SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครัง้ที่สอง 
เป็นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีปและประเทศส่วนใหญ่ในโลกเริ่มต้นในปีพ.ศ. 2482 และดำเนินไป 
จนกระทงั่สิน้สุดในปีพ.ศ. 2488ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่มีขนาดใหญ่และทำให้เกิดความสูญเสียครัง้ใหญ่ที่สุดใน 
ประวัติศาสตร์โลก
ต้นเหตุที่แท้จริงของสงครามครั้งนี้ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ไม่ว่าจะเป็น 
สนธิสัญญาแวร์ซายส์ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ครั้งใหญ่ ความเป็นชาตินิยม การแย่งชิงอา นาจและต้องการแบ่งปันโลกใหม่ของ 
ประเทศที่เจริญตามมาทีหลังและแสนยนิยม เช่นเดียวกับวันเริ่มต้นสงคราม ที่อาจเป็นไปได้ 
-วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2482 ที่เยอรมันรุกรานโปแลนด์ 
- วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) ที่ญี่ปุ่นรุกรานจีน (วันเริ่มต้นสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2) หรือ ปีพ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) 
ที่ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย บางคนกล่าวว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งนี้เป็นข้อพิพาทเดียวกัน แต่แยกกันด้วย "การ 
หยุดยิง"
การต่อสู้มีขึ้นตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก ยุโรปตะวันตกและตะวันออก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แอฟริกา ตะวันออกกลาง 
มหาสมุทรแปซิฟิก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน 
สงครามในยุโรปสิ้นสุดเมื่อ 
- เยอรมนียอมจา นนในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 แต่ในเอเชียยังดา เนินต่อไป 
- จนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจา นนในวันที่ 15 สิงหาคม ปีเดียวกัน คาดว่ามีผู้เสียชีวิตในสงครามครั้งนี้ราว 57 ล้านคน
ประเทศในฝ่ายพันธมิตรแสดงในสีเขียว และฝ่ายอักษะแสดงในสีส้ม
สมรภูมิทางตะวันออก 
สมรภูมิทางตะวันออก ซึ่งรับผิดชอบโดยญี่ปุ่นเป็นด้านหลัก โดยมีชื่อเรียกยังสามารถแยกเป็นกลุ่มย่อยได้อีกคือ
สมรภูมิในจีน ซึ่งกองทัพบกญี่ปุ่นได้ดา เนินการมานานก่อนที่จะเกิดสงครามโลกครั้งที่2 อย่างเป็นทางการ โดยได้ทา การ 
ยึดครองเมืองและบริเวณชายฝั่งของจีนเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงการจัดตั้งประเทศแมนจูกัวซึ่งมีจักรพรรดิปูยีเป็นประมุข และได้ทา 
การยึดครองกรุงหนานจิง(นานกิง) ที่เป็นเมืองหลวงของจีน (ของรัฐบาลก๊กมินตั่งในยุคนั้น) และได้ทา การสังหารหมู่ชาวจีนทีโด่ง 
ดังขึ้น ซึ่งรุนแรงมากจนกระทั่งทา ให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ในเมืองนานกิงยังรับไม่ได้ 
ญี่ปุ่นต้องเผชิญกับแนวร่วมต่อต้านญี่ปุ่นซึ่งเป็นการร่วมมือระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งมีเหมาเจ๋อตงเป็นผู้นา และพรรค 
ก๊กมินตั๋น(ประชาธิปไตย)ที่มีเจียงไคเช็กเป็นผู้นา หลังจากเกิดกรณีซีอันขึ้น ทั้งที่ 2 พรรคนี้เคยเป็นศัตรูกันมาก่อนโดยพรรค 
คอมมิวนิสต์ได้ทา การสู้รบและดา เนินการ"สงครามกองโจร" ที่กลายเป็นแบบอย่างของสงครามกองโจรยุคใหม ขึ้นโดยมีฐานที่ 
มั่นหลักอยู่ที่เยนอานตามเขตตอนเหนือและแมนจูเรีย
ส่วนพรรคก๊กมินตั๋นได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่ฉ่งชิ่ง(จุงกิง)และได้รับการสนับสนุนจากสัมพันธมิตรที่อยู่ในอินเดีย แต่ว่ามีการ 
