SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ชิ้นงานที่ 22 เรื่องสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 คืออะไร จบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลก ครั้งที่ 1และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1
สาเหตุของสงคราม
1. ลัทธิชาตินิยม ( Nationalism)
ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัส เซีย ฝ่ายปรัสเซียมีผู้นาที่เข้มแข็งอย่างบิสมาร์กเป็นผู้วางแผนการรบอย่างชาญฉลาด เอาชนะฝรั่งเศสได้ทาให้เยอรมันสามารถ
รวมตัวกันและสถาปนาจักรวรรดิเยอรมัน
เป็นมหาอานาจที่สาคัญในยุโรป ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแร นให้แก่เยอรมนี และเปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบ
สาธารณรัฐ เป็นผลให้อิตาลีรวมชาติได้เป็นผลสาเร็จ ทาให้เกิดลัทธิชาตินิยม ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ
2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม
เพื่อ เป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนามาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม การแข่งขันเป็นแบบการค้าเสรี เมื่อมีการแข่งขันสูงขึ้นจึงเริ่มใช้กาลังทางทหารเข้ายึดครองดินแดน
ที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและ ตั้งกาแพงภาษีให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันมิให้สินค้าจากประเทศที่เป็นคู่แข่ง มาตีตลาดในประเทศบริวารของตน เป็นเครื่องมือวัด
ความยิ่งใหญ่ของประเทศ
3. มหาอานาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย
ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา กลุ่มนี้จึงประกอบด้วย
เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี
อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี
มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆเข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง
จึงหาทางออกด้วยการทาสงคราม
4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน
คาบ สมุทรบอลข่านอยู่ในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดา ประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก เติร์ก
เมื่อชนเผ่าสลาฟภายใต้การนาของแคว้นเซอร์เบีย ได้เอกราชและแยกตัวออกจากจักรวรรดิออตโตมันเติร์ก ต่อมาเซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซได้รวมตัวกัน ทาสงครามกับ
ตุรกีและสามารถยึดครองดินแดนของตุรกีในยุโรปได้แต่หลังจากชนะสงครามก็เกิดความขัดแย้งกันเองเซอร์เบียจึงกลายเป็นแคว้นที่มีอิทธิพลมากจนเป็นที่เกรงกลัวของ
จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี
ชนวนของสงครามเกิดขึ้นเมื่ออาร์ชดุ๊กฟรานซิสเฟอร์ดินานด์รัชทายาทของออสเตรีย-ฮังการี ถูกลอบปลงพระชนม์ โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย-
ฮังการี จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศสงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย
ในสงครามครั้งนี้ เรียกฝ่ายที่อยู่ข้างเซอร์เบีย รัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร และเรียกฝ่ายที่อยู่ข้างออสเตรีย-ฮังการีและเยอรมนีว่า ฝ่ายมหาอานาจกลาง
(สาหรับอิตาลี ตอนแรกประกาศตนเป็นกลาง แต่ตอนหลังได้ไปเข้าข้างฝ่ายสัมพันธมิตร)
การประสานประโยชน์หลังสงคราม
ประเทศ พันธมิตรจึงได้จัดการประชุมสันติภาพ ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส
สหรัฐอเมริกาได้มีแนวความคิดที่จะสร้างองค์การระหว่างประเทศขึ้น ให้มีหน้าที่ใช้กาลังอานาจ
