SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ชิ้นงานที่ 16 เรื่อง เป้ าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มีเป้าหมายสาคัญ เพื่อความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนา มาตรฐาน การดารงชีวิตให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ดังนั้น ชีวิตตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ จึงต่างจาก
ศาสตร์แขนงอื่น ๆ
การเกิดของชีวิต
เฉก ธนะสิริ (2535 : 4) ได้อธิบายการเกิด และส่วนประกอบของชีวิต ไว้ว่าชีวิต ในที่นี้หมายถึง ชีวิตมนุษย์เราทุกคน ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด และ
อวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย หลายชนิด แต่ละชนิด จะประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์
ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่ สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000
กิโลเมตร ซึ่งมากกว่าความยาวของเส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา หรือเป็นหนึ่งชีวิต มนุษย์เรานี้เอง
ชีวิตมนุษย์นั้นเกิดจาก การมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับหญิง ซึ่งตัวอสุจิ ของชาย เพียง 1 ตัวเท่านั้นในจานวนหลายล้านตัว ที่สามารถวิ่งชอนไช จากช่องคลอดเข้าไป ผสม
พันธ์ หรือปฏิสนธิกับไข่ ในท่อรังไข่ของผู้หญิง ในสภาวะแวดล้อมที่ เหมาะสม ตรงระยะพอดี ที่ไข่สุก แล้วเคลื่อนตัวตามท่อรังไข่ ไปฝังตัวในผนังมดลูกของแม่ แล้วตัวอ่อน ก็
จะเจริญเติบโต ในมดลูกของแม่ จนครบกาหนดคลอด ใช้เวลาทั้งหมด เกือบ 10 เดือน ในทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ อธิบายว่า ในตัวเชื้ออสุจิของชาย และไข่ของหญิง เมื่อผสม
กัน ก็จะมียีนส์ (Genes) และโครโมโซม (Chromosomes) ถ่ายทอด คุณลักษณะนิสัย ของพ่อ และแม่ไปสู่ลูก ซึ่งอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ สาขาพันธุ์ วิศวกรรมศาสตร์ (Genetic
Engineering) ชเรอร์ดิงเจอร์ (Scherdinger. 1944, อ้างถึงใน สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ . 2543 : 354-355) ได้กล่าว ในหนังสือชื่อ ชีวิตคืออะไร (What
is Life?) ว่าชีวิตสามารถอธิบายได้ด้วย รหัสทาง พันธุกรรม (Genertic Code) ซึ่งเขียนอยู่ในโมเลกุล ที่อยู่ในเซลล์ สามารถ อธิบายความลับ ของชีวิต ได้จากการฉายรังสีเอ็กซ์
แล้ววิเคราะห์ รังสีเอ็กซ์ ที่สะท้อน ออกมาจากโมเลกุล ของดีเอ็นเอ แล้วสามารถนา รายละเอียด มาประกอบเป็น โครงสร้างว่า ดีเอ็นเอนั้น มีลักษณะเป็นเกลียว สองชั้น ปัจจุบัน
ได้มีการถอดรหัส ดีเอ็นเอของมนุษย์การปลูกถ่ายอวัยวะ จากสเต็มเซลล์และการโคลนนิ่ง (Cloning) พืช และสัตว์ได้แล้ว
การแก้ปัญหาชีวิต ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความสาคัญ และจาเป็นอย่างมาก กับวิถีชีวิต ของทุกคน ไม่ว่า
จะเป็นเรื่องการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันเพื่อให้
ชีวิตดาเนินไปตามหลักเหตุผล และสอดคล้อง กับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์5 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 การสังเกต
จุดเริ่มต้นของปัญหาคือ การเผชิญกับปัญหา และจุดเริ่มต้นของการ แก้ปัญหา ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การสังเกต ซึ่งเป็นการเฝ้าดู ตามที่ได้วางแผนไว้มีทั้ง
ข้อมูลทางวัตถุ และเหตุการณ์ และมีการบันทึกข้อมูลไว้ โดยต้องบันทึก อย่างไม่มีอคติ บันทึกทุก ๆ อย่างที่ตนได้ประสบจากการสังเกตมาใช้โดยตรง
