SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
โลกาภิว ัต น์ก ับ การเมือ ง
บทที่ 5 โลกาภิว ัต น์ก ับ ชาติแ ละ
สอนโดย อาจารย์ิย ม . วิน ัย ผล
             ชาติน ดร
              เจริญ
 วิท ยาลัย การเมือ งการปกครอง
    มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม           2
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ความสัมพันธ์ระหว่างชาตินิยม รัฐชาติ
  และการเมืองโลก ตามมุมมองมาตรฐาน
  ทั่วไป
  ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีรัฐ
     อธิปไตยซึงมีเขตแดนชัดเจนเกิดขึ้นใน
               ่
     ยุโรป (ระบบเวสต์ฟาเลีย)
  ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาตินิยม
     เกิดขึ้นและต่อมาขยายไปทั่วยุโรป รัฐ-
     ชาติขยายตัว ความสัมพันธ์ระหว่าง
     ประเทศจึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ-
                                            3
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาตินิยม” ของ John Breuilly
  (ผู้เขียนเนือหาบทนี้)
              ้
   ชาตินิยม (Nationalism) คือแนวคิดที่
    เห็นว่าโลกนั้นถูกแบ่งออกเป็นชาติต่างๆ
    ซึ่งทำาให้มีการเน้นความสำาคัญของอัต
    ลักษณ์และความภักดีทางการเมือง ซึง  ่
    ในทางกลับกันมันก็เรียกร้องต้องการ
    การกำาหนดตนเองของชาติ

                                            4
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 นักชาตินิยมมองชาติแตกต่างกัน คนกลุ่ม
  เดียวกันอาจถูกอ้างโดยนักชาตินิยมที่
  ต่อสูขัดแย้งกัน เช่น
        ้
   นักชาตินิยมตุรกีอางว่าชาวเคิร์ดใน
                       ้
     ตุรกีเป็นชาวตุรกี
   แต่นักชาตินิยมชาวเคิร์ดปฏิเสธคำา
     กล่าวอ้างข้างต้น
   (เปรียบเทียบคนไทย/ความเป็นไทย VS
     คนลาว/ความเป็นลาวในอดีต)            5
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 ชาตินิยม ในฐานะที่เป็น
  อุดมการณ์ (Ideology) คือเป็นโลก
   ทัศน์/มุมมองทางการเมือง
  อารมณ์ความรู้สก (Sentiments) คือ
                     ึ
   เป็นการก่อรูปอัตลักษณ์ของประชาชน
  การเมือง (Politics) คือเป็นขบวนการ
   ที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ

                                        6
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอุดมการณ์
  ชาตินิยมพลเมือง (Civic
   Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง
   ความผูกพันกับรัฐ การเป็นสมาชิกของ
   รัฐเป็นปัจจัยกำาหนดสัญชาติ เช่นที่เห็น
   ได้ในผู้อพยพหลากหลายชาติพันธุใน     ์
   สหรัฐอเมริกา (เทียบ: คนทุกชาติพนธุ์ที่
                                     ั
   เป็นพลเมืองไทยคือคนไทย)
  ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnic
   Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง
                                            7
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอารมณ์ความรู้สก ึ
  ชาตินิยมชนชั้นนำา (Elite
   Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติ
   แบบชนชั้นนำา มีคนรู้สกร่วมน้อย
                        ึ
  ชาตินิยมมวลชน (Mass
   Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติที่
   ขยายออกไปถึงระดับมวลชน มีคนรู้สก  ึ
   ร่วมมาก
                                           8
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 ชาตินิยมในฐานะที่เป็นการเมือง
  ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐเข้มแข็ง (State-
   Strengthening Nationalism) เป็น
   ขบวนการผู้รักชาติที่ยอมรับรัฐที่มีอยู่
   พยายามสร้างความเข้มแข็งให้รัฐ ทั้ง
   ภายในด้วยการทำาชาติให้บริสทธิ์และ
                                  ุ
   ปฏิรูปการปกครอง และภายนอกด้วย
   การอ้างซำ้าเรื่องเขตแดนและอำานาจที่
   ขยายออกไป
  ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐอ่อนแอ (State-       9
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson
  “ชาติคือชุมชนจินตกรรมการเมือง-และ
    จินตกรรมขึ้นโดย มีทั้งอธิปไตยและมี
    ขอบเขตจำากัดตั้งแต่กำาเนิด... ชาติถูก
      จินตกรรมขึ้นก็เพราะว่าสมาชิกของ
    ชาติที่แม้จะเล็กที่สุด ก็ตาม แม้จะไม่
    เคยรู้จักเพือนสมาชิกร่วมชาติทั้งหมด
                ่
    ของ ตน ไม่เคยพบเห็นพวกเขาเหล่า
    นั้นทั้งหมด หรือไม่เคยแม้กระทั่งได้ยิน   10
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ชาติถูกจินตกรรมขึนอย่างมีขอบเขต
                          ้
    จำากัด เพราะว่าแม้กระทั่งชาติที่ใหญ่โต
    ที่สุด ทีถึงแม้จะมีประชาชนพลเมืองเป็น
             ่
    พันล้านคน ก็มเขตแดนจำากัด สุด
                     ี
    เขตแดนก็ยงมีชาติอื่นๆ อยู่ด้วย ไม่มี
                 ั
    ชาติใดที่จะจินตกรรมตนเองได้ว่ามี
    เขตแดนครอบคลุมมนุษยชาติทั้งหมด”
                                             11
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ชาติถูกจินตกรรมขึนให้มอธิปไตย ก็
                        ้     ี
    เพราะความคิดเกี่ยวกับชาติเกิดขึ้นมา
    ในยุคสมัยแห่งภูมิธรรมและการปฏิวัติที่
    กำาลังบ่อนทำาลายความชอบธรรมของ
    อาณาจักร และราชวงศ์ทปกครองกันมา
                           ี่
    ลดหลั่นเป็นแนวตั้งด้วย      เทว
    โองการ”
                                        12
บท
GP
 อารัม ภบท:     มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                   ที

 นิยาม “ชาติ” ของ Benedict
  Anderson (ต่อ)
  “ท้ายที่สุด ชาติถูกจินตกรรมขึ้นเป็น
    ชุมชน ก็เพราะชาติถูกทำาให้โดนใจว่า
    เป็นภราดรภาพอันลึกซึ้งและเป็นแนว
    ระนาบ แม้ว่าจะมีความไม่เสมอภาค มี
    การกดขี่ขูดรีดดำารงอยู่ในแต่ละชาตินั้น
    ก็ตาม ในที่สุดแล้ว ตลอดสองร้อยปีที่
    ผ่านมา ภราดรภาพอันนี้แหละที่ทำาให้
    เป็นไปได้ที่ผู้คนเป็นจำานวนมาหลาย        13
บท
GP
 อารัม ภบท:    มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                  ที

 ในการพิจารณาเรื่องชาติและชาตินิยม มี
  ประเด็นพิจารณาดังนี้
  ชาติเกิดก่อน/เป็นสาเหตุของชาตินิยม
    หรือว่าชาติเกิดหลัง/เป็นผลลัพธ์ของ
    ชาตินิยม
  ชาติเกิดขึ้นในยุคสมัยใหม่หรือว่าเกิด
    ขึ้นก่อนยุคสมัยใหม่
  อะไรเป็นปัจจัยสำาคัญที่สดต่อการเกิด
                            ุ
    ขึ้นของชาติ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หรือ    14

    การเมือง
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (จำานวนของ
  รัฐ-ชาติจากอดีตถึงปัจจุบน ปี
                          ั
  ค.ศ./จำานวนรัฐ-ชาติ/ชื่อรัฐ-ชาติ)
  1500/2/อังกฤษและฝรั่งเศส
  1800/6/อังกฤษ, ฝรั่งเศส,
     ฮอลแลนด์, สหรัฐอเมริกา, สเปน
     และโปรตุเกส
  1900/30/มีเบลเยียม, เยอรมนี,
                                      15
บท
GP
 อารัม ภบท:   มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5
                                 ที

 พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (ต่อ)
  1923 สันนิบาตชาติมสมาชิก 45
                       ี
   ประเทศ
  1945 มี 51 ประเทศร่วมก่อตั้ง
   สหประชาชาติ
  1950 สหประชาชาติมีสมาชิก 60
   ประเทศ
  1960 สหประชาชาติมีสมาชิก 99     16
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
             โลกในประวัต ศ าสตร์
                           ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   อำานาจระดับโลก
     อังกฤษและฝรั่งเศสแข่งขันกันโดย
        ใช้กำาลังทังทางบกและทางทะเล
                   ้
        สร้างสงครามตัวแทนขึ้นใน 3
        ภูมภาค คือยุโรป อินเดีย และ
           ิ
        อเมริกาเหนือ แข่งกันควบคุมการ
        ค้าโลกและสินค้ามวลชนคือฝ้าย
                                        17
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                        ที่ 5
             โลกในประวัต ศ าสตร์
                           ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม     ิ
     ในอังกฤษและฝรั่งเศส มีเสียงเรียก
        ร้องให้ยกเลิกอภิสทธิ์และให้รัฐบาล
                         ิ
        รับผิดชอบต่อชาติ ชาติของ
        พลเมืองตังอยู่บนผลประโยชน์ของ
                 ้
        ชนชันกลางทีขยายตัวออกไป
             ้        ่
        ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับ
                                          18
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ
   ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815
   ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ
                ิ
    และ IR
     ในอังกฤษและฝรั่งเศส ชาตินยม  ิ
        เป็นขบวนการ (การเมือง) สำาคัญ
        แต่ทอื่นส่วนมากชาตินยมยังเป็น
             ี่               ิ
        เพียงแนวคิดทางวิชาการ เกิดการ
        ปฏิวัตอเมริกาให้เป็นอิสระจากการ
                  ิ
                                        19
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   อำานาจระดับโลก
    อังกฤษเป็นมหาอำานาจทางทะเล
     ผูกค่าเงินสกุลหลักเข้ากับราคาของ
     ทองคำา เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมมาก
     ขึ้นซึ่งตามมาด้วยการเปลียนแปลง
                              ่
     ด้านการสือสาร (โทรเลข) และ
                 ่
     การขนส่ง (พลังไอนำ้า เช่นเรือกล
     ไฟ)
                                       20
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม  ิ
    นักชาตินิยมในอังกฤษและฝรั่งเศส
     ละเลยชนชาติทไม่สำาคัญทาง
                      ี่
     ประวัตศาสตร์ (เช่นชาวโรมาเนีย
                ิ
     และชาวสลาฟ) ยืนยันว่าพวกเขา
     ต้องหลอมรวมกลืนกลายเข้ากับ
     ชาติทเป็น “วัฒนธรรมระดับสูง”
             ี่
     ทำาให้เกิดขบวนการชาตินิยมที่เป็น
                                       21
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ
           ิ
    และ IR
     ความสำาเร็จของชาตินยมทีทำาให้
                              ิ ่
      รัฐเข้มแข็ง ชาตินยมชนชั้นนำา และ
                        ิ
      ชาตินยมพลเมือง เชือมโยงกับ
             ิ            ่
      สงครามทีมการใช้เทคโนโลยีและ
                 ่ ี
      การจัดองค์กรสมัยใหม่ แนวคิด
      เสรีนิยมถูกเพิกเฉยเพราะชนชั้นนำา
                                       22
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                      ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914
   นัยสำาคัญทีมีตอการเมืองโลก
                 ่ ่
    ความขัดแย้งทางการเมืองทีขยาย
                                ่
     ตัวทั่วโลกเป็นแบบชาตินิยม
     จักรวรรดิพยายามควบคุมส่วนอืนๆ  ่
     ของโลก แต่ขบวนการชาตินิยมที่
     เป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิปฏิเสธ
     อำานาจของจักรวรรดิ ความขัดแย้ง
     ขยายตัวจนกลายเป็นสงครามโลก
                                        23
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                       ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   อำานาจระดับโลก
    ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา
      ขยายทั่วโลก ในปี 1917
      สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า
      ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก
      ขึ้น
    สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก
      กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม        24
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                       ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                            ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   อำานาจระดับโลก
    ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา
      ขยายทั่วโลก ในปี 1917
      สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า
      ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก
      ขึ้น
    สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก
      กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม        25
บท
GP
                                            ที่ 5

ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินิยม
     หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการนำาเอา
      หลักการกำาหนดตัวเองไปใช้ แต่ละรัฐ
      ปกครองในนามของชาติที่ครอบงำาซึ่ง
      ระแวงชนกลุ่มน้อย
     เกิดชาตินิยมที่สุดโต่งแบบ Fascism
      และ Nazism
     ในโลกอาณานิคม การใช้กำาลังทหาร        26
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                        ที่ 5
            โลกในประวัต ศ าสตร์
                             ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
   ชาตินิยม การก่อตัวของรัฐชาติ และ
    IR
     ชาตินิยมไม่ใช่ปจจัยเดียวที่ทำาให้
                       ั
      เกิดรัฐชาติขึ้น ทีสำาคัญกว่าคือการที่
                         ่
      สงครามได้ทำาลายรัฐทีมีหลายชาติ
                               ่
      ลง
     สันนิบาตชาติไม่ประสบผลสำาเร็จ
                                          27
GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท
                                     ที่ 5
           โลกในประวัต ศ าสตร์
                          ิ
 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945
  นัยสำาคัญที่มีต่อการเมืองโลก
    สงครามโลกเรียกร้องต้องการให้มี
     ยุทธศาสตร์การเมืองระดับโลก และ
     สงครามโลกก็บ่อนทำาลายอำานาจ
     อธิปไตยของรัฐ
    โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเฟืองฟูขึ้นมา
                                ่
     อีก
    เสรีประชาธิปไตยถูกคุกคามจาก มี        28

More Related Content

Similar to Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันM.L. Kamalasana
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)Narong Chokwatana
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารBoBiw Boom
 
06 The War Of Historiography After 2475 1
06 The War Of Historiography After 2475   106 The War Of Historiography After 2475   1
06 The War Of Historiography After 2475 1ee
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 

Similar to Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม (18)

การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
Populist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin AmericaPopulist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin America
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.200ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
 
06 The War Of Historiography After 2475 1
06 The War Of Historiography After 2475   106 The War Of Historiography After 2475   1
06 The War Of Historiography After 2475 1
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 

Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

  • 1.
  • 2. โลกาภิว ัต น์ก ับ การเมือ ง บทที่ 5 โลกาภิว ัต น์ก ับ ชาติแ ละ สอนโดย อาจารย์ิย ม . วิน ัย ผล ชาติน ดร เจริญ วิท ยาลัย การเมือ งการปกครอง มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม 2
  • 3. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ความสัมพันธ์ระหว่างชาตินิยม รัฐชาติ และการเมืองโลก ตามมุมมองมาตรฐาน ทั่วไป ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีรัฐ อธิปไตยซึงมีเขตแดนชัดเจนเกิดขึ้นใน ่ ยุโรป (ระบบเวสต์ฟาเลีย) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาตินิยม เกิดขึ้นและต่อมาขยายไปทั่วยุโรป รัฐ- ชาติขยายตัว ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศจึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ- 3
  • 4. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาตินิยม” ของ John Breuilly (ผู้เขียนเนือหาบทนี้) ้ ชาตินิยม (Nationalism) คือแนวคิดที่ เห็นว่าโลกนั้นถูกแบ่งออกเป็นชาติต่างๆ ซึ่งทำาให้มีการเน้นความสำาคัญของอัต ลักษณ์และความภักดีทางการเมือง ซึง ่ ในทางกลับกันมันก็เรียกร้องต้องการ การกำาหนดตนเองของชาติ 4
  • 5. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นักชาตินิยมมองชาติแตกต่างกัน คนกลุ่ม เดียวกันอาจถูกอ้างโดยนักชาตินิยมที่ ต่อสูขัดแย้งกัน เช่น ้ นักชาตินิยมตุรกีอางว่าชาวเคิร์ดใน ้ ตุรกีเป็นชาวตุรกี แต่นักชาตินิยมชาวเคิร์ดปฏิเสธคำา กล่าวอ้างข้างต้น (เปรียบเทียบคนไทย/ความเป็นไทย VS คนลาว/ความเป็นลาวในอดีต) 5
  • 6. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยม ในฐานะที่เป็น อุดมการณ์ (Ideology) คือเป็นโลก ทัศน์/มุมมองทางการเมือง อารมณ์ความรู้สก (Sentiments) คือ ึ เป็นการก่อรูปอัตลักษณ์ของประชาชน การเมือง (Politics) คือเป็นขบวนการ ที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ 6
  • 7. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอุดมการณ์ ชาตินิยมพลเมือง (Civic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง ความผูกพันกับรัฐ การเป็นสมาชิกของ รัฐเป็นปัจจัยกำาหนดสัญชาติ เช่นที่เห็น ได้ในผู้อพยพหลากหลายชาติพันธุใน ์ สหรัฐอเมริกา (เทียบ: คนทุกชาติพนธุ์ที่ ั เป็นพลเมืองไทยคือคนไทย) ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง 7
  • 8. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นอารมณ์ความรู้สก ึ ชาตินิยมชนชั้นนำา (Elite Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติ แบบชนชั้นนำา มีคนรู้สกร่วมน้อย ึ ชาตินิยมมวลชน (Mass Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติที่ ขยายออกไปถึงระดับมวลชน มีคนรู้สก ึ ร่วมมาก 8
  • 9. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ชาตินิยมในฐานะที่เป็นการเมือง ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐเข้มแข็ง (State- Strengthening Nationalism) เป็น ขบวนการผู้รักชาติที่ยอมรับรัฐที่มีอยู่ พยายามสร้างความเข้มแข็งให้รัฐ ทั้ง ภายในด้วยการทำาชาติให้บริสทธิ์และ ุ ปฏิรูปการปกครอง และภายนอกด้วย การอ้างซำ้าเรื่องเขตแดนและอำานาจที่ ขยายออกไป ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐอ่อนแอ (State- 9