ลงโทษประเทศที่ชอบรุกรานประเทศอื่น ทุกประเทศจะได้มีเวลาในการพัฒนาประเทศของตน โดย
ไม่ต้องสร้างกาลังทหารและอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆอีกต่อไป
สงครามโลกครั้งที่ 2
1. ความ ล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การทาหน้าที่รักษาสันติภาพของสันนิบาตชาติ ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะสันนิบาตไม่มีกองทหารและไม่มี
อานาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้ อีกทั้งสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจึงทาให้สันนิบาตชาติอ่อนแอ
2. การ เติบโตของลัทธินิยมทางทหาร มีผู้นาหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็งทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
เพื่อขยายอานาจทางการเมืองโดยใช้กาลังเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ และใช้กองทัพปกป้องผลประโยชน์ของชาติตน
3. ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาสันติภาพได้แก่ สนธิสัญญาแวร์ซายส์และสัญญาสันติภาพฉบับอื่น ๆ ภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้น สุดลง
ซึ่งเยอรมนีและชาติผู้แพ้สงครามถูกบังคับให้สงนามในสัญญาที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ เช่น การสูญเสียดินแดนอาณานิคมและจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม
จานวนมหาศาล จึงต้องการล้มเลิกเงื่อนไขข้อตกลงตามสัญญาฉบับนี้
4. การแข่งขันทางเศรษฐกิจ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษ และฝรั่งเศสยังคงเป็นประเทศที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แต่เยอรมนี ซึ่งเป็นฝ่าย
ปราชัยในสงครามและต้องสูญเสียดินแดนอารานิคมให้แก่ชาติมหาอานาจทั้งสองไปจนเกือบหมด รวมทั้งอิตาลีและญี่ปุ่น ซึ่งมีอาณานิคมน้อยกว่า จึงอยู่
ในฐานะประเทศที่มีกาลังทางเศรษฐกิจไม่เข้มแข็ง
5. ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้นาประเทศที่นิยมลัทธิทางทหารได้แก่ ฮิตเลอร์ ผู้นาลัทธินาซี (Nazism) ของเยอรมนี และ
มุสโสลินี ผู้นาลัทธิฟาสต์ซิสม์(Fascism) ของ อิตาลี ทั้งสองต่อต้านแนวความคิดเสรีนิยมและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้
ความสาคัญกับพลังของลัทธิชาตินิยม ความเข้มแข็งทางทหารและอานาจของผู้นามากกว่า
ผลของสงครามยังก่อให้เกิด
1.การยึดครองประเทศที่แพ้สงคราม
2.การก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ
3.ความตกต่าของยุโรป
4.การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวัฒนธรรม
5.กาเนิดรัฐอิสราเอล เมื่อยิวที่หลงเหลือจากการกวาดล้างของนาซีรวมพลสู่ดินแดนซึ่งเชื่อว่าพระเจ้าประทานให้ คือปาเลสไตน์
6.สหรัฐกับสหภาพโซเวียตขึ้นเป็นมหาอานาจ นาสู่ภาวะสงครามเย็นส่วนด้านญี่ปุ่นต้องอยู่ในปกครองของสหรัฐ นาน 6 ปี
สหประชาชาติ
เป็น องค์การระหว่างประเทศ ที่ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง สหประชาชาติมีจุดประสงค์คือการนาทุกชาติทั่วโลกมาทางานร่วมกันเพื่อ
สันติภาพ และการพัฒนาโดยอยู่บนหลักพื้นฐานของความยุติธรรม ศักดิ์ศรีของมนุษย์และความกินดีอยู่ดีของทุกคนนอกจากนี้ยังให้โอกาสประเทศต่าง ๆ สร้างดุลแห่งการ
พึ่งพาอาศัยกันและรักษาผลประโยชน์ชาติในกรณีที่เกิดปัญหา ระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม มนุษยธรรม ให้ความสาคัญต่อสิทธิ
มนุษยชน และเป็นศูนย์กลางในการร่วมมือกันเพื่อเป้าหมายต่าง ๆ
วัตถุประสงค์ขององค์กร
1. ธารงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของโลกโดยการร่วมมือกัน
2. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยกันคลี่คลายและแก้ปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิทธิด้านมนุษยชน
3. เป็นศูยน์กลางพัฒนาความสัมพัน์อันดี และประสานงานกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อดาเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย
(หลังจากการเซ็นสนธิสัญญาสงบศึกระหว่างเยรมนีกับฝ้ายพันธมิตรในวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี 1918)
เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามงวดสุดท้าย จานวน 59.5 ล้านปอนด์ นับว่าเป็นการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 อย่างเป็นทางการไปแล้วเมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2010
ตามสนธิสัญญาแวร์ซายกาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับ "ผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว" โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 และในข้อ
232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณาเขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน มหาศาล
โดยฝ่ายพันธมิตรได้เรียกร้องเอาทองคาจาก เยอรมนีเป็นมูลค่า 226,000 ล้านไรซ์มาร์ก (หรือ 11,300 ล้านปอนด์) ซึ่งเป็นจานวนที่ได้รับการรับรองจาก
คณะกรรมการค่าปฏิกรรมสงครามของฝ่าย พันธมิตร แต่ในปี ค.ศ. 1921 ถูกปรับลดลงมาเหลือ 132,000 ล้านไรซ์มาร์ก (หรือ 4,990 ล้านปอนด์) การเรียกร้องค่า
ปฏิกรรมสงครามจากเยอรมนีส่วนหนึ่งเป็นการแก้แค้นของ ฝรั่งเศส เนื่องจากผลของสนธิสัญญาแฟรงเฟิร์ตเมื่อปี ค.ศ. 1871 ที่ได้ลงนามหลังจากสงครามฝรั่งเศส-
ปรัสเซีย ซึ่งฝรั่งเศสจาเป็นต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่เยอรมนีมากพอ ๆ กัน
การพ่ายแพ้ของเยอรมันในครั้งนี้ ชาวเยอรมันถือว่าการตัดสินลงโทษของฝ่ายชนะ(พันธมิตร)ไม่เป็นธรรม เพราะดินแดนต้นเรื่องเกิดขึ้นที่ ออสเตรีย-ฮังการี แต่พอ
แพ้กลับมารุมลงโทษเยอรมันที่เดียว ชาวเยอรมันต่างก็เคียดแค้นและยอมลงนามใช้หนี้สงครามอย่างไม่เต็มใจ ใน ขณะที่ นักเศรษฐศาสตร์หนุ่มชาวอังกฤษก็อยู่ร่วม
ในการประชุม "John Maynard Keynes " กล่าว คัดค้านเนื้อหา ว่าลงโทษมากเกินเหตุ เพราะผู้แพ้สงครามก็บอบช้ามากพอแล้ว การจะต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม
เป็นจานวนเงินมหาศาลนั้น เป็นไปไม่ได้ทางเศรษฐกิจ ...แต่ไม่มีใครฟังเคนส์
สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 I
• 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 สงครามโลกครั้งที่ 2 ในทวีปยุโรปยุติลงอย่างเป็นทางการ
(Victory in Europe Day : V-E Day or VE Day)
หลังจากประเทศเยอรมนีประกาศยอมแพ้แต่สงครามในเอเชียยังคงดาเนินต่อไปจนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจานนในวันที่ 25 สิงหาคม
ปีเดียวกัน สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่สร้างความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก คาดว่ามีผู้เสียชีวิตทั้งหมด
ประมาณ 57 ล้านคน สาเหตุเกิดจากการที่เยอรมนีต้องลงนามใน สนธิสัญญาแวซายส์ (The Treaty of Versailles) หลังจากพ่ายแพ้
สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลให้เศรษฐกิจตกต่าเป็นอย่างมาก ฮิตเลอร์จึงละเมิดสนธิสัญญาแล้วบุกโปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน 2482
ส่วนในเอเชีย เริ่มจากญี่ปุ่นรุกรานจีนในวันที่ 7 กรกฎาคม 248