ขั้นที่ 2 การตั้งปัญหา
การตั้งปัญหา เริ่มจากการเผชิญกับปัญหาเสียก่อน แล้วดาเนินการ ระบุปัญหา และกาหนดขอบเขตของปัญหา ปัญหาที่ตั้งนี้ เป็นการตั้งภายหลัง ที่พบปรากฏการณ์แล้ว
การตั้งปัญหา จะต้องระบุลงไปให้ชัดเจน ไม่กากวม เมื่อปัญหา หรือข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น จะต้องศึกษาว่า เป็นปัญหาเรื่องอะไร มีประเด็นปัญหาที่สาคัญอะไร บ้างก่อนที่
จะ ดาเนินการ ค้นหาคาตอบ ต้องเข้าใจ ปัญหา ให้ชัดเจนก่อน โดยทั่วไปแล้ว นิยมตั้งปัญหา ในรูปของคาถาม เพราะปัญหา คือ คาถาม ที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความ
ยากจน เกิดจากอะไร หรือ ความยากจนเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมจึงยากจน คาถามเหล่านี้ เป็นการ ถามหาสาเหตุ หรือความสัมพันธ์ระหว่างส่วนที่เป็นเหตุกับส่วนที่เป็นผล
ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจน โดยทั่วไปนิยมตั้งคาถามโดย ยึดหลัก5W2H ได้แก่ What Where When Why Who How How much ก็คือ เกิดอะไรขึ้น ที่ไหน เมื่อไร ทาไม
ใครเกี่ยวข้อง เป็นอย่างไร จานวนเท่าใด
ขั้นที่ 3 การสร้างสมมติฐาน
เมื่อได้ปัญหาแล้ว ขั้นต่อไป คือ การคิดหาคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้ ของปัญหา หรือคาตอบที่คาดว่า ควรจะเป็นอย่างไร ทางเลือกไหน จะเป็นทางเลือกที่ถูกต้อง การ
คาดคะเนคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้บนพื้นฐาน ของข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ เรียกว่าสมมติฐาน หรือแนวทาง แก้ปัญหา สาหรับปัญหาหนึ่ง ๆ อาจจะ มีการ
สร้างสมมติฐานหรือ
แนวทาง การแก้ปัญหาได้หลายแนวทาง แต่จะมีแนวทาง ที่ถูกต้องเพียงแนวทางเดียว เพื่อเป็นการทดสอบหาเหตุผล สมมติฐานที่ตั้งไว้จึงได้เป็นเกณฑ์
ตัดสินใจ เลือกวิธีการที่ดีที่สุดได้
ขั้นที่ 4 การทดลอง
การที่จะทดสอบว่า สมมติฐานที่สร้างไว้ถูกหรือผิด ก็จะต้องมี หลักฐานยืนยัน การรวบรวมหลักฐาน หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปแปลผล
วิเคราะห์ตัดสิน และลงข้อสรุปในขั้นตอนต่อไป
ขั้นที่ 5 การลงข้อสรุป
เมื่อหลักฐานข้อมูลพร้อมแล้ว ก็นาข้อมูลมาตีความหมายมาพิจารณาหาความจริงที่เกิดขึ้น เพื่อจะลงข้อสรุปต่อไปการสรุปนี้คือการยอมรับ หรือ
ปฏิเสธ สมมติฐาน ถ้ายอมรับก็นาไปใช้ เป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหาชีวิตต่อไป
จากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มนุษย์คิดค้นและพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกต่อการดารงชีวิตมากขึ้น
เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พักอาศัยให้มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิต
สินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น ทาให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก นอกจากนี้เมื่อมีการพัฒนา
อุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมากขึ้นในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบันวิจัย
ต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ การ ค้นคว้าทดลองทาง
วิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยั้ง เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
โครงสร้างทาง วิศวกรรมที่ซับซ้อน บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศอย่างไม่
หยุดยั้ง การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีส่วนทาให้คุณภาพชีวิตของบุคคล สังคม และประเทศชาติพัฒนายิ่งขึ้น อาทิเช่น
1. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลโดยรวมให้ก้าวหน้า และก้าวทันโลก แม้จะอยู่ในโลกไร้พรมแดน ก็มีคุณภาพที่ดีขึ้น
2. การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และองค์ความรู้ ใหม่ ๆ ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ พึ่งตนเองได้ และ
แก้ปัญหาประเทศได้
3. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ผลิต โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาช่วยในการสร้าง การพัฒนาสินค้า และบริการแบบใหม่ ๆ เพื่อสร้างรายได้
และยกระดับคุณภาพชีวิตด้านความเป็นอยู่ของคนในประเทศให้ดีขึ้น
4. การศึกษาตลอดชีวิตมีบทบาทสาคัญมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้การศึกษามีความสาคัญ
มากยิ่ขึ้น โดยเปลี่ยนจากการศึกษาที่เกิดขึ้นเฉพาะวัยเด็ก วัยหนุ่มสาว เป็นการศึกษาตลอดชีวิต ที่มีความจาเป็น ให้สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม เป็นต้น
5. ด้าน อุตสาหกรรมการบริการ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีอื่น ๆ เข้าไปเชื่อมโยงกับ การบริการมากขึ้น
เพื่อสนองความต้องการของสังคม เช่น ธนาคาร สื่อสารมวลชน การรักษาพยาบาล การท่องเที่ย ด้านการศึกษา ช่วยให้สื่อการเรียนการสอน มีรูปแบบที่
น่าสนใจมากขึ้น
6. ด้าน การช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ดีขึ้น เช่น การลดมลภาวะ ด้วยการผลิต ที่ใช้เทคโนโลยีสะอาด การใช้พลังงาน
ทดแทน เป็นต้น
7. ด้านการสาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญที่ช่วยสนองความต้องการของบุคคล และชุมชน ทั้งด้านการป้องกัน การส่งเสริม
สุขภาพอนามัย และวิทยาการ ด้วยเครื่องมือ วิธีการที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพสูง
8. ด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วยให้ลดการพึ่งสารเคมี และหันมาพึ่ง สารชีวภาพ และวิธีการทางธรรมชาติมากขึ้น ด้านการเก็บ
เกี่ยว ต้องใช้เครื่องทุ่นแรง เพื่อช่วยลดความเสียหายระหว่างการเก็บเกี่ยวและช่วยยืดระยะเวลาการเก็บรักษาให้นานขึ้น
ในขณะเดียวกันการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยัง
ในขณะเดียวกันการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล ชุมชน และสังคมลดลง ดังนี้
1. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล
และสังคม
2.การ ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ซึ่งส่งผลให้คุณภาพชีวิต ด้าน
จิตใจลดต่าลง เพราะมุ่งแต่ผลประโยชน์ส่วนตน เช่น การใช้อาวุธที่ทันสมัย ทาลายล้างมนุษย์ด้วยกันเอง การโจรกรรมข้อมูลในระบบ
อินเตอร์เน็ต เป็นต้น
3. ความหมกมุ่นกับเทคโนโลยีเกินพอดี ทาให้คนเราเหินห่างจากธรรมชาติ เช่น เด็กติดเล่นเกม จนไม่สนใจพ่อแม่ การทางานโดยอาศัย
เทคโนโลยี หรือเครื่องผ่อนแรง จนไม่ใส่ใจต่อความรู้สึกของผู้ร่วมงานทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกันน้อยลง
4. การใช้ชีวิตที่พึ่งพาเทคโนโลยีมากเกินไป โดยมุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้สูญเสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความ
เคยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาสของเทคโนโลยี
ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่า ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ปัจจัยที่จาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปสู่การกินดีอยู่ดีของประชากรโดยส่วนรวม
