SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ
ศึกษา 2552
แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง เวลา 2 คาบ ส.6-1
*****************************************************
*************************
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้)
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
2. นักเรียนสามารถทดลองและระบุปัจจัยบางประการที่
จำาเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้
3. นักเรียนสามารถอธิบายความสำาคัญของกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ
3. แนวคิด
พืชสร้างอาหารได้เอง เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืช
ว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และปัจจัยที่สำาคัญของ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
นำ้า แสง คลอโรฟิลด์ อาหารที่พืชสร้างได้คือนำ้าตาลกลูโคส ซึ่งถูก
ลำาเลียงไปสะสมอยู่ตามส่วนต่างๆ ของพืช ในรูปของแป้ง
4. สาระการเรียนรู้
ความหมายของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการสร้าง
อาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟีลล์ทำาหน้าที่ดูดพลังงานแสง
จากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนสารวัตถุดิบ คือนำ้า และแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นนำ้าตาลกลูโคส นำ้า และแก๊สออกซิเจน
การเปลี่ยนรูปพลังงานและการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ที่
เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. พลังงานแสงจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเคมีสะสม อยู่ใน
ผลิตภัณฑ์ คือ นำ้าตาลกลูโคส นำ้า และแก๊สออกซิเจน
2. นำ้าตาลกลูโคสจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแป้งทันที และสะสมไว้ใน
เซลล์สีเขียว และแป้งจะเปลี่ยนกลับเป็นนำ้าตาลกลูโคสอีกครั้ง เมื่อ
พืชต้องการนำาไปใช้ในการดำารงชีวิต
3. นำ้าและแก๊สออกซิเจนจะถูกพืชคายออกมาทางปากใบกลับคืนสู่
สิ่งแวดล้อม
แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. การสังเคราะห์ด้วแสงสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของพืชที่มีสี
เขียวหรือมีคลอโรฟิลด์อยู่ โดยมีใบเป็นส่วนที่ทำาหน้าที่โดยตรง
ใบส่วนใหญ่จะแผ่เป็นแผ่นบาง จึงรับแสงและแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี ผิวด้านบนของใบส่วนที่รับแสง เรียก
หลังใบ มักจะมีสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างของใบส่วนที่ไม่ได้รับแสง
เรียกว่า หลังใบ
2. เซลล์ในใบทุกเซลล์อยู่ใกล้ชิดกับเนื้อเยื่อลำาเลียงหรือเส้นใบ
ทำาให้ใบได้รับนำ้าและแร่ธาตุจากรากทางท่อลำาเลียงนำ้าที่เรียกว่า
ไซเลม (Xylem) ของเส้นใบ ส่วนนำ้าตาลที่พืชสร้างขึ้นจะถูกนำาไป
สู่ส่วนต่างๆ ของพืชทางท่อละเลียงอาหารที่เรียกว่า โฟลเอม
(Phloem) ของเส้นใบเช่นกัน
3. คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียวอยู่ภายในเม็ดคลอโรพลาสต์ ทำา
หน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ เม็ดคลอโรพลาสต์จะอยู่ใน
ไซโทพลาสซึม พืชสีเขียวจะสร้างคลอโรฟีลล์จากโปรตีนและแร่
ธาตุต่างๆ เช่น แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส โดยใช้พลังงานแสง
ปัจจัยบางประการที่จำาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
สิ่งที่มีอิทธิพลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย
ปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปริมาณของคลอโรฟีลล์ ถ้าหากคลอโรฟีลล์มีปริมาณมาก
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะสูง ในทางกลับกันถ้าคลอโรฟีลล์มี
ปริมาณน้อย อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็ตำ่าด้วย
2. แสงและความเข้มของแสง พบว่าชนิดของแสงที่มีผลทำาให้เกิด
การสังเคราะห์ด้วยแสงได้มากที่สุด คือ แสงสีม่วง แสงสีแดง และ
แสงสีนำ้าเงินตามลำาดับ แสงสีเขียวมีผลน้อยที่สุด ส่วนความเข้ม
ของแสงนั้น ถ้ามีความเข้มของแสงมากอัตราการสังเคราะห์ด้วย
แสงจะสูง ในทางกลับกันถ้ามีความเข้มของแสงน้อย อัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงก็จะตำ่าด้วย
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน
บรรยากาศมีประมาณ 0.03-0.04% ถ้าเพิ่มความเข้มของแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ให้แก่พืช อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็จะ
เพิ่มมากขึ้นด้วย
4. นำ้า เป็นปัจจัยสำาคัญโดยตรงต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความสำาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่มี
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิตทุก
ชนิด
2. เป็นแหล่งผลิตแก๊สออกซิเจนที่สำาคัญของระบบนิเวศ
3. ช่วยลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำา (10 นาที)
1. ครูยกคำาขวัญ “ต้นไม้เป็นเพื่อนชีวิต เจ้าดูดอากาศพิษ
”แทนข้า แล้วถามคำาถามนักเรียน
ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
- จากคำาขวัญนักเรียนคิดว่าต้นไม้มีประโยชน์กับชีวิตเรา
อย่างไร (แหล่งอาหาร แก๊สออกซิเจน เป็นต้น)
- นักเรียนคิดว่า อากาศพิษ ในคำาขวัญคืออะไร (แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์)
- นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเหตุใดเขาจึงบอกว่าต้นไม้ช่วยดูด
อากาศพิษ (พืชมีกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสง)
- นักเรียนคิดว่าพืชกับมนุษย์แตกต่างกันอย่างไร (พืชสามารถ
สร้างอาหารเองได้)
2. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาศึกษากันเรื่อง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหาร
”ของพืช
ขั้นสอน (70 นาที)
1. ครูอธิบายกิจกรรมอาหารที่พบในพืชให้นักเรียนฟัง
- ใส่กล้วย เผือก มัน แป้งข้าวเจ้า ผลชอล์ก และดินสอพองป่น
ปริมาณเท่าๆ กัน ลงในจานหลุมพลาสติก สังเกตสีของสาร
แต่ละชนิด บันทึกผล
- หยดสารละลายไอโอดีนลงในสารทั้ง 6 ชนิด ชนิดละ 2
หยด
- สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลลงในตาราง
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
พร้อมบันทึกผลการทดลอง
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาสรุปผลการ
ทดลองของกลุ่ม
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่ากิจกรรมดังกล่าวทำาให้
นักเรียนทราบว่า พืชสามารถ
สร้างอาหารเองได้ ซึ่งสารอาหารดังกล่าวคือแป้ง
5. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าพืชมีกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงอย่างไร
6. ครูอธิบายเรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงให้นักเรียน
ฟัง
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูให้นักเรียนดูแผนภาพกระบวนการสร้างอาหารของพืช
ให้นักเรียนดูจากนั้นให้
นักเรียนตอบคำาถาม
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
- หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑
- กล้วย เผือก มัน แป้งข้าวเจ้า ผลชอล์ก และดินสอพองป่น
- จานหลุมพลาสติก
- สารละลายไอโอดีน
7. การวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน
เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ
นักเรียน
8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน)
1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
............................. ....................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน /
เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2othanatoso
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfKatewaree Yosyingyong
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundpantiluck
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2แผนย่อพื้นฐาน ม.2
แผนย่อพื้นฐาน ม.2
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 