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 Suchawalee Buain
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-Kasidet Srifah
 

What's hot (18)

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 

Viewers also liked

Gbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobarGbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobardiana velasco
 
Van reactivering naar geriatrische revalidatie en herstelzorg
Van reactivering naar geriatrische revalidatie  en herstelzorgVan reactivering naar geriatrische revalidatie  en herstelzorg
Van reactivering naar geriatrische revalidatie en herstelzorgAukje van Kalsbeek
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Prashant Kothari
 
ахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LSахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LSMiriamEidel Zak
 
ахарей мот- младшая группа
ахарей мот- младшая группаахарей мот- младшая группа
ахарей мот- младшая группаMiriamEidel Zak
 
Final Paper 320
Final Paper 320Final Paper 320
Final Paper 320George Ly
 
Iim pact vibha 04092016 final
Iim pact vibha 04092016 finalIim pact vibha 04092016 final
Iim pact vibha 04092016 finalPrashant Kothari
 
Wine Company Legal Requirements Report New Citation Format
Wine Company Legal Requirements Report New Citation FormatWine Company Legal Requirements Report New Citation Format
Wine Company Legal Requirements Report New Citation FormatNick Kellerman
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitosoFelipe Lopera Londoño
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410George Ly
 

Viewers also liked (20)

Gbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobarGbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobar
 
vijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv newvijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv new
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Van reactivering naar geriatrische revalidatie en herstelzorg
Van reactivering naar geriatrische revalidatie  en herstelzorgVan reactivering naar geriatrische revalidatie  en herstelzorg
Van reactivering naar geriatrische revalidatie en herstelzorg
 
Question 3
Question 3Question 3
Question 3
 
redes de computo
redes de computoredes de computo
redes de computo
 
Google SketchUp
Google SketchUpGoogle SketchUp
Google SketchUp
 
Trea Trade katalog 1
Trea Trade   katalog 1Trea Trade   katalog 1
Trea Trade katalog 1
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
 
ахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LSахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LS
 
ахарей мот- младшая группа
ахарей мот- младшая группаахарей мот- младшая группа
ахарей мот- младшая группа
 
#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study
 
Final Paper 320
Final Paper 320Final Paper 320
Final Paper 320
 
Новинки літератури
Новинки літературиНовинки літератури
Новинки літератури
 
Iim pact vibha 04092016 final
Iim pact vibha 04092016 finalIim pact vibha 04092016 final
Iim pact vibha 04092016 final
 
Wine Company Legal Requirements Report New Citation Format
Wine Company Legal Requirements Report New Citation FormatWine Company Legal Requirements Report New Citation Format
Wine Company Legal Requirements Report New Citation Format
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
Aprendizaje autónomo
Aprendizaje autónomoAprendizaje autónomo
Aprendizaje autónomo
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
 

Similar to สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมwissanujo
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 

Similar to สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร (10)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
53011312317
5301131231753011312317
53011312317
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง (20)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร

  • 2. สาเหตุของสงครามโลก ครั้งที่ 1และ 2 สงครามโลกครั้งที่ 1 สาเหตุของสงคราม 1. ลัทธิชาตินิยม ( Nationalism) ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัส เซีย ฝ่ายปรัสเซียมีผู้นาที่เข้มแข็งอย่างบิสมาร์กเป็นผู้วางแผนการรบอย่างชาญฉลาด เอาชนะฝรั่งเศสได้ทาให้เยอรมันสามารถ รวมตัวกันและสถาปนาจักรวรรดิเยอรมัน เป็นมหาอานาจที่สาคัญในยุโรป ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแร นให้แก่เยอรมนี และเปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบ สาธารณรัฐ เป็นผลให้อิตาลีรวมชาติได้เป็นผลสาเร็จ ทาให้เกิดลัทธิชาตินิยม ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม เพื่อ เป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนามาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม การแข่งขันเป็นแบบการค้าเสรี เมื่อมีการแข่งขันสูงขึ้นจึงเริ่มใช้กาลังทางทหารเข้ายึดครองดินแดน ที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและ ตั้งกาแพงภาษีให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันมิให้สินค้าจากประเทศที่เป็นคู่แข่ง มาตีตลาดในประเทศบริวารของตน เป็นเครื่องมือวัด ความยิ่งใหญ่ของประเทศ
  • 3. 3. มหาอานาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา กลุ่มนี้จึงประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆเข้ามาร่วมเป็นพันธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง จึงหาทางออกด้วยการทาสงคราม 4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบ สมุทรบอลข่านอยู่ในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดา ประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก เติร์ก เมื่อชนเผ่าสลาฟภายใต้การนาของแคว้นเซอร์เบีย ได้เอกราชและแยกตัวออกจากจักรวรรดิออตโตมันเติร์ก ต่อมาเซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซได้รวมตัวกัน ทาสงครามกับ ตุรกีและสามารถยึดครองดินแดนของตุรกีในยุโรปได้แต่หลังจากชนะสงครามก็เกิดความขัดแย้งกันเองเซอร์เบียจึงกลายเป็นแคว้นที่มีอิทธิพลมากจนเป็นที่เกรงกลัวของ จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี ชนวนของสงครามเกิดขึ้นเมื่ออาร์ชดุ๊กฟรานซิสเฟอร์ดินานด์รัชทายาทของออสเตรีย-ฮังการี ถูกลอบปลงพระชนม์ โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย- ฮังการี จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศสงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย ในสงครามครั้งนี้ เรียกฝ่ายที่อยู่ข้างเซอร์เบีย รัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร และเรียกฝ่ายที่อยู่ข้างออสเตรีย-ฮังการีและเยอรมนีว่า ฝ่ายมหาอานาจกลาง (สาหรับอิตาลี ตอนแรกประกาศตนเป็นกลาง แต่ตอนหลังได้ไปเข้าข้างฝ่ายสัมพันธมิตร) การประสานประโยชน์หลังสงคราม ประเทศ พันธมิตรจึงได้จัดการประชุมสันติภาพ ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกาได้มีแนวความคิดที่จะสร้างองค์การระหว่างประเทศขึ้น ให้มีหน้าที่ใช้กาลังอานาจ ลงโทษประเทศที่ชอบรุกรานประเทศอื่น ทุกประเทศจะได้มีเวลาในการพัฒนาประเทศของตน โดย ไม่ต้องสร้างกาลังทหารและอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆอีกต่อไป
  • 4. สงครามโลกครั้งที่ 2 1. ความ ล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การทาหน้าที่รักษาสันติภาพของสันนิบาตชาติ ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะสันนิบาตไม่มีกองทหารและไม่มี อานาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้ อีกทั้งสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจึงทาให้สันนิบาตชาติอ่อนแอ 2. การ เติบโตของลัทธินิยมทางทหาร มีผู้นาหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็งทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เพื่อขยายอานาจทางการเมืองโดยใช้กาลังเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ และใช้กองทัพปกป้องผลประโยชน์ของชาติตน 3. ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาสันติภาพได้แก่ สนธิสัญญาแวร์ซายส์และสัญญาสันติภาพฉบับอื่น ๆ ภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้น สุดลง ซึ่งเยอรมนีและชาติผู้แพ้สงครามถูกบังคับให้สงนามในสัญญาที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ เช่น การสูญเสียดินแดนอาณานิคมและจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม จานวนมหาศาล จึงต้องการล้มเลิกเงื่อนไขข้อตกลงตามสัญญาฉบับนี้ 4. การแข่งขันทางเศรษฐกิจ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษ และฝรั่งเศสยังคงเป็นประเทศที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แต่เยอรมนี ซึ่งเป็นฝ่าย ปราชัยในสงครามและต้องสูญเสียดินแดนอารานิคมให้แก่ชาติมหาอานาจทั้งสองไปจนเกือบหมด รวมทั้งอิตาลีและญี่ปุ่น ซึ่งมีอาณานิคมน้อยกว่า จึงอยู่ ในฐานะประเทศที่มีกาลังทางเศรษฐกิจไม่เข้มแข็ง 5. ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้นาประเทศที่นิยมลัทธิทางทหารได้แก่ ฮิตเลอร์ ผู้นาลัทธินาซี (Nazism) ของเยอรมนี และ มุสโสลินี ผู้นาลัทธิฟาสต์ซิสม์(Fascism) ของ อิตาลี ทั้งสองต่อต้านแนวความคิดเสรีนิยมและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้ ความสาคัญกับพลังของลัทธิชาตินิยม ความเข้มแข็งทางทหารและอานาจของผู้นามากกว่า
  • 5. ผลของสงครามยังก่อให้เกิด 1.การยึดครองประเทศที่แพ้สงคราม 2.การก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ 3.ความตกต่าของยุโรป 4.การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวัฒนธรรม 5.กาเนิดรัฐอิสราเอล เมื่อยิวที่หลงเหลือจากการกวาดล้างของนาซีรวมพลสู่ดินแดนซึ่งเชื่อว่าพระเจ้าประทานให้ คือปาเลสไตน์ 6.สหรัฐกับสหภาพโซเวียตขึ้นเป็นมหาอานาจ นาสู่ภาวะสงครามเย็นส่วนด้านญี่ปุ่นต้องอยู่ในปกครองของสหรัฐ นาน 6 ปี สหประชาชาติ เป็น องค์การระหว่างประเทศ ที่ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง สหประชาชาติมีจุดประสงค์คือการนาทุกชาติทั่วโลกมาทางานร่วมกันเพื่อ สันติภาพ และการพัฒนาโดยอยู่บนหลักพื้นฐานของความยุติธรรม ศักดิ์ศรีของมนุษย์และความกินดีอยู่ดีของทุกคนนอกจากนี้ยังให้โอกาสประเทศต่าง ๆ สร้างดุลแห่งการ พึ่งพาอาศัยกันและรักษาผลประโยชน์ชาติในกรณีที่เกิดปัญหา ระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม มนุษยธรรม ให้ความสาคัญต่อสิทธิ มนุษยชน และเป็นศูนย์กลางในการร่วมมือกันเพื่อเป้าหมายต่าง ๆ วัตถุประสงค์ขององค์กร 1. ธารงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของโลกโดยการร่วมมือกัน 2. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยกันคลี่คลายและแก้ปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิทธิด้านมนุษยชน 3. เป็นศูยน์กลางพัฒนาความสัมพัน์อันดี และประสานงานกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อดาเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย
  • 6. (หลังจากการเซ็นสนธิสัญญาสงบศึกระหว่างเยรมนีกับฝ้ายพันธมิตรในวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี 1918) เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามงวดสุดท้าย จานวน 59.5 ล้านปอนด์ นับว่าเป็นการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 อย่างเป็นทางการไปแล้วเมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2010 ตามสนธิสัญญาแวร์ซายกาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับ "ผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว" โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณาเขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน มหาศาล โดยฝ่ายพันธมิตรได้เรียกร้องเอาทองคาจาก เยอรมนีเป็นมูลค่า 226,000 ล้านไรซ์มาร์ก (หรือ 11,300 ล้านปอนด์) ซึ่งเป็นจานวนที่ได้รับการรับรองจาก คณะกรรมการค่าปฏิกรรมสงครามของฝ่าย พันธมิตร แต่ในปี ค.ศ. 1921 ถูกปรับลดลงมาเหลือ 132,000 ล้านไรซ์มาร์ก (หรือ 4,990 ล้านปอนด์) การเรียกร้องค่า ปฏิกรรมสงครามจากเยอรมนีส่วนหนึ่งเป็นการแก้แค้นของ ฝรั่งเศส เนื่องจากผลของสนธิสัญญาแฟรงเฟิร์ตเมื่อปี ค.ศ. 1871 ที่ได้ลงนามหลังจากสงครามฝรั่งเศส- ปรัสเซีย ซึ่งฝรั่งเศสจาเป็นต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่เยอรมนีมากพอ ๆ กัน การพ่ายแพ้ของเยอรมันในครั้งนี้ ชาวเยอรมันถือว่าการตัดสินลงโทษของฝ่ายชนะ(พันธมิตร)ไม่เป็นธรรม เพราะดินแดนต้นเรื่องเกิดขึ้นที่ ออสเตรีย-ฮังการี แต่พอ แพ้กลับมารุมลงโทษเยอรมันที่เดียว ชาวเยอรมันต่างก็เคียดแค้นและยอมลงนามใช้หนี้สงครามอย่างไม่เต็มใจ ใน ขณะที่ นักเศรษฐศาสตร์หนุ่มชาวอังกฤษก็อยู่ร่วม ในการประชุม "John Maynard Keynes " กล่าว คัดค้านเนื้อหา ว่าลงโทษมากเกินเหตุ เพราะผู้แพ้สงครามก็บอบช้ามากพอแล้ว การจะต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม เป็นจานวนเงินมหาศาลนั้น เป็นไปไม่ได้ทางเศรษฐกิจ ...แต่ไม่มีใครฟังเคนส์
  • 7. สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 I • 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 สงครามโลกครั้งที่ 2 ในทวีปยุโรปยุติลงอย่างเป็นทางการ (Victory in Europe Day : V-E Day or VE Day) หลังจากประเทศเยอรมนีประกาศยอมแพ้แต่สงครามในเอเชียยังคงดาเนินต่อไปจนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจานนในวันที่ 25 สิงหาคม ปีเดียวกัน สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่สร้างความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก คาดว่ามีผู้เสียชีวิตทั้งหมด ประมาณ 57 ล้านคน สาเหตุเกิดจากการที่เยอรมนีต้องลงนามใน สนธิสัญญาแวซายส์ (The Treaty of Versailles) หลังจากพ่ายแพ้ สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลให้เศรษฐกิจตกต่าเป็นอย่างมาก ฮิตเลอร์จึงละเมิดสนธิสัญญาแล้วบุกโปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน 2482 ส่วนในเอเชีย เริ่มจากญี่ปุ่นรุกรานจีนในวันที่ 7 กรกฎาคม 248