นั้น คือ การมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็ง มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในการดาเนินชีวิต เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคม ดังคา
กล่าวที่ว่า “ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองเศรษฐกิจ ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองอานาจ” ทั้งนี้ถึงแม้ว่าการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีจะก้าวล้าเพียงใดก็ตาม หากไม่เรียนรู้ควบคู่กับคุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเองแล้ว ย่อมส่งผลให้คนใน
สังคมขาดสมดุล ดังนั้นการเรียนรู้ทางวิทยาาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคู่กับการพัฒนาทางด้านสังคม แบบบูรณาการร่วมกันแล้ว ย่อมส่งผลให้คุณภาพ
ชีวิตของคนในสังคมนั้นๆพัฒนาไปอย่างยั่งยืน
ชิ้นงานที่ 17 คาถามทบทวนเป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
คาถามทบทวนเป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
1.เป้าหมายชีวิต ทางวิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ตอบ ความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนามาตรฐานการดารงชีวิตให้ดียิ่งๆขึ้นไป
2.มาสโลว์ได้กาหนดหลักการ ไว้ว่าอย่างไร
ตอบ บุคคลตอบสนองความต้องการของตนเอง เพื่อความอยู่รอดและความสาเร็จของตน
3.การดารงชีวิตให้อยู่และพัฒนามาตรฐาน ดารงชีวิตให้ดียิ่งๆด้วยวิธีวิยาศาสตร์ประกอบด้วย
ตอบ การสังเกตุ , การตั้งปัญหา, การสร้างสมมุติฐาน,การทดลองและ ข้อสรุป
4. วิทยาศาสตร์สาคัญกับเป้าหมายอย่างไร
ตอบ - การพัฒนาคุณภาพชีวิต
- การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน ทั้งเศรฐกิจ สังคม การเมือง
- การศึกษ
- ด้านอุตสาหกรรม
- ด้านช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
- ด้านสาธารณสุข
- ด้านเกษตร
5.ข้อเสียการใช้ชีวิตที่พึ่งพาวิทยาศาสตร์มากไป คือ
ตอบ มุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้ศุนย์เสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความเคยยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาส
ของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6.ความต้องการของชีวิต แบ่งออก 5 ระดับ คือ
ตอบ -ความต้องด้านการสรีรวิทยา
-ความต้องการด้านความมั่นคง
-ความต้องการมีส่วนร่วมกับบุคคลอื่น
-ความต้องการมีเกียติยศชื่อเสียง
-ความต้องการความสาเร็จแห่งตน
7.การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลเสียอย่างไร
ตอบ พลังงานสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล และสังคม
8.เป้าหมายคุณภาพชีวิตจะสาเร็จลุล่วงไปได้อย่าง
ตอบ เรียนรู้การพัฒนา ควบคู่ กับ คุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเอง จะส่งผลให้คุณภาพชีวิตพัฒนาไปอย่างยั่งยืน
9.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างไร
ตอบ มีทั้งด้านสร้างสรรค์เช่นก้าวหน้าก้าวไกล ช่วยส่งเสริม อุตสาหกรรม ป้องกันส่งเสริม สุขภาพอนามัย
ด้านการคุกคาม และทาลายคุณภาพชีวิจ เช่นทาลายสิ่งแวดล้อม สูญเสียวัฒนธรรมประเพณี
หลงไหลในความสะดวกสบาย จนไม่นึกถึงความจิงของชีวิต
10.ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง
ตอบ -การแก้ไขปัญหาในชีวิต
-วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ ที่เป็นจริงในชีวิตประจาวัน เพื่อการแก้ปัญหา
-สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล

More Related Content

Viewers also liked

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
PFA Report Final
PFA Report FinalPFA Report Final
PFA Report FinalRuth Epwoka
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410George Ly
 
вищі навчальні заклади Рівненщини та Волині
вищі навчальні заклади Рівненщини та Волинівищі навчальні заклади Рівненщини та Волині
вищі навчальні заклади Рівненщини та ВолиніТетяна Козел
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisGo Markets
 
Dia internacional de la mujer
Dia internacional de la mujerDia internacional de la mujer
Dia internacional de la mujerMI Puente
 
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهلية
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهليةدليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهلية
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهليةشركة عالم التدريب
 

Viewers also liked (20)

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
SNEHA 123456
SNEHA 123456SNEHA 123456
SNEHA 123456
 
Sugu Resume Scan
Sugu Resume ScanSugu Resume Scan
Sugu Resume Scan
 
Catering Menu NEW
Catering Menu NEWCatering Menu NEW
Catering Menu NEW
 
Books for Every Child
Books for Every ChildBooks for Every Child
Books for Every Child
 
PFA Report Final
PFA Report FinalPFA Report Final
PFA Report Final
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Question 3
Question 3Question 3
Question 3
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
 
вищі навчальні заклади Рівненщини та Волині
вищі навчальні заклади Рівненщини та Волинівищі навчальні заклади Рівненщини та Волині
вищі навчальні заклади Рівненщини та Волині
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
 
CERTIFICATION
CERTIFICATIONCERTIFICATION
CERTIFICATION
 
Coach Report
Coach ReportCoach Report
Coach Report
 
#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Dia internacional de la mujer
Dia internacional de la mujerDia internacional de la mujer
Dia internacional de la mujer
 
Reading to Children in Delhi, India
Reading to Children in Delhi, IndiaReading to Children in Delhi, India
Reading to Children in Delhi, India
 
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهلية
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهليةدليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهلية
دليل تطوير الأداء الإعلامي في المنظمات الأهلية
 

Similar to เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาDew Thamita
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 

Similar to เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ (20)

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
ppt
pptppt
ppt
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
2
22
2
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง (19)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 

เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์

  • 1. ชิ้นงานที่ 16 เรื่อง เป้ าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
  • 2. ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มีเป้าหมายสาคัญ เพื่อความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนา มาตรฐาน การดารงชีวิตให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ดังนั้น ชีวิตตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ จึงต่างจาก ศาสตร์แขนงอื่น ๆ การเกิดของชีวิต เฉก ธนะสิริ (2535 : 4) ได้อธิบายการเกิด และส่วนประกอบของชีวิต ไว้ว่าชีวิต ในที่นี้หมายถึง ชีวิตมนุษย์เราทุกคน ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด และ อวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย หลายชนิด แต่ละชนิด จะประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์ ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่ สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000 กิโลเมตร ซึ่งมากกว่าความยาวของเส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา หรือเป็นหนึ่งชีวิต มนุษย์เรานี้เอง ชีวิตมนุษย์นั้นเกิดจาก การมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับหญิง ซึ่งตัวอสุจิ ของชาย เพียง 1 ตัวเท่านั้นในจานวนหลายล้านตัว ที่สามารถวิ่งชอนไช จากช่องคลอดเข้าไป ผสม พันธ์ หรือปฏิสนธิกับไข่ ในท่อรังไข่ของผู้หญิง ในสภาวะแวดล้อมที่ เหมาะสม ตรงระยะพอดี ที่ไข่สุก แล้วเคลื่อนตัวตามท่อรังไข่ ไปฝังตัวในผนังมดลูกของแม่ แล้วตัวอ่อน ก็ จะเจริญเติบโต ในมดลูกของแม่ จนครบกาหนดคลอด ใช้เวลาทั้งหมด เกือบ 10 เดือน ในทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ อธิบายว่า ในตัวเชื้ออสุจิของชาย และไข่ของหญิง เมื่อผสม กัน ก็จะมียีนส์ (Genes) และโครโมโซม (Chromosomes) ถ่ายทอด คุณลักษณะนิสัย ของพ่อ และแม่ไปสู่ลูก ซึ่งอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ สาขาพันธุ์ วิศวกรรมศาสตร์ (Genetic Engineering) ชเรอร์ดิงเจอร์ (Scherdinger. 1944, อ้างถึงใน สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ . 2543 : 354-355) ได้กล่าว ในหนังสือชื่อ ชีวิตคืออะไร (What is Life?) ว่าชีวิตสามารถอธิบายได้ด้วย รหัสทาง พันธุกรรม (Genertic Code) ซึ่งเขียนอยู่ในโมเลกุล ที่อยู่ในเซลล์ สามารถ อธิบายความลับ ของชีวิต ได้จากการฉายรังสีเอ็กซ์ แล้ววิเคราะห์ รังสีเอ็กซ์ ที่สะท้อน ออกมาจากโมเลกุล ของดีเอ็นเอ แล้วสามารถนา รายละเอียด มาประกอบเป็น โครงสร้างว่า ดีเอ็นเอนั้น มีลักษณะเป็นเกลียว สองชั้น ปัจจุบัน ได้มีการถอดรหัส ดีเอ็นเอของมนุษย์การปลูกถ่ายอวัยวะ จากสเต็มเซลล์และการโคลนนิ่ง (Cloning) พืช และสัตว์ได้แล้ว
  • 3. การแก้ปัญหาชีวิต ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความสาคัญ และจาเป็นอย่างมาก กับวิถีชีวิต ของทุกคน ไม่ว่า จะเป็นเรื่องการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันเพื่อให้ ชีวิตดาเนินไปตามหลักเหตุผล และสอดคล้อง กับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์5 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การสังเกต จุดเริ่มต้นของปัญหาคือ การเผชิญกับปัญหา และจุดเริ่มต้นของการ แก้ปัญหา ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การสังเกต ซึ่งเป็นการเฝ้าดู ตามที่ได้วางแผนไว้มีทั้ง ข้อมูลทางวัตถุ และเหตุการณ์ และมีการบันทึกข้อมูลไว้ โดยต้องบันทึก อย่างไม่มีอคติ บันทึกทุก ๆ อย่างที่ตนได้ประสบจากการสังเกตมาใช้โดยตรง ขั้นที่ 2 การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา เริ่มจากการเผชิญกับปัญหาเสียก่อน แล้วดาเนินการ ระบุปัญหา และกาหนดขอบเขตของปัญหา ปัญหาที่ตั้งนี้ เป็นการตั้งภายหลัง ที่พบปรากฏการณ์แล้ว การตั้งปัญหา จะต้องระบุลงไปให้ชัดเจน ไม่กากวม เมื่อปัญหา หรือข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น จะต้องศึกษาว่า เป็นปัญหาเรื่องอะไร มีประเด็นปัญหาที่สาคัญอะไร บ้างก่อนที่ จะ ดาเนินการ ค้นหาคาตอบ ต้องเข้าใจ ปัญหา ให้ชัดเจนก่อน โดยทั่วไปแล้ว นิยมตั้งปัญหา ในรูปของคาถาม เพราะปัญหา คือ คาถาม ที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความ ยากจน เกิดจากอะไร หรือ ความยากจนเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมจึงยากจน คาถามเหล่านี้ เป็นการ ถามหาสาเหตุ หรือความสัมพันธ์ระหว่างส่วนที่เป็นเหตุกับส่วนที่เป็นผล ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจน โดยทั่วไปนิยมตั้งคาถามโดย ยึดหลัก5W2H ได้แก่ What Where When Why Who How How much ก็คือ เกิดอะไรขึ้น ที่ไหน เมื่อไร ทาไม ใครเกี่ยวข้อง เป็นอย่างไร จานวนเท่าใด ขั้นที่ 3 การสร้างสมมติฐาน เมื่อได้ปัญหาแล้ว ขั้นต่อไป คือ การคิดหาคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้ ของปัญหา หรือคาตอบที่คาดว่า ควรจะเป็นอย่างไร ทางเลือกไหน จะเป็นทางเลือกที่ถูกต้อง การ คาดคะเนคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้บนพื้นฐาน ของข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ เรียกว่าสมมติฐาน หรือแนวทาง แก้ปัญหา สาหรับปัญหาหนึ่ง ๆ อาจจะ มีการ สร้างสมมติฐานหรือ