ถกเถียงกันระหว่างบทบาทของพรรคก๊กมินตั๋นและพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในเรื่องบทบาทความสาเร็จและความเอาการเอางานใน 
การต่อต้านญี่ปุ่นของอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ที่แน่ชัดคือ นายพลสติเวลล์ผู้บัญชาการทหารของสหรัฐอเมริกาที่เข้าไปดูแลกองทัพของ 
พรรคก๊กมินตั๋นรู้สึกโกรธมากที่ภายในพรคก๊กมินตั๋นไม่มีประสิทธิภาพ และมุ่งการปราบคอมมิวนิสต์มากกว่าการรบกับญี่ปุ่น 
ในขณะที่เอดการ์สโนว์ได้แสดงความชื่นชมบทบาทของเหมาเจ๋อตงอย่างมากในการต่อต้านญี่ปุ่น และทางกองทัพ 
สหรัฐอเมริกาได้ส่งคณะปฏิบัติการดิกซีเข้าไปร่วมทา งานกับเหมาเจ๋อตุง แต่นักหนังสือพิมพ์จากสหภาพโซเวียตที่ได้เข้าไปทา ข่าว 
ในห่วงเวลาเดียวกันกลับวิจารณ์เหมาเจ๋อตงว่าไม่เคร่งครัดในลัทธิคอมมิวนิสต์และหย่อนยานในการสู้รบ ทา ให้ไม่สามารถ 
เอาชนะญี่ปุ่นได้
การรบชนะจีนซึ่งเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่ายิ่งใหญ่ที่สุดในเอเชียนั้น ยิ่งทา ให้ชาติญี่ปุ่นมีความเชื่อมั่นในการทหารของตนเอง ทา 
การรุกรานประเทศอื่นๆอย่างไม่เกรงกลัวและยังประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาโดยการส่งเครื่องบินไประเบิดเรือมิสซูรีที่อ่าว 
เพิร์ล เป็นชนวนจุดระเบิดสงครามโลกครั้งที่สองในภูมิภาคเอเชีย
สมรภูมิในแปซิฟิก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งถ้าไม่นับรวมการเข้ายึดครองอินโดจีนของฝรั่งเศส ที่ถูกบังคับให้ 
เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะภายใต้รัฐบาลวิชีแล้วสมรภูมิด้านนี้ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อญี่ปุ่นโจมตีฐานทัพเรือหลักของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา 
ที่อ่าวเพิร์ลฮาเบอร์และการบุกยึดประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงไทยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งกองทัพญี่ปุ่น 
ได้บุกไปถึงพม่า นิวกินีและเกาะกัวดาคาแนล 
ซึ่งปรากฏว่าหลังจากสมรภูมิที่มิดเวย์การรบทางทะเลแถวหมู่เกาะโซโลมอนและทะเลปะการัง และการรบที่กัวดาคาแนล 
แล้ว ปรากฏว่ากองทัพเรือญี่ปุ่นต้องสูญเสียอย่างหนัก ส่วนกองทัพบกก็ไม่สามารถหากา ลังพลและยุทโธปกรณ์ได้เพียงพอเพื่อ 
ปกป้องดินแดนที่ยึดได้ใหม่ในที่สุดจึงถูกกองกา ลังพันธมิตรที่มีสหรัฐอเมริกา อังกฤษและออสเตรเลียตีโต้กลับไปจนนา ไปสู้ 
ความพ่ายแพ้ในที่สุด
สมรภูมิทางตะวันตก 
สมรภูมิทางตะวันตก ซึ่งมีเยอรมนีเป็นฝ่ายรับผิดชอบ โดยยังสามารถแยกย่อยให้เป็นกลุ่มย่อยได้อีกคือ
สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันตก 
ได้แก่ในฝรั่งเศส ประเทศต่า (เบลเยียมเนเธอร์แลนด์และลักเซมเบอร์ก)และในสแกนดิเนเวีย ซึ่งเยอรมนีประสบความสา เร็จ 
ในการยึดครอง และการยุทธแห่งเกาะบริเตนที่ไม่ประสบความสาเร็จเนื่องจากการเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของฮิตเลอร์ที่หันไปให้ 
ความสา คัญกับยุโรปตะวันออกและรัสเซีย ซึ่งเป็นแนวรบที่เยอรมนีได้ทา การโจมตีหลังจากได้เข้ายึดครองประเทศโปแลนด์แล้ว 
และได้กลายเป็นสมรภูมิสา คัญของสงครามอีกครั้งหลังจากการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดีประเทศฝรั่งเศส และการยกพลขึ้นบกที่ 
อิตาลีของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรตามปฏิบัติการแอนซิโอ
สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันออก 
แก่ในโปแลนด์กรีซ (บางส่วน ยูโกสลาเวียโรมาเนีย และสหภาพโซเวียต ซึ่งถ้าไม่นับรวมโปแลนด์แล้ว ประเทศเหล่านี้ 