More from Wann Rattiya

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environmentWann Rattiya
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองWann Rattiya
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่Wann Rattiya
 

More from Wann Rattiya (12)

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
 

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2552 แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง เวลา 2 คาบ ส.6-1 ***************************************************** ************************* 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้) 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ 2. นักเรียนสามารถทดลองและระบุปัจจัยบางประการที่ จำาเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายความสำาคัญของกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้ 2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มีจิตสาธารณะ 3. แนวคิด พืชสร้างอาหารได้เอง เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืช ว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และปัจจัยที่สำาคัญของ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ นำ้า แสง คลอโรฟิลด์ อาหารที่พืชสร้างได้คือนำ้าตาลกลูโคส ซึ่งถูก ลำาเลียงไปสะสมอยู่ตามส่วนต่างๆ ของพืช ในรูปของแป้ง 4. สาระการเรียนรู้ ความหมายของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการสร้าง อาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟีลล์ทำาหน้าที่ดูดพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนสารวัตถุดิบ คือนำ้า และแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นนำ้าตาลกลูโคส นำ้า และแก๊สออกซิเจน
  • 2. การเปลี่ยนรูปพลังงานและการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ที่ เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. พลังงานแสงจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเคมีสะสม อยู่ใน ผลิตภัณฑ์ คือ นำ้าตาลกลูโคส นำ้า และแก๊สออกซิเจน 2. นำ้าตาลกลูโคสจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแป้งทันที และสะสมไว้ใน เซลล์สีเขียว และแป้งจะเปลี่ยนกลับเป็นนำ้าตาลกลูโคสอีกครั้ง เมื่อ พืชต้องการนำาไปใช้ในการดำารงชีวิต 3. นำ้าและแก๊สออกซิเจนจะถูกพืชคายออกมาทางปากใบกลับคืนสู่ สิ่งแวดล้อม แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. การสังเคราะห์ด้วแสงสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของพืชที่มีสี เขียวหรือมีคลอโรฟิลด์อยู่ โดยมีใบเป็นส่วนที่ทำาหน้าที่โดยตรง ใบส่วนใหญ่จะแผ่เป็นแผ่นบาง จึงรับแสงและแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี ผิวด้านบนของใบส่วนที่รับแสง เรียก หลังใบ มักจะมีสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างของใบส่วนที่ไม่ได้รับแสง เรียกว่า หลังใบ 2. เซลล์ในใบทุกเซลล์อยู่ใกล้ชิดกับเนื้อเยื่อลำาเลียงหรือเส้นใบ ทำาให้ใบได้รับนำ้าและแร่ธาตุจากรากทางท่อลำาเลียงนำ้าที่เรียกว่า ไซเลม (Xylem) ของเส้นใบ ส่วนนำ้าตาลที่พืชสร้างขึ้นจะถูกนำาไป สู่ส่วนต่างๆ ของพืชทางท่อละเลียงอาหารที่เรียกว่า โฟลเอม (Phloem) ของเส้นใบเช่นกัน 3. คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียวอยู่ภายในเม็ดคลอโรพลาสต์ ทำา หน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ เม็ดคลอโรพลาสต์จะอยู่ใน ไซโทพลาสซึม พืชสีเขียวจะสร้างคลอโรฟีลล์จากโปรตีนและแร่ ธาตุต่างๆ เช่น แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส โดยใช้พลังงานแสง ปัจจัยบางประการที่จำาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง สิ่งที่มีอิทธิพลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย ปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปริมาณของคลอโรฟีลล์ ถ้าหากคลอโรฟีลล์มีปริมาณมาก อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะสูง ในทางกลับกันถ้าคลอโรฟีลล์มี ปริมาณน้อย อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็ตำ่าด้วย 2. แสงและความเข้มของแสง พบว่าชนิดของแสงที่มีผลทำาให้เกิด การสังเคราะห์ด้วยแสงได้มากที่สุด คือ แสงสีม่วง แสงสีแดง และ แสงสีนำ้าเงินตามลำาดับ แสงสีเขียวมีผลน้อยที่สุด ส่วนความเข้ม ของแสงนั้น ถ้ามีความเข้มของแสงมากอัตราการสังเคราะห์ด้วย แสงจะสูง ในทางกลับกันถ้ามีความเข้มของแสงน้อย อัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงก็จะตำ่าด้วย 3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศมีประมาณ 0.03-0.04% ถ้าเพิ่มความเข้มของแก๊ส