  • 10. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson “ชาติคือชุมชนจินตกรรมการเมือง-และ จินตกรรมขึ้นโดย มีทั้งอธิปไตยและมี ขอบเขตจำากัดตั้งแต่กำาเนิด... ชาติถูก จินตกรรมขึ้นก็เพราะว่าสมาชิกของ ชาติที่แม้จะเล็กที่สุด ก็ตาม แม้จะไม่ เคยรู้จักเพือนสมาชิกร่วมชาติทั้งหมด ่ ของ ตน ไม่เคยพบเห็นพวกเขาเหล่า นั้นทั้งหมด หรือไม่เคยแม้กระทั่งได้ยิน 10
  • 11. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ชาติถูกจินตกรรมขึนอย่างมีขอบเขต ้ จำากัด เพราะว่าแม้กระทั่งชาติที่ใหญ่โต ที่สุด ทีถึงแม้จะมีประชาชนพลเมืองเป็น ่ พันล้านคน ก็มเขตแดนจำากัด สุด ี เขตแดนก็ยงมีชาติอื่นๆ อยู่ด้วย ไม่มี ั ชาติใดที่จะจินตกรรมตนเองได้ว่ามี เขตแดนครอบคลุมมนุษยชาติทั้งหมด” 11
  • 12. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ชาติถูกจินตกรรมขึนให้มอธิปไตย ก็ ้ ี เพราะความคิดเกี่ยวกับชาติเกิดขึ้นมา ในยุคสมัยแห่งภูมิธรรมและการปฏิวัติที่ กำาลังบ่อนทำาลายความชอบธรรมของ อาณาจักร และราชวงศ์ทปกครองกันมา ี่ ลดหลั่นเป็นแนวตั้งด้วย เทว โองการ” 12
  • 13. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที นิยาม “ชาติ” ของ Benedict Anderson (ต่อ) “ท้ายที่สุด ชาติถูกจินตกรรมขึ้นเป็น ชุมชน ก็เพราะชาติถูกทำาให้โดนใจว่า เป็นภราดรภาพอันลึกซึ้งและเป็นแนว ระนาบ แม้ว่าจะมีความไม่เสมอภาค มี การกดขี่ขูดรีดดำารงอยู่ในแต่ละชาตินั้น ก็ตาม ในที่สุดแล้ว ตลอดสองร้อยปีที่ ผ่านมา ภราดรภาพอันนี้แหละที่ทำาให้ เป็นไปได้ที่ผู้คนเป็นจำานวนมาหลาย 13
  • 14. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที ในการพิจารณาเรื่องชาติและชาตินิยม มี ประเด็นพิจารณาดังนี้ ชาติเกิดก่อน/เป็นสาเหตุของชาตินิยม หรือว่าชาติเกิดหลัง/เป็นผลลัพธ์ของ ชาตินิยม ชาติเกิดขึ้นในยุคสมัยใหม่หรือว่าเกิด ขึ้นก่อนยุคสมัยใหม่ อะไรเป็นปัจจัยสำาคัญที่สดต่อการเกิด ุ ขึ้นของชาติ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หรือ 14 การเมือง
  • 15. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (จำานวนของ รัฐ-ชาติจากอดีตถึงปัจจุบน ปี ั ค.ศ./จำานวนรัฐ-ชาติ/ชื่อรัฐ-ชาติ) 1500/2/อังกฤษและฝรั่งเศส 1800/6/อังกฤษ, ฝรั่งเศส, ฮอลแลนด์, สหรัฐอเมริกา, สเปน และโปรตุเกส 1900/30/มีเบลเยียม, เยอรมนี, 15
  • 16. บท GP อารัม ภบท: มโนทัศ น์แ ละวิว าทะ ่ 5 ที พัฒนาการของรัฐ-ชาติ (ต่อ) 1923 สันนิบาตชาติมสมาชิก 45 ี ประเทศ 1945 มี 51 ประเทศร่วมก่อตั้ง สหประชาชาติ 1950 สหประชาชาติมีสมาชิก 60 ประเทศ 1960 สหประชาชาติมีสมาชิก 99 16
  • 17. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 อำานาจระดับโลก อังกฤษและฝรั่งเศสแข่งขันกันโดย ใช้กำาลังทังทางบกและทางทะเล ้ สร้างสงครามตัวแทนขึ้นใน 3 ภูมภาค คือยุโรป อินเดีย และ ิ อเมริกาเหนือ แข่งกันควบคุมการ ค้าโลกและสินค้ามวลชนคือฝ้าย 17
  • 18. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม ิ ในอังกฤษและฝรั่งเศส มีเสียงเรียก ร้องให้ยกเลิกอภิสทธิ์และให้รัฐบาล ิ รับผิดชอบต่อชาติ ชาติของ พลเมืองตังอยู่บนผลประโยชน์ของ ้ ชนชันกลางทีขยายตัวออกไป ้ ่ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับ 18
  • 19. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815 ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ ิ และ IR ในอังกฤษและฝรั่งเศส ชาตินยม ิ เป็นขบวนการ (การเมือง) สำาคัญ แต่ทอื่นส่วนมากชาตินยมยังเป็น ี่ ิ เพียงแนวคิดทางวิชาการ เกิดการ ปฏิวัตอเมริกาให้เป็นอิสระจากการ ิ 19
