจใบกิจกรรม 6.1 เรื่องแนวทาง - แบบประเมิน
  • 13. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 3/6 การมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ผลงาน 10. การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการ เรียนรู้ 10.1 ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปศพ. ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี กิจกรรม การ เรียนรู้ -ก่อนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ครูวางแผน การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ชัดเจนและเป็น ลำาดับขั้นตอน -มีการกำาหนดเนื้อหา สาระตามตัวชี้วัด ชัดเจนและคลอบคลุม -จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ กลุ่มเพื่อให้เหมาะสม กับวัยของผู้เรียนซึ่งอยู่ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 -เป็นการจัดการ เรียนรู้เพื่อให้บรรลุ ตามมาตรฐานตัวชี้ วัดของหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/1 – ม.3/6 -จัดการเรียนรู้เพื่อ เสริมสร้าง คุณลักษณะอยู่อย่าง พอเพียงให้กับผู้ -มีการวางแผน การจัด กิจกรรมการ เรียนรู้ชัดเจน และเป็นลำาดับ ขั้นตอน -มีการตรวจ สอบและ ทบทวนเนื้อหา และกิจกรรม การเรียนรู้ก่อน การจัดการ เรียนรู้ -มีการวัดผล
  • 14. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด -จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การ ออกแบบกิจกรรมด้วย ตนเอง การนำาเสนอ และการจัดทำารายงาน ผลการศึกษาเพื่อเสริม สร้างการคิดวิเคราะห์ และการเชื่อมโยงความ คิดให้เหมาะสมกับผู้ เรียน เรียน -จัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาการคิด วิเคราะห์ของผู้เรียน ประเมินผลตาม สภาพจริงเพื่อ ตรวจสอบ ความ สอดคล้องและ การบรรลุตัวชี้ วัดของผลการ เรียนรู้ที่เกิดขึ้น ของผู้เรียน หลักการ จัดการเรียนรู้ เวลา -กำาหนดเนื้อหาสาระ ตามตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/1 – ม.3/6 ให้ เหมาะสมกับการเรียน ในเวลา ในแต่ละครั้ง -ออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้ กระบวนการกลุ่มเพื่อ ให้นักเรียนสามารถทำา กิจกรรมบรรลุ วัตถุประสงค์ได้ทันตาม เวลา -เพื่อให้กิจกรรมการ เรียนการสอนบรรลุ ตัวชี้วัดได้ตามเวลา ที่กำาหนด -มีการเผื่อเวลา ในการทำา กิจกรรมแต่ละ ขั้นเพื่อให้ นักเรียนที่มี ความสามารถ ต่างกัน สามารถ ทำางานเสร็จได้ ทันตามเวลา ปศพ. ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี สื่อ -จัดเตรียมและใช้สื่อ ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน เหมาะ สมกับจำานวนกลุ่ม นักเรียน โดยให้มี จำานวนมากกว่าจำานวน นักเรียนอย่างน้อย 1 ชุด และใช้กระดาษ -เพื่อใช้เป็นเครื่อง มือในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ให้บรรลุผลตามตัวชี้ วัดที่กำาหนดไว้ -เพื่อให้กระบวนการ จัดการเรียนรู้เกิด ความสะดวก รวดเร็ว -มีสื่อการสอน เพียงพอและมี สำารองในกรณี ที่จำาเป็นต้อง ใช้เพิ่ม -ใช้สื่อที่มี อย่างคุ้มค่า
  • 15. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด รีไซเคิลในการทำาใบ งานและ ใบกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเรียน รู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ แหล่ง เรียนรู้ -กำาหนดเนื้อหาสาระ และกิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมแหล่งเรียนรู้ ในท้องถิ่น -เลือกใช้แหล่งเรียนรู้ ในท้องถิ่นเหมาะสมกับ ผู้เรียน -เพื่อให้การจัดการ เรียนการสอน สอดคล้องกับปัญหา สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น ของนักเรียนเอง ทำาให้สามารถเชื่อม โยงความรู้ที่ได้รับ การท้องถิ่นของ ตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ -มีการสำารวจ ชุมชนก่อนที่ จะนำามา ออกแบบการ จัดกิจกรรม การเรียนรู้ ความรู้ที่ ใช้ใน การจัด กิจกรรม การ เรียนรู้ -เทคนิควิธีการสอน,รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ -สาระการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดที่กำาหนดไว้ในมาตรฐาน ว 2.2 ม.3/1 – ม.3/6 -การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง -หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรียนรู้ คุณธรรม -มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่การสอน เข้าสอนตรง เวลา, ปฏิบัติ หน้าที่การสอนเต็มเวลา, เตรียมการสอน และใบความรู้ ใบ งานประกอบการสอนล่วงหน้า -มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียนทุก คน -มีความอดทน เสียสละ ใฝ่รู้ 10.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ ดี -นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่ง -นักเรียนได้เรียนรู้ -มีการวางแผนการ