ต้องเผชิญการรุกรานจากเยอรมนีหลังจากสมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันตก ซึ่งเยอรมนีได้บุกเข้าไปจนกินเนื้อที่จา นวนมาก แต่ทว่าก็ 
ไม่อาจเอาชนะฝ่ายสัมพันธมิตรในสมรภูมินี้อย่างถาวร เนื่องจากแนวรบที่กว้างขวางตั้งแต่ทะเลบอลติก (เลนินกราดหรือเซนต์ปี 
เตอร์สเบิร์ก) จนถึงลุ่มแม่น้า วอลก้า(สตาลินกราด) และแหลมไครเมีย สภาพอากาศที่โหดร้าย และการตอบโต้อย่างหนักจาก 
สหภาพโซเวียต จนทา ให้โดนฝ่ายสหภาพโซเวียตตีโต้กลับไปจนถึงกรุงเบอร์ลินในที่สุด
สมรภูมิริมขอบของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
ได้แก่ ในไซปรัส กรีซ (บางส่วน)ลิเบีย และอียิปต์ซึ่งพื้นที่เหล่านี้เคยอยู่ในอิทธิพลของอังกฤษมาก่อน แต่ว่าอิตาลีและ 
เยอรมนีต้องการ จึงได้เกิดสมรภูมิทะเลทรายอันลือลั่นขึ้น ในตอนแรกนั้น ฝ่ายอิตาลีไม่สามารถเอาชนะอังกฤษได้แต่ว่าต่อมาฮิต 
เลอร์ได้ส่งจอมทัพเออร์วิน รอมเมลอันโด่งดังและกองกา ลัง Afrika Korp เข้ามาทา ให้สถานการณ์ของฝ่ายอักษะ 
กลายเป็นฝ่ายรุก แต่ในที่สุด เนื่องด้วยฝ่ายอักษะไม่สามารถส่งกา ลังบา รุงและทหารมาประจา การในสมรภูมิทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
ได้มาก เนื่องจากติดพันอยู่กับสมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันออก และฝ่ายสัมพันธมิตรต้องการฐานสนับสนุนการยกพลขึ้นบกที่อิตาลี 
ตามข้อเสนอของนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ด้วยความสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา จึงได้เกิดปฏิบัติการทอร์ช ขึ้น และ 
สามารถขับไล่ฝ่ายอักษะออกจากแอฟริกาเหนือได้

More Related Content

What's hot

7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะfsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 Suchawalee Buain
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 

What's hot (20)

7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 2 (6)

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 

สงครามโลกครั้งที่ 2

  • 2. สงครามโลกครัง้ที่สอง เป็นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีปและประเทศส่วนใหญ่ในโลกเริ่มต้นในปีพ.ศ. 2482 และดำเนินไป จนกระทงั่สิน้สุดในปีพ.ศ. 2488ได้ชื่อว่าเป็นสงครามที่มีขนาดใหญ่และทำให้เกิดความสูญเสียครัง้ใหญ่ที่สุดใน ประวัติศาสตร์โลก
  • 3. ต้นเหตุที่แท้จริงของสงครามครั้งนี้ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ไม่ว่าจะเป็น สนธิสัญญาแวร์ซายส์ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ครั้งใหญ่ ความเป็นชาตินิยม การแย่งชิงอา นาจและต้องการแบ่งปันโลกใหม่ของ ประเทศที่เจริญตามมาทีหลังและแสนยนิยม เช่นเดียวกับวันเริ่มต้นสงคราม ที่อาจเป็นไปได้ -วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2482 ที่เยอรมันรุกรานโปแลนด์ - วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) ที่ญี่ปุ่นรุกรานจีน (วันเริ่มต้นสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2) หรือ ปีพ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) ที่ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย บางคนกล่าวว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งนี้เป็นข้อพิพาทเดียวกัน แต่แยกกันด้วย "การ หยุดยิง"