  • 20. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 อำานาจระดับโลก อังกฤษเป็นมหาอำานาจทางทะเล ผูกค่าเงินสกุลหลักเข้ากับราคาของ ทองคำา เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมมาก ขึ้นซึ่งตามมาด้วยการเปลียนแปลง ่ ด้านการสือสาร (โทรเลข) และ ่ การขนส่ง (พลังไอนำ้า เช่นเรือกล ไฟ) 20
  • 21. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินยม ิ นักชาตินิยมในอังกฤษและฝรั่งเศส ละเลยชนชาติทไม่สำาคัญทาง ี่ ประวัตศาสตร์ (เช่นชาวโรมาเนีย ิ และชาวสลาฟ) ยืนยันว่าพวกเขา ต้องหลอมรวมกลืนกลายเข้ากับ ชาติทเป็น “วัฒนธรรมระดับสูง” ี่ ทำาให้เกิดขบวนการชาตินิยมที่เป็น 21
  • 22. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 ชาตินยม การก่อตัวของรัฐ-ชาติ ิ และ IR ความสำาเร็จของชาตินยมทีทำาให้ ิ ่ รัฐเข้มแข็ง ชาตินยมชนชั้นนำา และ ิ ชาตินยมพลเมือง เชือมโยงกับ ิ ่ สงครามทีมการใช้เทคโนโลยีและ ่ ี การจัดองค์กรสมัยใหม่ แนวคิด เสรีนิยมถูกเพิกเฉยเพราะชนชั้นนำา 22
  • 23. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 นัยสำาคัญทีมีตอการเมืองโลก ่ ่ ความขัดแย้งทางการเมืองทีขยาย ่ ตัวทั่วโลกเป็นแบบชาตินิยม จักรวรรดิพยายามควบคุมส่วนอืนๆ ่ ของโลก แต่ขบวนการชาตินิยมที่ เป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิปฏิเสธ อำานาจของจักรวรรดิ ความขัดแย้ง ขยายตัวจนกลายเป็นสงครามโลก 23
  • 24. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 อำานาจระดับโลก ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917 สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก ขึ้น สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม 24
  • 25. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 อำานาจระดับโลก ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917 สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้า ควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมาก ขึ้น สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เข้าควบคุม 25
  • 26. บท GP ที่ 5 ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 ความขัดแย้งระดับโลกและชาตินิยม  หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการนำาเอา หลักการกำาหนดตัวเองไปใช้ แต่ละรัฐ ปกครองในนามของชาติที่ครอบงำาซึ่ง ระแวงชนกลุ่มน้อย  เกิดชาตินิยมที่สุดโต่งแบบ Fascism และ Nazism  ในโลกอาณานิคม การใช้กำาลังทหาร 26
  • 27. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 ชาตินิยม การก่อตัวของรัฐชาติ และ IR ชาตินิยมไม่ใช่ปจจัยเดียวที่ทำาให้ ั เกิดรัฐชาติขึ้น ทีสำาคัญกว่าคือการที่ ่ สงครามได้ทำาลายรัฐทีมีหลายชาติ ่ ลง สันนิบาตชาติไม่ประสบผลสำาเร็จ 27
  • 28. GP ชาติน ิย ม รัฐ -ชาติ และการเมือ ง บท ที่ 5 โลกในประวัต ศ าสตร์ ิ ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 นัยสำาคัญที่มีต่อการเมืองโลก  สงครามโลกเรียกร้องต้องการให้มี ยุทธศาสตร์การเมืองระดับโลก และ สงครามโลกก็บ่อนทำาลายอำานาจ อธิปไตยของรัฐ  โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเฟืองฟูขึ้นมา ่ อีก  เสรีประชาธิปไตยถูกคุกคามจาก มี 28