SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
• คอมมิว นิส ต์ (Communism) คือ ระบอบแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ
  การปกครองสังคมและการเคลื่อนไหวทางการเมือง ภายใต้ข้อกำาหนด
  ของความเป็นเจ้าของร่วมกัน และการมีรายได้ที่ขนอยู่กบการผลิต การ
                                                   ึ้   ั
  เคลื่อนไหวทางการเมืองในแง่นี้หมายถึงระบอบคอมมิวนิสต์มงจุด ุ่
  ประสงค์ให้สังคมไร้ชนชั้น ประชาชนทุกคนมีฐานะทางสังคมเท่าเทียม
  กัน ระบอบคอมมิวนิสต์ถอว่าเป็นระบอบมหาอำานาจของการเมืองโลกใน
                         ื
  ช่วงต้นคริสตศ์ตวรรษที่ 20 ในขณะที่ในคอมมิวนิสต์สมัยใหม่มกจะยึด
                                                               ั
  ตามคำาประกาศเจตนาคอมมิวนิสตื ของคาร์ล มาร์กซ และฟรีดริช เอง
  เกล์ส ที่ว่าด้วยการแทนที่ระบบวัตถุแบบทุนนิยมที่เน้นกำาไรเป็นหลัก
  ด้วยระบอบสังคมคอมมิวนิสต์ที่ผลผลิตโดยรวมที่ได้มาจะกลายเป็นของ
  ส่วนรวม ลัทธิมาร์กซล่าวไว้ว่ากระบวนการดังกล่าวสามารถทำาให้เกิด
  ขึนได้ โดยการปฏิวัติรัฐประหารต่อบรรดานายทุนและชนชั้นสูง จากนัน
    ้                                                                ้
  จึงเปลียนถ่ายการปกครองไปสู่สถานะของการปกครองระบอบสังคมนิยม
           ่
  การกระทำาดังกล่าวเรียกกว่าอำานาจเผด็จการโดยชนชั้น
  กรรมาชีพ (Dictatorship of the proletariat) ระบอบคอมมิวนิสต์ที่แท้
  จริงทีไม่มีรัฐบาลบริหารยังไม่เคยเกิดขึ้น และยังเป็นไปได้ในแง่ทฤษฎี
         ่
  เท่านั้น เพราะความหมายที่แท้จริงของคำาว่า "ระบอบคอมมิวนิสต์" ตาม
ค้อนเคียว สัญลักษณ์ของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์
• ความคิดที่มรากฐานไปสู่ลัทธิคอมมิวนิสต์มมานานมากแล้วในโลก
              ี                            ี
  ตะวันตก นานกว่าที่มาร์กซ์และเองเกลส์จะเกิดเสียอีก ความคิดทีว่านี่
                                                               ่
  ย้อนไปได้ถึงยุคกรีกโบราณที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ถูกโยงเข้าไปเกี่ยวข้อง
  กับตำานานเกี่ยวกับยุคทองของมนุษยชาติ ที่ ๆ สังคมอยู่ดวยกันด้วย
                                                       ้
  ความสามัคคีปรองดองกันเสียก่อน จึงร่วมกันสร้างความงอกงามทาง
  วัตถุในภายหลัง แต่บางคนก็แย้งว่าตำาราสาธารณรัฐ (The Republic)
  ของเพลโตและผลงานอื่นๆ ของนักทฤษฎีรัฐศาสตร์ในยุค
  โบราณ เพียงแค่สนับสนุนลัทธิคอมมิวนิสต์ในด้านการอยู่รวมกันใน
  สังคมอย่างปรองดองเท่านั้น รวมถึงหลาย ๆ นิกายในคริสตจักรสมัย
  เก่า และเน้นเป็นพิเศษในโบสถ์สมัยเก่า ดังที่บนทึกไว้ในบัญญัติแห่ง
                                               ั
  บรรดาอัครสาวก (Acts of the Apostles) อีกทั้งชนเผ่าพืนเมืองแห่ง