  • 4. การต่อสู้มีขึ้นตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก ยุโรปตะวันตกและตะวันออก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แอฟริกา ตะวันออกกลาง มหาสมุทรแปซิฟิก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน สงครามในยุโรปสิ้นสุดเมื่อ - เยอรมนียอมจา นนในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 แต่ในเอเชียยังดา เนินต่อไป - จนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจา นนในวันที่ 15 สิงหาคม ปีเดียวกัน คาดว่ามีผู้เสียชีวิตในสงครามครั้งนี้ราว 57 ล้านคน
  • 6. สมรภูมิทางตะวันออก สมรภูมิทางตะวันออก ซึ่งรับผิดชอบโดยญี่ปุ่นเป็นด้านหลัก โดยมีชื่อเรียกยังสามารถแยกเป็นกลุ่มย่อยได้อีกคือ
  • 7. สมรภูมิในจีน ซึ่งกองทัพบกญี่ปุ่นได้ดา เนินการมานานก่อนที่จะเกิดสงครามโลกครั้งที่2 อย่างเป็นทางการ โดยได้ทา การ ยึดครองเมืองและบริเวณชายฝั่งของจีนเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงการจัดตั้งประเทศแมนจูกัวซึ่งมีจักรพรรดิปูยีเป็นประมุข และได้ทา การยึดครองกรุงหนานจิง(นานกิง) ที่เป็นเมืองหลวงของจีน (ของรัฐบาลก๊กมินตั่งในยุคนั้น) และได้ทา การสังหารหมู่ชาวจีนทีโด่ง ดังขึ้น ซึ่งรุนแรงมากจนกระทั่งทา ให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ในเมืองนานกิงยังรับไม่ได้ ญี่ปุ่นต้องเผชิญกับแนวร่วมต่อต้านญี่ปุ่นซึ่งเป็นการร่วมมือระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งมีเหมาเจ๋อตงเป็นผู้นา และพรรค ก๊กมินตั๋น(ประชาธิปไตย)ที่มีเจียงไคเช็กเป็นผู้นา หลังจากเกิดกรณีซีอันขึ้น ทั้งที่ 2 พรรคนี้เคยเป็นศัตรูกันมาก่อนโดยพรรค คอมมิวนิสต์ได้ทา การสู้รบและดา เนินการ"สงครามกองโจร" ที่กลายเป็นแบบอย่างของสงครามกองโจรยุคใหม ขึ้นโดยมีฐานที่ มั่นหลักอยู่ที่เยนอานตามเขตตอนเหนือและแมนจูเรีย
  • 8. ส่วนพรรคก๊กมินตั๋นได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่ฉ่งชิ่ง(จุงกิง)และได้รับการสนับสนุนจากสัมพันธมิตรที่อยู่ในอินเดีย แต่ว่ามีการ ถกเถียงกันระหว่างบทบาทของพรรคก๊กมินตั๋นและพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในเรื่องบทบาทความสาเร็จและความเอาการเอางานใน การต่อต้านญี่ปุ่นของอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ที่แน่ชัดคือ นายพลสติเวลล์ผู้บัญชาการทหารของสหรัฐอเมริกาที่เข้าไปดูแลกองทัพของ พรรคก๊กมินตั๋นรู้สึกโกรธมากที่ภายในพรคก๊กมินตั๋นไม่มีประสิทธิภาพ และมุ่งการปราบคอมมิวนิสต์มากกว่าการรบกับญี่ปุ่น ในขณะที่เอดการ์สโนว์ได้แสดงความชื่นชมบทบาทของเหมาเจ๋อตงอย่างมากในการต่อต้านญี่ปุ่น และทางกองทัพ สหรัฐอเมริกาได้ส่งคณะปฏิบัติการดิกซีเข้าไปร่วมทา งานกับเหมาเจ๋อตุง แต่นักหนังสือพิมพ์จากสหภาพโซเวียตที่ได้เข้าไปทา ข่าว ในห่วงเวลาเดียวกันกลับวิจารณ์เหมาเจ๋อตงว่าไม่เคร่งครัดในลัทธิคอมมิวนิสต์และหย่อนยานในการสู้รบ ทา ให้ไม่สามารถ เอาชนะญี่ปุ่นได้
  • 9. การรบชนะจีนซึ่งเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่ายิ่งใหญ่ที่สุดในเอเชียนั้น ยิ่งทา ให้ชาติญี่ปุ่นมีความเชื่อมั่นในการทหารของตนเอง ทา การรุกรานประเทศอื่นๆอย่างไม่เกรงกลัวและยังประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาโดยการส่งเครื่องบินไประเบิดเรือมิสซูรีที่อ่าว เพิร์ล เป็นชนวนจุดระเบิดสงครามโลกครั้งที่สองในภูมิภาคเอเชีย