  • 16. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด หน้าที่ในกลุ่มเหมาะสม กับความสามารถและ พอเพียง กับจำานวนสมาชิก -นักเรียนรู้จักและ เข้าใจปัญหาสิ่ง แวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น ของตนเอง -นักเรียนสามารถ บริหารจัดการเวลาใน การทำากิจกรรมได้ สำาเร็จบรรลุ วัตถุประสงค์การจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตามเวลาที่กำาหนด จากแหล่งเรียนรู้ใน ท้องถิ่นของตนเองซึ่ง สอดคล้องกับเนื้อหาที่ เรียนทำาให้สามารถ เชื่อมโยงความรู้ที่ได้ รับกับชีวิตประจำาวัน ได้ -นักเรียนสามารถใช้ เหตุผลในการ วิเคราะห์เพื่อหา แนวทางในการใช้ และดูแลสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นได้อย่าง ยั่งยืนและเหมาะสม -นักเรียนรู้จักวิธีการ จัดการปัญหาสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นและ สามารถเลือกวิธีการ ต่างๆมาใช้แก้ปัญหา ได้อย่างเหมาะสม -นักเรียนรู้จักการ ทำางานร่วมกับผู้อื่น เป็นกลุ่มอย่างมี ประสิทธิภาพ ทำางานอย่างรอบคอบ ด้วยความสามัคคีจน ทำาให้งานสำาเร็จ -นำาแนวทางการ จัดการปัญหาสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืนไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน ความรู้ที่นักเรียนได้รับ -ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ตาม สาระการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ในมาตรฐานตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/1 – ม.3/6 -ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในกลุ่ม คุณธรรมที่เกิดกับนักเรียน -มีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย ทำาชิ้นงานด้วยความ เรียบร้อย ถูกต้อง และเสร็จตามเวลา -มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินัยเป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติงาน
  • 17. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ร่วมกัน -ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจ และใฝ่ เรียนรู้ 10. 3 ผลลัพท์ KPA 4 มิติ ที่เกี่ยวข้องกับการอยู่อย่างพอ เพียง.....สมดุลและพร้อมต่อการ เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ผลลัพธ์ สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง แวดล้อม ด้าน วัฒนธรรม ด้าน ความรู้ - นักเรียนมี ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยว กับสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธร รมชาติใน ท้องถิ่น - นักเรียนมี ความรู้เกี่ยว กับการ ทำางานระบบ กลุ่ม -นักเรียนมี ความรู้เกี่ยว กับการ วางแผนการ ทำางานร่วม กับผู้อื่น - นักเรียน มีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยว กับปัญหา สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธ รรม ชาติและ แนวทาง การใช้ ทรัพยากรธ รรม ชาติอย่าง ยั่งยืน -นักเรียนมี ความรู้เกี่ยว กับ ภูมิปัญญา เพื่อแก้ ปัญหาและ ดูแลสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธร รม ชาติในท้อง ถิ่น -นักเรียนมี ความรู้ใน การเลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ ที่มีในท้อง ถิ่นใน กิจกรรมการ เรียนรู้ ด้าน -นักเรียนมี -นักเรียน -นักเรียน -นักเรียนมี
  • 18. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ทักษะ ความ สามารถใน การเลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ และแหล่ง เรียนรู้ ในท้องถิ่นที่ เหมาะสมใน การทำา กิจกรรม สามารถ ทำางานร่วม กับผู้อื่นใน รูปแบบ กระบวนการ กลุ่ม -นักเรียนมี ทักษะใน การสร้าง ปฏิสัมพันธ์ กับผู้อื่น เลือก แนวทางใน การใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติ ในท้องถิ่น ได้อย่าง อย่างเหมาะ สม คุ้มค่า และยั่งยืน ความ สามารถใน การเลือกใช้ ภูมิปัญญา เพื่อแก้ ปัญหาและ ดูแลสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธร รม ชาติในท้อง ถิ่น -นักเรียนมี ความ สามารถใน การเลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ ที่มีในท้อง ถิ่นใน กิจกรรมการ เรียนรู้ ผลลัพธ์ สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง แวดล้อม ด้าน วัฒนธรรม ด้านค่า นิยม -นักเรียนเห็น คุณค่า ทรัพยากรธร รมชาติใน ท้องถิ่น -นักเรียน เห็นความ สำาคัญของ การทำางาน ร่วมกับผู้อื่น และการ -นักเรียน เกิดความ ตระหนัก ในการใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติ -นักเรียน เห็นคุณค่า ในการใช้ ภูมิปัญญา เพื่อแก้ ปัญหาและ