  • 4. แนวทาง การแก้ปัญหาได้หลายแนวทาง แต่จะมีแนวทาง ที่ถูกต้องเพียงแนวทางเดียว เพื่อเป็นการทดสอบหาเหตุผล สมมติฐานที่ตั้งไว้จึงได้เป็นเกณฑ์ ตัดสินใจ เลือกวิธีการที่ดีที่สุดได้ ขั้นที่ 4 การทดลอง การที่จะทดสอบว่า สมมติฐานที่สร้างไว้ถูกหรือผิด ก็จะต้องมี หลักฐานยืนยัน การรวบรวมหลักฐาน หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปแปลผล วิเคราะห์ตัดสิน และลงข้อสรุปในขั้นตอนต่อไป ขั้นที่ 5 การลงข้อสรุป เมื่อหลักฐานข้อมูลพร้อมแล้ว ก็นาข้อมูลมาตีความหมายมาพิจารณาหาความจริงที่เกิดขึ้น เพื่อจะลงข้อสรุปต่อไปการสรุปนี้คือการยอมรับ หรือ ปฏิเสธ สมมติฐาน ถ้ายอมรับก็นาไปใช้ เป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหาชีวิตต่อไป
  • 5. จากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มนุษย์คิดค้นและพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกต่อการดารงชีวิตมากขึ้น เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พักอาศัยให้มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิต สินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น ทาให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก นอกจากนี้เมื่อมีการพัฒนา อุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมากขึ้นในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบันวิจัย ต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ การ ค้นคว้าทดลองทาง วิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยั้ง เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ โครงสร้างทาง วิศวกรรมที่ซับซ้อน บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศอย่างไม่ หยุดยั้ง การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีส่วนทาให้คุณภาพชีวิตของบุคคล สังคม และประเทศชาติพัฒนายิ่งขึ้น อาทิเช่น
  • 6. 1. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลโดยรวมให้ก้าวหน้า และก้าวทันโลก แม้จะอยู่ในโลกไร้พรมแดน ก็มีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และองค์ความรู้ ใหม่ ๆ ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ พึ่งตนเองได้ และ แก้ปัญหาประเทศได้ 3. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ผลิต โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาช่วยในการสร้าง การพัฒนาสินค้า และบริการแบบใหม่ ๆ เพื่อสร้างรายได้ และยกระดับคุณภาพชีวิตด้านความเป็นอยู่ของคนในประเทศให้ดีขึ้น 4. การศึกษาตลอดชีวิตมีบทบาทสาคัญมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้การศึกษามีความสาคัญ มากยิ่ขึ้น โดยเปลี่ยนจากการศึกษาที่เกิดขึ้นเฉพาะวัยเด็ก วัยหนุ่มสาว เป็นการศึกษาตลอดชีวิต ที่มีความจาเป็น ให้สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น อินเตอร์เน็ต ดาวเทียม เป็นต้น 5. ด้าน อุตสาหกรรมการบริการ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีอื่น ๆ เข้าไปเชื่อมโยงกับ การบริการมากขึ้น เพื่อสนองความต้องการของสังคม เช่น ธนาคาร สื่อสารมวลชน การรักษาพยาบาล การท่องเที่ย ด้านการศึกษา ช่วยให้สื่อการเรียนการสอน มีรูปแบบที่ น่าสนใจมากขึ้น 6. ด้าน การช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ดีขึ้น เช่น การลดมลภาวะ ด้วยการผลิต ที่ใช้เทคโนโลยีสะอาด การใช้พลังงาน ทดแทน เป็นต้น 7. ด้านการสาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญที่ช่วยสนองความต้องการของบุคคล และชุมชน ทั้งด้านการป้องกัน การส่งเสริม สุขภาพอนามัย และวิทยาการ ด้วยเครื่องมือ วิธีการที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพสูง 8. ด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วยให้ลดการพึ่งสารเคมี และหันมาพึ่ง สารชีวภาพ และวิธีการทางธรรมชาติมากขึ้น ด้านการเก็บ เกี่ยว ต้องใช้เครื่องทุ่นแรง เพื่อช่วยลดความเสียหายระหว่างการเก็บเกี่ยวและช่วยยืดระยะเวลาการเก็บรักษาให้นานขึ้น ในขณะเดียวกันการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยัง
  • 7. ในขณะเดียวกันการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล ชุมชน และสังคมลดลง ดังนี้ 1. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล และสังคม 2.การ ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ซึ่งส่งผลให้คุณภาพชีวิต ด้าน จิตใจลดต่าลง เพราะมุ่งแต่ผลประโยชน์ส่วนตน เช่น การใช้อาวุธที่ทันสมัย ทาลายล้างมนุษย์ด้วยกันเอง การโจรกรรมข้อมูลในระบบ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น 3. ความหมกมุ่นกับเทคโนโลยีเกินพอดี ทาให้คนเราเหินห่างจากธรรมชาติ เช่น เด็กติดเล่นเกม จนไม่สนใจพ่อแม่ การทางานโดยอาศัย เทคโนโลยี หรือเครื่องผ่อนแรง จนไม่ใส่ใจต่อความรู้สึกของผู้ร่วมงานทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกันน้อยลง 4. การใช้ชีวิตที่พึ่งพาเทคโนโลยีมากเกินไป โดยมุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้สูญเสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความ เคยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาสของเทคโนโลยี
  • 8. ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่า ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ปัจจัยที่จาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปสู่การกินดีอยู่ดีของประชากรโดยส่วนรวม นั้น คือ การมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็ง มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในการดาเนินชีวิต เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคม ดังคา กล่าวที่ว่า “ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองเศรษฐกิจ ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองอานาจ” ทั้งนี้ถึงแม้ว่าการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจะก้าวล้าเพียงใดก็ตาม หากไม่เรียนรู้ควบคู่กับคุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเองแล้ว ย่อมส่งผลให้คนใน สังคมขาดสมดุล ดังนั้นการเรียนรู้ทางวิทยาาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคู่กับการพัฒนาทางด้านสังคม แบบบูรณาการร่วมกันแล้ว ย่อมส่งผลให้คุณภาพ ชีวิตของคนในสังคมนั้นๆพัฒนาไปอย่างยั่งยืน
  • 10. คาถามทบทวนเป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ 1.เป้าหมายชีวิต ทางวิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร ตอบ ความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนามาตรฐานการดารงชีวิตให้ดียิ่งๆขึ้นไป 2.มาสโลว์ได้กาหนดหลักการ ไว้ว่าอย่างไร ตอบ บุคคลตอบสนองความต้องการของตนเอง เพื่อความอยู่รอดและความสาเร็จของตน 3.การดารงชีวิตให้อยู่และพัฒนามาตรฐาน ดารงชีวิตให้ดียิ่งๆด้วยวิธีวิยาศาสตร์ประกอบด้วย ตอบ การสังเกตุ , การตั้งปัญหา, การสร้างสมมุติฐาน,การทดลองและ ข้อสรุป 4. วิทยาศาสตร์สาคัญกับเป้าหมายอย่างไร ตอบ - การพัฒนาคุณภาพชีวิต - การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน ทั้งเศรฐกิจ สังคม การเมือง - การศึกษ - ด้านอุตสาหกรรม - ด้านช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - ด้านสาธารณสุข - ด้านเกษตร 5.ข้อเสียการใช้ชีวิตที่พึ่งพาวิทยาศาสตร์มากไป คือ ตอบ มุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้ศุนย์เสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความเคยยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาส ของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 11. 6.ความต้องการของชีวิต แบ่งออก 5 ระดับ คือ ตอบ -ความต้องด้านการสรีรวิทยา -ความต้องการด้านความมั่นคง -ความต้องการมีส่วนร่วมกับบุคคลอื่น -ความต้องการมีเกียติยศชื่อเสียง -ความต้องการความสาเร็จแห่งตน 7.การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลเสียอย่างไร ตอบ พลังงานสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล และสังคม 8.เป้าหมายคุณภาพชีวิตจะสาเร็จลุล่วงไปได้อย่าง ตอบ เรียนรู้การพัฒนา ควบคู่ กับ คุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเอง จะส่งผลให้คุณภาพชีวิตพัฒนาไปอย่างยั่งยืน 9.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างไร ตอบ มีทั้งด้านสร้างสรรค์เช่นก้าวหน้าก้าวไกล ช่วยส่งเสริม อุตสาหกรรม ป้องกันส่งเสริม สุขภาพอนามัย ด้านการคุกคาม และทาลายคุณภาพชีวิจ เช่นทาลายสิ่งแวดล้อม สูญเสียวัฒนธรรมประเพณี หลงไหลในความสะดวกสบาย จนไม่นึกถึงความจิงของชีวิต 10.ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง ตอบ -การแก้ไขปัญหาในชีวิต -วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ ที่เป็นจริงในชีวิตประจาวัน เพื่อการแก้ปัญหา -สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล