SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
โลกาภิว ัต น์ก ับ การเมือ ง
บทที่ 5 โลกาภิว ัต น์ก ับ ชาติแ ละ
สอนโดย อาจารย์ิย ม . วิน ัย ผล
             ชาติน ดร
              เจริญ
 วิท ยาลัย การเมือ งการปกครอง
    มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม           2
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ความสัมพันธ์ระหว่างชาตินิยม รัฐชาติ
  และการเมืองโลก ตามมุมมองมาตรฐาน
  ทั่วไป
  ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีรัฐ
     อธิปไตยซึงมีเขตแดนชัดเจนเกิดขึ้นใน
               ่
     ยุโรป (ระบบเวสต์ฟาเลีย)
  ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาตินิยม
     เกิดขึ้นและต่อมาขยายไปทั่วยุโรป รัฐ-
     ชาติขยายตัว ความสัมพันธ์ระหว่าง
     ประเทศจึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ-
                                            3
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาตินิยม” ของ John Breuilly
  (ผู้เขียนเนือหาบทนี้)
              ้
   ชาตินิยม (Nationalism) คือแนวคิดที่
    เห็นว่าโลกนั้นถูกแบ่งออกเป็นชาติต่างๆ
    ซึ่งทำาให้มีการเน้นความสำาคัญของอัต
    ลักษณ์และความภักดีทางการเมือง ซึง  ่
    ในทางกลับกันมันก็เรียกร้องต้องการ
    การกำาหนดตนเองของชาติ

                                            4
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 นักชาตินิยมมองชาติแตกต่างกัน คนกลุ่ม
  เดียวกันอาจถูกอ้างโดยนักชาตินิยมที่
  ต่อสูขัดแย้งกัน เช่น
        ้
   นักชาตินิยมตุรกีอางว่าชาวเคิร์ดใน
                       ้
     ตุรกีเป็นชาวตุรกี
   แต่นักชาตินิยมชาวเคิร์ดปฏิเสธคำา
     กล่าวอ้างข้างต้น
   (เปรียบเทียบคนไทย/ความเป็นไทย VS
     คนลาว/ความเป็นลาวในอดีต)            5
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 ชาตินิยม ในฐานะที่เป็น
  อุดมการณ์ (Ideology) คือเป็นโลก
   ทัศน์/มุมมองทางการเมือง
  อารมณ์ความรู้สก (Sentiments) คือ
                     ึ
   เป็นการก่อรูปอัตลักษณ์ของประชาชน
  การเมือง (Politics) คือเป็นขบวนการ
   ที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ

                                        6
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอุดมการณ์
  ชาตินิยมพลเมือง (Civic
   Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง
   ความผูกพันกับรัฐ การเป็นสมาชิกของ
   รัฐเป็นปัจจัยกำาหนดสัญชาติ เช่นที่เห็น
   ได้ในผู้อพยพหลากหลายชาติพันธุใน     ์
   สหรัฐอเมริกา (เทียบ: คนทุกชาติพนธุ์ที่
                                     ั
   เป็นพลเมืองไทยคือคนไทย)
  ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnic
   Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง
                                            7
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอารมณ์ความรู้สก ึ
  ชาตินิยมชนชั้นนำา (Elite
   Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติ
   แบบชนชั้นนำา มีคนรู้สกร่วมน้อย
                        ึ
  ชาตินิยมมวลชน (Mass
   Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติที่
   ขยายออกไปถึงระดับมวลชน มีคนรู้สก  ึ
   ร่วมมาก
                                           8
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นการเมือง
  ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐเข้มแข็ง (State-
   Strengthening Nationalism) เป็น
   ขบวนการผู้รักชาติที่ยอมรับรัฐที่มีอยู่
   พยายามสร้างความเข้มแข็งให้รัฐ ทั้ง
   ภายในด้วยการทำาชาติให้บริสทธิ์และ
                                  ุ
   ปฏิรูปการปกครอง และภายนอกด้วย
   การอ้างซำ้าเรื่องเขตแดนและอำานาจที่
   ขยายออกไป
  ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐอ่อนแอ (State-       9
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson
  “ชาติคือชุมชนจินตกรรมการเมือง-และ
    จินตกรรมขึ้นโดย มีทั้งอธิปไตยและมี
    ขอบเขตจำากัดตั้งแต่กำาเนิด... ชาติถูก
      จินตกรรมขึ้นก็เพราะว่าสมาชิกของ
    ชาติที่แม้จะเล็กที่สุด ก็ตาม แม้จะไม่
    เคยรู้จักเพือนสมาชิกร่วมชาติทั้งหมด
                ่
    ของ ตน ไม่เคยพบเห็นพวกเขาเหล่า
    นั้นทั้งหมด หรือไม่เคยแม้กระทั่งได้ยิน   10
บท
GP
                                         ที่ 5

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ชาติถูกจินตกรรมขึนอย่างมีขอบเขต
                          ้
    จำากัด เพราะว่าแม้กระทั่งชาติที่ใหญ่โต
    ที่สุด ทีถึงแม้จะมีประชาชนพลเมืองเป็น
             ่
    พันล้านคน ก็มเขตแดนจำากัด สุด
                     ี
    เขตแดนก็ยงมีชาติอื่นๆ อยู่ด้วย ไม่มี
                 ั
    ชาติใดที่จะจินตกรรมตนเองได้ว่ามี
    เขตแดนครอบคลุมมนุษยชาติทั้งหมด”
                                             11
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ชาติถูกจินตกรรมขึนให้มอธิปไตย ก็
                        ้     ี
    เพราะความคิดเกี่ยวกับชาติเกิดขึ้นมา
    ในยุคสมัยแห่งภูมิธรรมและการปฏิวัติที่
    กำาลังบ่อนทำาลายความชอบธรรมของ
    อาณาจักร และราชวงศ์ทปกครองกันมา
                           ี่
    ลดหลั่นเป็นแนวตั้งด้วย      เทว
    โองการ”
                                        12
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ท้ายที่สุด ชาติถูกจินตกรรมขึ้นเป็น
    ชุมชน ก็เพราะชาติถูกทำาให้โดนใจว่า
    เป็นภราดรภาพอันลึกซึ้งและเป็นแนว
    ระนาบ แม้ว่าจะมีความไม่เสมอภาค มี
    การกดขี่ขูดรีดดำารงอยู่ในแต่ละชาตินั้น
    ก็ตาม ในที่สุดแล้ว ตลอดสองร้อยปีที่
    ผ่านมา ภราดรภาพอันนี้แหละที่ทำาให้
    เป็นไปได้ที่ผู้คนเป็นจำานวนมาหลาย        13
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 ในการพิจารณาเรื่องชาติและชาตินิยม มี
  ประเด็นพิจารณาดังนี้
  ชาติเกิดก่อน/เป็นสาเหตุของชาตินิยม
    หรือว่าชาติเกิดหลัง/เป็นผลลัพธ์ของ
    ชาตินิยม
  ชาติเกิดขึ้นในยุคสมัยใหม่หรือว่าเกิด
    ขึ้นก่อนยุคสมัยใหม่
  อะไรเป็นปัจจัยสำาคัญที่สดต่อการเกิด
                            ุ
    ขึ้นของชาติ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หรือ    14

    การเมือง
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (จำานวนของ
  รัฐ-ชาติจากอดีตถึงปัจจุบน ปี
                          ั
  ค.ศ./จำานวนรัฐ-ชาติ/ชื่อรัฐ-ชาติ)
  1500/2/อังกฤษและฝรั่งเศส
  1800/6/อังกฤษ, ฝรั่งเศส,
     ฮอลแลนด์, สหรัฐอเมริกา, สเปน
     และโปรตุเกส
  1900/30/มีเบลเยียม, เยอรมนี,
                                      15
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (ต่อ)
  1923 สันนิบาตชาติมสมาชิก 45
                       ี
   ประเทศ
  1945 มี 51 ประเทศร่วมก่อตั้ง
   สหประชาชาติ
  1950 สหประชาชาติมีสมาชิก 60
   ประเทศ
  1960 สหประชาชาติมีสมาชิก 99     16
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
             โลกในประวัต ศ าสตร์
                           ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   อำานาจระดับโลก
     อังกฤษและฝรั่งเศสแข่งขันกันโดย
        ใช้กำาลังทังทางบกและทางทะเล
                   ้
        สร้างสงครามตัวแทนขึ้นใน 3
        ภูมภาค คือยุโรป อินเดีย และ
           ิ
        อเมริกาเหนือ แข่งกันควบคุมการ
        ค้าโลกและสินค้ามวลชนคือฝ้าย
                                        17
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                        ที่ 5
             โลกในประวัต ศ าสตร์
                           ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม     ิ
     ในอังกฤษและฝรั่งเศส มีเสียงเรียก
        ร้องให้ยกเลิกอภิสทธิ์และให้รัฐบาล
                         ิ
        รับผิดชอบต่อชาติ ชาติของ
        พลเมืองตังอยู่บนผลประโยชน์ของ
                 ้
        ชนชันกลางทีขยายตัวออกไป
             ้        ่
        ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับ
                                          18
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ
                ิ
    และ IR
     ในอังกฤษและฝรั่งเศส ชาตินยม  ิ
        เป็นขบวนการ (การเมือง) สำาคัญ
        แต่ทอื่นส่วนมากชาตินยมยังเป็น
             ี่               ิ
        เพียงแนวคิดทางวิชาการ เกิดการ
        ปฏิวัตอเมริกาให้เป็นอิสระจากการ
                  ิ
                                        19
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   อำานาจระดับโลก
    อังกฤษเป็นมหาอำานาจทางทะเล
     ผูกค่าเงินสกุลหลักเข้ากับราคาของ
     ทองคำา เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมมาก
     ขึ้นซึ่งตามมาด้วยการเปลียนแปลง
                              ่
     ด้านการสือสาร (โทรเลข) และ
                 ่
     การขนส่ง (พลังไอนำ้า เช่นเรือกล
     ไฟ)
                                       20
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม  ิ
    นักชาตินิยมในอังกฤษและฝรั่งเศส
     ละเลยชนชาติทไม่สำาคัญทาง
                      ี่
     ประวัตศาสตร์ (เช่นชาวโรมาเนีย
                ิ
     และชาวสลาฟ) ยืนยันว่าพวกเขา
     ต้องหลอมรวมกลืนกลายเข้ากับ
     ชาติทเป็น “วัฒนธรรมระดับสูง”
             ี่
     ทำาให้เกิดขบวนการชาตินิยมที่เป็น
                                       21
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ
           ิ
    และ IR
     ความสำาเร็จของชาตินยมทีทำาให้
                              ิ ่
      รัฐเข้มแข็ง ชาตินยมชนชั้นนำา และ
                        ิ
      ชาตินยมพลเมือง เชือมโยงกับ
             ิ            ่
      สงครามทีมการใช้เทคโนโลยีและ
                 ่ ี
      การจัดองค์กรสมัยใหม่ แนวคิด
      เสรีนิยมถูกเพิกเฉยเพราะชนชั้นนำา
                                       22
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   นัยสำาคัญทีมีตอการเมืองโลก
                 ่ ่
    ความขัดแย้งทางการเมืองทีขยาย
                                ่
     ตัวทั่วโลกเป็นแบบชาตินิยม
     จักรวรรดิพยายามควบคุมส่วนอืนๆ  ่
     ของโลก แต่ขบวนการชาตินิยมที่
     เป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิปฏิเสธ
     อำานาจของจักรวรรดิ ความขัดแย้ง
     ขยายตัวจนกลายเป็นสงครามโลก
                                        23
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                       ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   อำานาจระดับโลก
    ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา
      ขยายทั่วโลก ในปี 1917
      สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า
      ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก
      ขึ้น
    สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก
      กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม        24
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                       ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   อำานาจระดับโลก
    ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา
      ขยายทั่วโลก ในปี 1917
      สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า
      ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก
      ขึ้น
    สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก
      กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม        25
GP   ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                       ที่ 5
             โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินิยม
     หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการนำาเอา
      หลักการกำาหนดตัวเองไปใช้ แต่ละรัฐ
      ปกครองในนามของชาติที่ครอบงำาซึ่ง
      ระแวงชนกลุ่มน้อย
     เกิดชาตินิยมที่สุดโต่งแบบ Fascism
      และ Nazism
     ในโลกอาณานิคม การใช้กำาลังทหาร        26
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                        ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                             ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   ชาตินิยม การก่อตัวของรัฐชาติ และ
    IR
     ชาตินิยมไม่ใช่ปจจัยเดียวที่ทำาให้
                       ั
      เกิดรัฐชาติขึ้น ทีสำาคัญกว่าคือการที่
                         ่
      สงครามได้ทำาลายรัฐทีมีหลายชาติ
                               ่
      ลง
     สันนิบาตชาติไม่ประสบผลสำาเร็จ
                                          27
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
  นัยสำาคัญที่มีต่อการเมืองโลก
    สงครามโลกเรียกร้องต้องการให้มี
     ยุทธศาสตร์การเมืองระดับโลก และ
     สงครามโลกก็บ่อนทำาลายอำานาจ
     อธิปไตยของรัฐ
    โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเฟืองฟูขึ้นมา
                                ่
     อีก
    เสรีประชาธิปไตยถูกคุกคามจาก มี        28

More Related Content

Viewers also liked

The Business of Social Media
The Business of Social Media The Business of Social Media
The Business of Social Media Dave Kerpen
 
The hottest analysis tools for startups
The hottest analysis tools for startupsThe hottest analysis tools for startups
The hottest analysis tools for startupsLiane Siebenhaar
 
10 Steps of Project Management in Digital Agencies
10 Steps of Project Management in Digital Agencies 10 Steps of Project Management in Digital Agencies
10 Steps of Project Management in Digital Agencies Alemsah Ozturk
 
Lost in Cultural Translation
Lost in Cultural TranslationLost in Cultural Translation
Lost in Cultural TranslationVanessa Vela
 
All About Beer
All About Beer All About Beer
All About Beer Ethos3
 
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)Board of Innovation
 
The Seven Deadly Social Media Sins
The Seven Deadly Social Media SinsThe Seven Deadly Social Media Sins
The Seven Deadly Social Media SinsXPLAIN
 
Five Killer Ways to Design The Same Slide
Five Killer Ways to Design The Same SlideFive Killer Ways to Design The Same Slide
Five Killer Ways to Design The Same SlideCrispy Presentations
 
How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)Steven Hoober
 
Upworthy: 10 Ways To Win The Internets
Upworthy: 10 Ways To Win The InternetsUpworthy: 10 Ways To Win The Internets
Upworthy: 10 Ways To Win The InternetsUpworthy
 
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From Failure
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From FailureWhat 33 Successful Entrepreneurs Learned From Failure
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From FailureReferralCandy
 
Why Content Marketing Fails
Why Content Marketing FailsWhy Content Marketing Fails
Why Content Marketing FailsRand Fishkin
 
The History of SEO
The History of SEOThe History of SEO
The History of SEOHubSpot
 
How To (Really) Get Into Marketing
How To (Really) Get Into MarketingHow To (Really) Get Into Marketing
How To (Really) Get Into MarketingEd Fry
 
The What If Technique presented by Motivate Design
The What If Technique presented by Motivate DesignThe What If Technique presented by Motivate Design
The What If Technique presented by Motivate DesignMotivate Design
 

Viewers also liked (19)

The Business of Social Media
The Business of Social Media The Business of Social Media
The Business of Social Media
 
The hottest analysis tools for startups
The hottest analysis tools for startupsThe hottest analysis tools for startups
The hottest analysis tools for startups
 
10 Steps of Project Management in Digital Agencies
10 Steps of Project Management in Digital Agencies 10 Steps of Project Management in Digital Agencies
10 Steps of Project Management in Digital Agencies
 
Lost in Cultural Translation
Lost in Cultural TranslationLost in Cultural Translation
Lost in Cultural Translation
 
Flyer
FlyerFlyer
Flyer
 
All About Beer
All About Beer All About Beer
All About Beer
 
The Minimum Loveable Product
The Minimum Loveable ProductThe Minimum Loveable Product
The Minimum Loveable Product
 
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
 
The Seven Deadly Social Media Sins
The Seven Deadly Social Media SinsThe Seven Deadly Social Media Sins
The Seven Deadly Social Media Sins
 
Five Killer Ways to Design The Same Slide
Five Killer Ways to Design The Same SlideFive Killer Ways to Design The Same Slide
Five Killer Ways to Design The Same Slide
 
How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)
 
Upworthy: 10 Ways To Win The Internets
Upworthy: 10 Ways To Win The InternetsUpworthy: 10 Ways To Win The Internets
Upworthy: 10 Ways To Win The Internets
 
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From Failure
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From FailureWhat 33 Successful Entrepreneurs Learned From Failure
What 33 Successful Entrepreneurs Learned From Failure
 
Design Your Career 2018
Design Your Career 2018Design Your Career 2018
Design Your Career 2018
 
Why Content Marketing Fails
Why Content Marketing FailsWhy Content Marketing Fails
Why Content Marketing Fails
 
The History of SEO
The History of SEOThe History of SEO
The History of SEO
 
How To (Really) Get Into Marketing
How To (Really) Get Into MarketingHow To (Really) Get Into Marketing
How To (Really) Get Into Marketing
 