  • 19. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ทำางานใน ระบบกลุ่ม และ สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน ดูแลสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธร รม ชาติในท้อง ถิ่น -นักเรียน เห็นความ สำาคัญของ การเลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ ที่มีในท้อง ถิ่นใน กิจกรรมการ เรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง 4Rs พาโลกเย็นอย่างยั่งยืน หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย รู้รักษ์ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
  • 20. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ว 23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาทั้งหมด 13 ชั่วโมง เวลาเรียนครั้งนี้ 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 เข้าใจความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและโลก นำาความรู้ไป ใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน 2. ตัวชี้วัด อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 3. สาระสำาคัญ การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า นำากลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็น วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ทำาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า และตระหนักในการมี ส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น 4. สาระการเรียนรู้ - การนำาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซำ้า - การนำาทรัพยากรธรรมชาติกลับมาใช้ใหม่ - การลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม - การซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ อย่างยั่งยืน 5. สมรรถนะสำาคัญ - ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ความสนใจใฝ่รู้
  • 21. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด - มุ่งมั่น อดทน รอบคอบ - อยู่อย่างพอเพียง 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7. 1 การอภิปรายใบกิจกรรมที่ 3. 1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 7. 2 การเขียนแผนที่ความคิด ใบกิจกรรมที่ 3. 2 เรื่อง แผนที่ความคิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1) นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5 – 6 คน โดยแต่ละกลุ่มมี นักเรียนคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มรับใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการอภิปรายคัด เลือกปัญหาที่มี ผลกระทบต่อชุมชนมากที่สุดโดยมีข้อกำาหนดในการดำาเนินการ ดังนี้ - สมาชิกทุกคนในกลุ่มแบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสม และความสามารถ - สมาชิกทุกคนเสนอปัญหาและมีส่วนร่วมในการ แสดงความคิดเห็น - ในการเลือกปัญหาต้องเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อ ตนเองมากที่สุด - กำาหนดแนวทางในการอภิปรายกลุ่ม/ลับความ สำาคัญเพื่อคัดเลือกปัญหาที่ มีผลกระทบมากที่สุด ใช้เวลา 30 นาที - ปัญหาที่เลือกเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของ ตนเอง เพื่อนำามาวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขและใช้ ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม ยั่งยืน - สมาชิกทุกคนทำาหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง ตั้งใจ ด้วยความ กระตือรือร้นและเสร็จทันตามเวลาที่กำาหนด
  • 22. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด - ปัญหาที่เลือกต้องไม่ง่ายหรือยากเกินสามารถของ นักเรียน - การเสนอแนวทางแก้ปัญหา จะต้องมีความเป็นไปได้ 8.2 ขั้นการจัดการเรียนรู้ 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืนและร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม เพื่อทำาใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 2) อาสาสมัครแต่ละกลุ่ม นำาเสนอผลการทำากิจกรรมที่ 3. 1 หน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 5 นาที ประเด็น ดังนี้ 2.1) ปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในท้อง ถิ่นที่มีผลกระทบ ต่อชุมชน ที่กลุ่มร่วมกันเลือก และเหตุผลที่เลือก 2.2) แนวทางในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นที่มีผลกระทบต่อชุมชนโดยใช้หลัก 4 Rs ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเหมาะสม คุ้มค่าและเกิดความ ยั่งยืน 3) ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายถึงแนวทาง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยเติมเต็มแต่ละกลุ่มที่ มีปัญหาแตกต่างกันเป็น ไป โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน (หลัก 4 Rs) 8.3 ขั้นสรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสรุปแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็น ดังนี้ 1.1 การพิจารณาในการเลือกปัญหาของแต่ละกลุ่ม ควร คำานึงถึงสิ่งใดบ้าง เพราะเหตุใด (แนวการตอบ...