  • 3. คาร์บอนไดออกไซด์ให้แก่พืช อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็จะ เพิ่มมากขึ้นด้วย 4. นำ้า เป็นปัจจัยสำาคัญโดยตรงต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ความสำาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่มี ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิตทุก ชนิด 2. เป็นแหล่งผลิตแก๊สออกซิเจนที่สำาคัญของระบบนิเวศ 3. ช่วยลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำา (10 นาที) 1. ครูยกคำาขวัญ “ต้นไม้เป็นเพื่อนชีวิต เจ้าดูดอากาศพิษ ”แทนข้า แล้วถามคำาถามนักเรียน ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้ - จากคำาขวัญนักเรียนคิดว่าต้นไม้มีประโยชน์กับชีวิตเรา อย่างไร (แหล่งอาหาร แก๊สออกซิเจน เป็นต้น) - นักเรียนคิดว่า อากาศพิษ ในคำาขวัญคืออะไร (แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์) - นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเหตุใดเขาจึงบอกว่าต้นไม้ช่วยดูด อากาศพิษ (พืชมีกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสง) - นักเรียนคิดว่าพืชกับมนุษย์แตกต่างกันอย่างไร (พืชสามารถ สร้างอาหารเองได้) 2. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาศึกษากันเรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหาร ”ของพืช ขั้นสอน (70 นาที) 1. ครูอธิบายกิจกรรมอาหารที่พบในพืชให้นักเรียนฟัง - ใส่กล้วย เผือก มัน แป้งข้าวเจ้า ผลชอล์ก และดินสอพองป่น ปริมาณเท่าๆ กัน ลงในจานหลุมพลาสติก สังเกตสีของสาร แต่ละชนิด บันทึกผล - หยดสารละลายไอโอดีนลงในสารทั้ง 6 ชนิด ชนิดละ 2 หยด - สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลลงในตาราง 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง พร้อมบันทึกผลการทดลอง 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาสรุปผลการ ทดลองของกลุ่ม
  • 4. 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่ากิจกรรมดังกล่าวทำาให้ นักเรียนทราบว่า พืชสามารถ สร้างอาหารเองได้ ซึ่งสารอาหารดังกล่าวคือแป้ง 5. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าพืชมีกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงอย่างไร 6. ครูอธิบายเรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงให้นักเรียน ฟัง ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูให้นักเรียนดูแผนภาพกระบวนการสร้างอาหารของพืช ให้นักเรียนดูจากนั้นให้ นักเรียนตอบคำาถาม 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง 6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ - หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ - กล้วย เผือก มัน แป้งข้าวเจ้า ผลชอล์ก และดินสอพองป่น - จานหลุมพลาสติก - สารละลายไอโอดีน 7. การวัดและประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ นักเรียน
  • 5. 8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน) 1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ............................. .................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ 2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน / เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา .......................................................................... ..................................................................................
  • 6. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท ศก์สถานศึกษา