The What If Technique presented by Motivate Design
The What If Technique presented by Motivate DesignThe What If Technique presented by Motivate Design
The What If Technique presented by Motivate Design
 
Displaying Data
Displaying DataDisplaying Data
Displaying Data
 

Similar to 53011312317

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันM.L. Kamalasana
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)Narong Chokwatana
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารBoBiw Boom
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
06 The War Of Historiography After 2475 1
06 The War Of Historiography After 2475   106 The War Of Historiography After 2475   1
06 The War Of Historiography After 2475 1ee
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 

Similar to 53011312317 (19)

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.200ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
 
Populist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin AmericaPopulist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin America
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
06 The War Of Historiography After 2475 1
06 The War Of Historiography After 2475   106 The War Of Historiography After 2475   1
06 The War Of Historiography After 2475 1
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 

53011312317

  • 1.
  • 2. โลกาภิว ัต น์ก ับ การเมือ ง บทที่ 5 โลกาภิว ัต น์ก ับ ชาติแ ละ สอนโดย อาจารย์ิย ม . วิน ัย ผล ชาติน ดร เจริญ วิท ยาลัย การเมือ งการปกครอง มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม 2
  • 3. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ความสัมพันธ์ระหว่างชาตินิยม รัฐชาติ และการเมืองโลก ตามมุมมองมาตรฐาน ทั่วไป ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีรัฐ อธิปไตยซึงมีเขตแดนชัดเจนเกิดขึ้นใน ่ ยุโรป (ระบบเวสต์ฟาเลีย) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาตินิยม เกิดขึ้นและต่อมาขยายไปทั่วยุโรป รัฐ- ชาติขยายตัว ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศจึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ- 3
  • 4. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาตินิยม” ของ John Breuilly (ผู้เขียนเนือหาบทนี้) ้ ชาตินิยม (Nationalism) คือแนวคิดที่ เห็นว่าโลกนั้นถูกแบ่งออกเป็นชาติต่างๆ ซึ่งทำาให้มีการเน้นความสำาคัญของอัต ลักษณ์และความภักดีทางการเมือง ซึง ่ ในทางกลับกันมันก็เรียกร้องต้องการ การกำาหนดตนเองของชาติ 4
  • 5. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นักชาตินิยมมองชาติแตกต่างกัน คนกลุ่ม เดียวกันอาจถูกอ้างโดยนักชาตินิยมที่ ต่อสูขัดแย้งกัน เช่น ้ นักชาตินิยมตุรกีอางว่าชาวเคิร์ดใน ้ ตุรกีเป็นชาวตุรกี แต่นักชาตินิยมชาวเคิร์ดปฏิเสธคำา กล่าวอ้างข้างต้น (เปรียบเทียบคนไทย/ความเป็นไทย VS คนลาว/ความเป็นลาวในอดีต) 5
  • 6. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยม ในฐานะที่เป็น อุดมการณ์ (Ideology) คือเป็นโลก ทัศน์/มุมมองทางการเมือง อารมณ์ความรู้สก (Sentiments) คือ ึ เป็นการก่อรูปอัตลักษณ์ของประชาชน การเมือง (Politics) คือเป็นขบวนการ ที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ 6
  • 7. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอุดมการณ์ ชาตินิยมพลเมือง (Civic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง ความผูกพันกับรัฐ การเป็นสมาชิกของ รัฐเป็นปัจจัยกำาหนดสัญชาติ เช่นที่เห็น ได้ในผู้อพยพหลากหลายชาติพันธุใน ์ สหรัฐอเมริกา (เทียบ: คนทุกชาติพนธุ์ที่ ั เป็นพลเมืองไทยคือคนไทย) ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง 7