ความเหมาะสมของ ปัญหา เหตุผลในเลือกปัญหา และภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เช่น ความเร่ง ด่วนของปัญหา ความสามารถของท้องถิ่นในการแก้ปัญหา ผลกระ ทบของปัญหาที่มีต่อชุมชน ความร้ายแรงของปัญหา เป็นปัญหาที่ สามารถหาแนวทางแก้ไขได้จริง สามารถนำาไปปฏิบัติได้จริง ฯลฯ)
  • 23. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 2) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ในรูปแบบแผนที่ความคิด ในใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความ คิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 3)นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ตามหลักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยใช้หลักความ พอเพียง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9. 1 สื่อ - ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน - ใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน - ใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความคิดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 9.2 แหล่งเรียนรู้ - ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - อินเตอร์เน็ต http://www.pttplc.com/TH/Default.aspx 10. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่วัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน การอภิปราย การใช้ ทรัพยากรธร รมชาติอย่าง ยั่งยืน ใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน ได้ระดับคุณภาพระดับ 2 ขึ้น ไป อย่างน้อย 2 ใน 3 องค์ประกอบ ใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่อง แผนที่ความคิดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน ได้ระดับคุณภาพระดับ 2 ขึ้น ไป อย่างน้อย 2 ใน 3 องค์ประกอบ
  • 24. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด 11. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.1 ผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปศพ. ประเด็ น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี กิจกรร มการ เรียนรู้ -ก่อนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ครูวางแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ชัดเจน และเป็นลำาดับ ขั้นตอน มี การกำาหนดเนื้อหาสาระ เรื่องการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืนอย่างชัดเจนและ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ การอภิปรายผ่าน กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ซึ่งอยู่ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 -จัดการเรียนรู้ ตรงตาม มาตรฐานตัวชี้ วัดของ หลักสูตรแกน กลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานตัวชี้ วัด ว 2.2 ม.3/3 -มีการ วางแผนการ จัดกิจกรรม การเรียนรู้ ชัดเจนและ เป็นลำาดับขั้น ตอน เวลา -กำาหนดเนื้อหาสาระตาม ตัวชี้วัด ว 2.2 ม.3/3 เพียงข้อเดียวเพื่อให้เหมาะ สมกับการเรียนในเวลา 2 ชั่วโมง และกิจกรรมการ เรียนรู้เป็นการเรียนรู้ร่วม กันโดยใช้กระบวนการ กลุ่มในการอภิปรายเพื่อ ให้นักเรียนสามารถทำา กิจกรรมได้ทันตามเวลา -เพื่อให้ กิจกรรมการ เรียนการสอน บรรลุตัวชี้วัด ได้ตามเวลาที่ กำาหนด -มีการเผื่อ เวลาในการ ทำากิจกรรม แต่ละขั้นเพื่อ ให้นักเรียนที่ มีความ สามารถต่าง กันสามารถ ทำางานเสร็จ ได้ทันตาม เวลา
  • 25. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด สื่อ -จัดเตรียมและใช้สื่อใน การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เหมาะสมกับ จำานวนกลุ่มนักเรียน โดย ให้มีจำานวนมากกว่า จำานวนนักเรียนอย่างน้อย 1 ชุด และใช้กระดาษ รีไซเคิลในการทำาใบงาน และใบกิจกรรม -เพื่อใช้เป็น เครื่องมือใน การให้นักเรียน ได้ร่วม อภิปรายและ สรุปความรู้ที่ ได้ผ่านการทำา ใบกิจกรรม -มีใบความรู้ และใบ กิจกรรมเพียง พอและมี สำารองใน กรณีที่จำาเป็น ต้องใช้เพิ่ม -ใช้สื่อที่มี อย่างคุ้มค่า ปศพ. ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี แหล่ง เรียนรู้ -กำาหนดเนื้อหาสาระ และกิจกรรมการเรียน รู้เหมาะสมแหล่งเรียน รู้ในท้องถิ่น -เพื่อให้การจัดการ เรียนการสอน สอดคล้องกับปัญหา สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น ของนักเรียนเอง ทำาให้สามารถเชื่อม โยงความรู้ที่ได้รับ การท้องถิ่นของ ตนเองได้ -มีการสำารวจ ชุมชนก่อนที่ จะนำามา ออกแบบการ จัดกิจกรรม การเรียนรู้ ความรู้ที่ ใช้ในการ จัด กิจกรรม การเรียน รู้ -เทคนิควิธีการสอน,รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ -เนื้อหาเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน -สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนทรัพยากรธรรมชาติใน ชุมชน -การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง -หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรียนรู้ คุณธรรม -มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่การสอน เข้าสอนตรง เวลา, ปฏิบัติ
  • 26. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด หน้าที่การสอนเต็มเวลา, เตรียมการสอน และใบความรู้ ใบ งานประกอบการสอนล่วงหน้า -มีความเมตตา ให้ความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียน ทุกคน -มีความอดทน เสียสละ ใฝ่รู้ 11.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ ดี -แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ ในกลุ่มเหมาะสมกับ ความสามารถและพอ เพียง กับจำานวนสมาชิก -รู้จักและเข้าใจปัญหา สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากร ธรรมชาติ ในท้องถิ่นของตนเอง -ใช้เวลาในการทำา กิจกรรมได้ตามเวลาที่ กำาหนด -เรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ในท้องถิ่น ของตนเองได้อย่าง สอดคล้องกับเนื้อหา ที่เรียน -สามารถใช้เหตุผล ในการเลือกปัญหา เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น ของตนเองมา วิเคราะห์เพื่อหา แนวทางในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ได้อย่างยั่งยืนและ -มีการวางแผนการ ทำางานอย่างรอบคอบ ด้วยความสามัคคีจน ทำาให้งานสำาเร็จ -นำาแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ไปใช้ในชีวิตประจำา วัน
  • 27. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด เหมาะสม -รู้จักวิธีการจัดการ ปัญหาสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นและ สามารถเลือกวิธีการ ต่างๆมาใช้แก้ ปัญหาได้อย่าง เหมาะสม -รู้จักการทำางานร่วม กับผู้อื่น เป็นกลุ่ม ความรู้ที่นักเรียนได้รับ -ความรู้ ความเข้าใจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน -ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนที่ความคิด คุณธรรมที่เกิดกับนักเรียน -มีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย ทำาชิ้นงานด้วยความ เรียบร้อย ถูกต้อง และเสร็จตามเวลา -มีความสามัคคีในหมู่คณะ มีวินัยเป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดีขณะปฏิบัติ งานร่วมกัน -ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจ และใฝ่ เรียนรู้ 11. 3 ผลลัพท์ KPA 4 มิติ ที่เกี่ยวข้องกับการอยู่อย่างพอ เพียง ผลลัพธ์ สมดุลและพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่ง แวดล้อม ด้าน วัฒนธรร
  • 28. ร่างสำาหรับทดลองใช้เท่านั้น ขอสงวนสิทธิ์โดยคณะทำางานบู รณาการฯ ศธ. ในการนำาไปใช้ในการนำาไปใช้ เพื่อการอื่นใดเพื่อการอื่นใด ม ด้าน ความรู้ - นักเรียนมี ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยว กับสิ่ง แวดล้อมและ ทรัพยากรธร รมชาติใน ท้องถิ่น - นักเรียนมี ความรู้เกี่ยว กับการทำางาน ระบบกลุ่ม -นักเรียนมี ความรู้เกี่ยว กับการ วางแผนการ ทำางานร่วม กับผู้อื่น - นักเรียนมี ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยว กับแนวทาง การใช้ ทรัพยากรธร รม ชาติอย่าง ยั่งยืน - ด้าน ทักษะ นักเรียนมี ความ สามารถใน การเลือก ใช้ วัสดุอุปกรณ์ และแหล่ง เรียนรู้ใน ท้องถิ่น ที่ เหมาะสมใน การทำา กิจกรรม -นักเรียน สามารถ ทำางานร่วม กับผู้อื่นในรูป แบบกระบวน การกลุ่ม -นักเรียนมี ทักษะในการ สร้าง ปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น นักเรียนเลือก แนวทางใน การใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติใน ท้องถิ่นได้ อย่าง เหมาะ สม คุ้มค่าและ ยั่งยืน - ด้านค่า นิยม นักเรียนเห็น คุณค่า ทรัพยากรธร รมชาติใน ท้องถิ่น นักเรียนเห็น ความสำาคัญ ของการ ทำางานร่วม กับผู้อื่นและ การทำางานใน ระบบกลุ่ม นักเรียนเกิด ความ ตระหนักใน การใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน - 13. กิจกรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ห้อง สมุดวิทยาศาสตร์