  • 10. สมรภูมิในแปซิฟิก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งถ้าไม่นับรวมการเข้ายึดครองอินโดจีนของฝรั่งเศส ที่ถูกบังคับให้ เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะภายใต้รัฐบาลวิชีแล้วสมรภูมิด้านนี้ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อญี่ปุ่นโจมตีฐานทัพเรือหลักของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ที่อ่าวเพิร์ลฮาเบอร์และการบุกยึดประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงไทยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งกองทัพญี่ปุ่น ได้บุกไปถึงพม่า นิวกินีและเกาะกัวดาคาแนล ซึ่งปรากฏว่าหลังจากสมรภูมิที่มิดเวย์การรบทางทะเลแถวหมู่เกาะโซโลมอนและทะเลปะการัง และการรบที่กัวดาคาแนล แล้ว ปรากฏว่ากองทัพเรือญี่ปุ่นต้องสูญเสียอย่างหนัก ส่วนกองทัพบกก็ไม่สามารถหากา ลังพลและยุทโธปกรณ์ได้เพียงพอเพื่อ ปกป้องดินแดนที่ยึดได้ใหม่ในที่สุดจึงถูกกองกา ลังพันธมิตรที่มีสหรัฐอเมริกา อังกฤษและออสเตรเลียตีโต้กลับไปจนนา ไปสู้ ความพ่ายแพ้ในที่สุด
  • 11. สมรภูมิทางตะวันตก สมรภูมิทางตะวันตก ซึ่งมีเยอรมนีเป็นฝ่ายรับผิดชอบ โดยยังสามารถแยกย่อยให้เป็นกลุ่มย่อยได้อีกคือ
  • 12. สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันตก ได้แก่ในฝรั่งเศส ประเทศต่า (เบลเยียมเนเธอร์แลนด์และลักเซมเบอร์ก)และในสแกนดิเนเวีย ซึ่งเยอรมนีประสบความสา เร็จ ในการยึดครอง และการยุทธแห่งเกาะบริเตนที่ไม่ประสบความสาเร็จเนื่องจากการเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของฮิตเลอร์ที่หันไปให้ ความสา คัญกับยุโรปตะวันออกและรัสเซีย ซึ่งเป็นแนวรบที่เยอรมนีได้ทา การโจมตีหลังจากได้เข้ายึดครองประเทศโปแลนด์แล้ว และได้กลายเป็นสมรภูมิสา คัญของสงครามอีกครั้งหลังจากการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดีประเทศฝรั่งเศส และการยกพลขึ้นบกที่ อิตาลีของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรตามปฏิบัติการแอนซิโอ
  • 13. สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันออก แก่ในโปแลนด์กรีซ (บางส่วน ยูโกสลาเวียโรมาเนีย และสหภาพโซเวียต ซึ่งถ้าไม่นับรวมโปแลนด์แล้ว ประเทศเหล่านี้ ต้องเผชิญการรุกรานจากเยอรมนีหลังจากสมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันตก ซึ่งเยอรมนีได้บุกเข้าไปจนกินเนื้อที่จา นวนมาก แต่ทว่าก็ ไม่อาจเอาชนะฝ่ายสัมพันธมิตรในสมรภูมินี้อย่างถาวร เนื่องจากแนวรบที่กว้างขวางตั้งแต่ทะเลบอลติก (เลนินกราดหรือเซนต์ปี เตอร์สเบิร์ก) จนถึงลุ่มแม่น้า วอลก้า(สตาลินกราด) และแหลมไครเมีย สภาพอากาศที่โหดร้าย และการตอบโต้อย่างหนักจาก สหภาพโซเวียต จนทา ให้โดนฝ่ายสหภาพโซเวียตตีโต้กลับไปจนถึงกรุงเบอร์ลินในที่สุด
  • 14. สมรภูมิริมขอบของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ในไซปรัส กรีซ (บางส่วน)ลิเบีย และอียิปต์ซึ่งพื้นที่เหล่านี้เคยอยู่ในอิทธิพลของอังกฤษมาก่อน แต่ว่าอิตาลีและ เยอรมนีต้องการ จึงได้เกิดสมรภูมิทะเลทรายอันลือลั่นขึ้น ในตอนแรกนั้น ฝ่ายอิตาลีไม่สามารถเอาชนะอังกฤษได้แต่ว่าต่อมาฮิต เลอร์ได้ส่งจอมทัพเออร์วิน รอมเมลอันโด่งดังและกองกา ลัง Afrika Korp เข้ามาทา ให้สถานการณ์ของฝ่ายอักษะ กลายเป็นฝ่ายรุก แต่ในที่สุด เนื่องด้วยฝ่ายอักษะไม่สามารถส่งกา ลังบา รุงและทหารมาประจา การในสมรภูมิทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้มาก เนื่องจากติดพันอยู่กับสมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันออก และฝ่ายสัมพันธมิตรต้องการฐานสนับสนุนการยกพลขึ้นบกที่อิตาลี ตามข้อเสนอของนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ด้วยความสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา จึงได้เกิดปฏิบัติการทอร์ช ขึ้น และ สามารถขับไล่ฝ่ายอักษะออกจากแอฟริกาเหนือได้