  • 8. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอารมณ์ความรู้สก ึ ชาตินิยมชนชั้นนำา (Elite Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติ แบบชนชั้นนำา มีคนรู้สกร่วมน้อย ึ ชาตินิยมมวลชน (Mass Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติที่ ขยายออกไปถึงระดับมวลชน มีคนรู้สก ึ ร่วมมาก 8
  • 9. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นการเมือง ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐเข้มแข็ง (State- Strengthening Nationalism) เป็น ขบวนการผู้รักชาติที่ยอมรับรัฐที่มีอยู่ พยายามสร้างความเข้มแข็งให้รัฐ ทั้ง ภายในด้วยการทำาชาติให้บริสทธิ์และ ุ ปฏิรูปการปกครอง และภายนอกด้วย การอ้างซำ้าเรื่องเขตแดนและอำานาจที่ ขยายออกไป ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐอ่อนแอ (State- 9
  • 10. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson “ชาติคือชุมชนจินตกรรมการเมือง-และ จินตกรรมขึ้นโดย มีทั้งอธิปไตยและมี ขอบเขตจำากัดตั้งแต่กำาเนิด... ชาติถูก จินตกรรมขึ้นก็เพราะว่าสมาชิกของ ชาติที่แม้จะเล็กที่สุด ก็ตาม แม้จะไม่ เคยรู้จักเพือนสมาชิกร่วมชาติทั้งหมด ่ ของ ตน ไม่เคยพบเห็นพวกเขาเหล่า นั้นทั้งหมด หรือไม่เคยแม้กระทั่งได้ยิน 10
  • 11. บท GP ที่ 5 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ชาติถูกจินตกรรมขึนอย่างมีขอบเขต ้ จำากัด เพราะว่าแม้กระทั่งชาติที่ใหญ่โต ที่สุด ทีถึงแม้จะมีประชาชนพลเมืองเป็น ่ พันล้านคน ก็มเขตแดนจำากัด สุด ี เขตแดนก็ยงมีชาติอื่นๆ อยู่ด้วย ไม่มี ั ชาติใดที่จะจินตกรรมตนเองได้ว่ามี เขตแดนครอบคลุมมนุษยชาติทั้งหมด” 11
  • 12. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ชาติถูกจินตกรรมขึนให้มอธิปไตย ก็ ้ ี เพราะความคิดเกี่ยวกับชาติเกิดขึ้นมา ในยุคสมัยแห่งภูมิธรรมและการปฏิวัติที่ กำาลังบ่อนทำาลายความชอบธรรมของ อาณาจักร และราชวงศ์ทปกครองกันมา ี่ ลดหลั่นเป็นแนวตั้งด้วย เทว โองการ” 12
  • 13. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ท้ายที่สุด ชาติถูกจินตกรรมขึ้นเป็น ชุมชน ก็เพราะชาติถูกทำาให้โดนใจว่า เป็นภราดรภาพอันลึกซึ้งและเป็นแนว ระนาบ แม้ว่าจะมีความไม่เสมอภาค มี การกดขี่ขูดรีดดำารงอยู่ในแต่ละชาตินั้น ก็ตาม ในที่สุดแล้ว ตลอดสองร้อยปีที่ ผ่านมา ภราดรภาพอันนี้แหละที่ทำาให้ เป็นไปได้ที่ผู้คนเป็นจำานวนมาหลาย 13
  • 14. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ในการพิจารณาเรื่องชาติและชาตินิยม มี ประเด็นพิจารณาดังนี้ ชาติเกิดก่อน/เป็นสาเหตุของชาตินิยม หรือว่าชาติเกิดหลัง/เป็นผลลัพธ์ของ ชาตินิยม ชาติเกิดขึ้นในยุคสมัยใหม่หรือว่าเกิด ขึ้นก่อนยุคสมัยใหม่ อะไรเป็นปัจจัยสำาคัญที่สดต่อการเกิด ุ ขึ้นของชาติ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หรือ 14 การเมือง
  • 15. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (จำานวนของ รัฐ-ชาติจากอดีตถึงปัจจุบน ปี ั ค.ศ./จำานวนรัฐ-ชาติ/ชื่อรัฐ-ชาติ) 1500/2/อังกฤษและฝรั่งเศส 1800/6/อังกฤษ, ฝรั่งเศส, ฮอลแลนด์, สหรัฐอเมริกา, สเปน และโปรตุเกส 1900/30/มีเบลเยียม, เยอรมนี, 15
  • 16. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (ต่อ) 1923 สันนิบาตชาติมสมาชิก 45 ี ประเทศ 1945 มี 51 ประเทศร่วมก่อตั้ง สหประชาชาติ 1950 สหประชาชาติมีสมาชิก 60 ประเทศ 1960 สหประชาชาติมีสมาชิก 99 16
  • 17. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 อำานาจระดับโลก อังกฤษและฝรั่งเศสแข่งขันกันโดย ใช้กำาลังทังทางบกและทางทะเล ้ สร้างสงครามตัวแทนขึ้นใน 3 ภูมภาค คือยุโรป อินเดีย และ ิ อเมริกาเหนือ แข่งกันควบคุมการ ค้าโลกและสินค้ามวลชนคือฝ้าย 17
  • 18. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม ิ ในอังกฤษและฝรั่งเศส มีเสียงเรียก ร้องให้ยกเลิกอภิสทธิ์และให้รัฐบาล ิ รับผิดชอบต่อชาติ ชาติของ พลเมืองตังอยู่บนผลประโยชน์ของ ้ ชนชันกลางทีขยายตัวออกไป ้ ่ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับ 18
  • 19. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ ิ และ IR ในอังกฤษและฝรั่งเศส ชาตินยม ิ เป็นขบวนการ (การเมือง) สำาคัญ แต่ทอื่นส่วนมากชาตินยมยังเป็น ี่ ิ เพียงแนวคิดทางวิชาการ เกิดการ ปฏิวัตอเมริกาให้เป็นอิสระจากการ ิ 19
  • 20. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 อำานาจระดับโลก อังกฤษเป็นมหาอำานาจทางทะเล ผูกค่าเงินสกุลหลักเข้ากับราคาของ ทองคำา เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมมาก ขึ้นซึ่งตามมาด้วยการเปลียนแปลง ่ ด้านการสือสาร (โทรเลข) และ ่ การขนส่ง (พลังไอนำ้า เช่นเรือกล ไฟ) 20
  • 21. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม ิ นักชาตินิยมในอังกฤษและฝรั่งเศส ละเลยชนชาติทไม่สำาคัญทาง ี่ ประวัตศาสตร์ (เช่นชาวโรมาเนีย ิ และชาวสลาฟ) ยืนยันว่าพวกเขา ต้องหลอมรวมกลืนกลายเข้ากับ ชาติทเป็น “วัฒนธรรมระดับสูง” ี่ ทำาให้เกิดขบวนการชาตินิยมที่เป็น 21
  • 22. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ ิ และ IR ความสำาเร็จของชาตินยมทีทำาให้ ิ ่ รัฐเข้มแข็ง ชาตินยมชนชั้นนำา และ ิ ชาตินยมพลเมือง เชือมโยงกับ ิ ่ สงครามทีมการใช้เทคโนโลยีและ ่ ี การจัดองค์กรสมัยใหม่ แนวคิด เสรีนิยมถูกเพิกเฉยเพราะชนชั้นนำา 22
  • 23. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 นัยสำาคัญทีมีตอการเมืองโลก ่ ่ ความขัดแย้งทางการเมืองทีขยาย ่ ตัวทั่วโลกเป็นแบบชาตินิยม จักรวรรดิพยายามควบคุมส่วนอืนๆ ่ ของโลก แต่ขบวนการชาตินิยมที่ เป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิปฏิเสธ อำานาจของจักรวรรดิ ความขัดแย้ง ขยายตัวจนกลายเป็นสงครามโลก 23
  • 24. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 อำานาจระดับโลก ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917 สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก ขึ้น สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม 24
  • 25. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 อำานาจระดับโลก ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917 สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก ขึ้น สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม 25
  • 26. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินิยม  หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการนำาเอา หลักการกำาหนดตัวเองไปใช้ แต่ละรัฐ ปกครองในนามของชาติที่ครอบงำาซึ่ง ระแวงชนกลุ่มน้อย  เกิดชาตินิยมที่สุดโต่งแบบ Fascism และ Nazism  ในโลกอาณานิคม การใช้กำาลังทหาร 26
  • 27. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 ชาตินิยม การก่อตัวของรัฐชาติ และ IR ชาตินิยมไม่ใช่ปจจัยเดียวที่ทำาให้ ั เกิดรัฐชาติขึ้น ทีสำาคัญกว่าคือการที่ ่ สงครามได้ทำาลายรัฐทีมีหลายชาติ ่ ลง สันนิบาตชาติไม่ประสบผลสำาเร็จ 27
  • 28. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 นัยสำาคัญที่มีต่อการเมืองโลก  สงครามโลกเรียกร้องต้องการให้มี ยุทธศาสตร์การเมืองระดับโลก และ สงครามโลกก็บ่อนทำาลายอำานาจ อธิปไตยของรัฐ  โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเฟืองฟูขึ้นมา ่ อีก  เสรีประชาธิปไตยถูกคุกคามจาก มี 28