                                                         ้
  ทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลับัสบุกบิก ก็ยังปฏิบัติตามแนวคิดของลัทธิ
  คอมมิวนิสต์ว่าด้วยการอยู่ดวยกันเป็นสังคมและครอบครองวัตถุร่วมกัน
                            ้
  รวมถึงอีกหลายๆ ชนชาติที่พยายามที่จะก่อตั้งสังคมคอมมิวนิสต์
  ได้แก่ นิกายเอซเซนแห่งยิว (Essenes) และนิกายยูดายทะเลทราย
• ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักบุญโทมัส มอร์ นักเขียนชาวอังกฤษ กล่าวใน
  หนังสือยูโทเปีย (Utopia) ของเขาว่า สังคมทุกสังคมมีรากฐานอยู่ที่การ
  ครอบครองวัตถุชิ้นใดๆ ร่วมกัน โดยมีหัวหน้าอยู่หนึ่งคนหรือหนึ่งคณะที่
  มีหน้าที่นำามันไปใช้ตามหลักแห่งเหตุและผลที่เหมาะสม ต่อมาใน คริสต์
  ศตวรรษที่ 17 แนวคิดคอมมิวนิสต์ผดขึนมาอีกครั้งในประเทศอังกฤษ
                                       ุ ้
  เมื่อเอ็ดเวิร์ด เบิร์นสไตส์ กล่าวในผลงานแห่งปี  พ.ศ. 2438 (ค.ศ.
  1895) ของเขา ครอมเวลล์และคอมมิวนิสต์ (Cromwell and
  Communism) อย่างเผ็ดร้อนว่ามีหลาย ๆ กลุ่มในสงครามกลางเมือ
  อังกฤษ โดยเฉพาะพวกนักขุดหรือผูเผยเปลือกใน (Digger หรือ True
                                        ้
  Leveller) ที่แสดงการสนับสนุนแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์อย่างชัดเจน เน้น
  ความสำาคัญไปที่บรรดาชาวไร่ชาวนา ซึ่งทัศนคติของ โอลิเวอร์ ครอม
  เวลล์ ต่อคนกลุ่มนีมักเป็นความรำาคาญ หรือแม้กระทังแสดงความเป็นศัตรู
                        ้                            ่
  ต่อคนกลุ่มนี้อย่างชัดเจน ความไม่เห็นด้วยต่อการครอบครองวัตถุแต่
  เพียงผูเดียวยังคงถูกแย้งมาโดยตลอดในยุคแสงสว่าง (The Age of
           ้
  Enlightenment) แห่ง คริสต์ศตวรรษที่ 18 ผ่านนักวิชาการชื่อดัง
  เช่น ชอง ชาก ชูโรส รวมถึงนักเขียนสังคมนิยมโทเปียเช่น โรเบิร์ต โอ
  เว่น  ซึ่งบรรดาบุคคลเหล่านี้ก็ถูกขนานนามว่าเป็นคอมมิวนิสต์ในบาง
  ครั้ง
• คาร์ล มาร์กซ์เห็นว่าแนวคิดคอมมิวนิสต์ในช่วงเริ่มแรกนันคือสถานะ
                                                       ้
  ดังเดิมของมนุษยชาติที่พัฒนาตนเองขึนมาตั้งแต่ยุคดึกดำาบรรพ์ ควบคู่
    ้                                 ้
  ไปกับระบอบศักดินา ที่เป็นสถานะของระบบทุนนิยมในขณะนั้น เขาจึง
  เสนอก้าวต่อไปในวิวัฒนาการทางสังคมกลับไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ ที่
  มีระดับสูงกว่าแนวคิดคอมมิวนิสต์เก่าๆ ทีมนุษยชาติเคยปฏิบัติกันมา
                                         ่
• ในขณะเดียวกัน ลัทธิคอมมิวนิสต์ก็เติบโตมาจากการเคลื่อนไหวของ
  ชนผูใช้แรงงานในยุโรปช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่
       ้
  การปฏิวัติทางอุตสาหรกรรมพัฒนายิ่งขึ้น แต่นักวิชาการหัวคิด
  สังคมนิยมเห็นว่าระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทำาให้กำาลังแรงงานด้อย
  คุณภาพลง ในขณะทีคนงานที่ทำางานในโรงงานกลางเมืองก็ต้อง
                       ่
  ทำางานในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายยิ่งขึ้น และช่องว่างที่แคบลงระหว่าง
  คนรวยและคนยากไร้
ลัท ธิม าร์ก ซ์
• มาร์กซ์และเองเกลส์พยายามหาแนวทางที่จะนำาจุดจบมาสู่ระบบ
  ทุนนิยมและการกดขี่ผใช้แรงงานเหมือนกับนักสังคมนิยมคนอื่นๆ แต่
                        ู้
  ในขณะที่นกสังคมนิยมคนอื่นหวังถึงการค่อยๆ ปฏิรูปสังคมในระยะ
              ั
  ยาว ทั้งมาร์กซ์และเองเกิลส์คดว่ามีอยู่หนทางเดียวเท่านั้นที่จะนำาไปสู่
                              ิ
  ระบอบสังคมนิยมได้ นั่นคือการปฏิวัติ
• ตามที่ข้อสนับสนุนลัทธิคอมมิวนิสต์ของมาร์กซ์กล่าวไว้ว่า ลักษณะ
  เฉพาะของเผ่าพันธุมนุษย์ในสังคมชนชั้นคือความไม่สนใจซึ่งกันและ
                     ์
  กัน และยังกล่าวอีกว่าความคิดแบบคอมมิวนิสต์คอสิงทีมนุษย์
                                                 ื ่ ่
  ปรารถนา เพราะมันนำามาซึ่งความหยั่งรู้และการพบกับอิสรภาพแห่ง
  มนุษย์อย่างแท้จริง มาร์กซ์ในที่นี้กล่าวตามนักปรัชญาชาวเยอรมัน
  ยอร์ช วิลเฮล์ม ฟรีดดิช อีเกล (G.W.F. Hegel) ที่กล่าวว่าอิสรภาพ
  มิใช่เพียงแค่การมิให้อำานาจเข้ามาควบคุมเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการก
  ระทำาที่มสำานึกศีลธรรมอีกด้วย ไม่เพียงแค่ระบอบคอมมิวนิสต์จะทำาให้
           ี
  คนทำาในสิ่งที่พวกเขาต้องการเท่านั้น แต่การทำาให้มนุษย์ที่มี
  สถานภาพเดียวกันและความเหมือนกันนั้น จะทำาให้พวกเขาไม่
• ลัทธิมาร์กซ์นั้นยึดถือว่า กระบวนการแตกแยกระหว่างชนชั้นที่ต่างกัน
  ผสมกับการดินรนต่อสู่ที่จะปฏิวิติ จะนำาชัยชนะมาสู่ชนชั้นแรงงาน
                ้
  และนำามาซึงการก่อตั้งสังคมคอมมิวนิสต์ที่ที่สิทธิในการการครอบ
              ่                                   ์
  ครองทรัพย์สมบัติส่วนบุคคลจะค่อย ๆ ถูกลบล้างไป และรายได้ของ
  ประชาชนจากการผลิต และความเป็นอยู่ทยึดติดอยู่กับชุมชนจะค่อย ๆ
                                              ี่
  เข้ามาแทนที่ ตัวมาร์กซ์เองนั้นชี้แจงไว้เพียงเล็กน้อย เกี่ยวกับชีวติ
  ความเป็นอยู่เมืออยู่ภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ แต่กล่าวถึงข้อมูลเฉพาะ
                  ่
  ส่วนหลัก ๆ ที่เป็นแนวทางไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์เท่านั้น ซึ่งส่วนมาก
  จะเกี่ยวกับการลดขอบเขตของสิ่งที่บคคลพึงกระทำา เห็นได้จาก
                                        ุ
  สโลแกนของกลุ่มเคลื่อนไหวลัทธิคอมมิวนิสต์ที่มความว่า สังคม
                                                    ี
  คอมมิวนิสต์คือโลกที่ทุก ๆ คนทำาในสิ่งที่พวกเขาถนัด และได้รับตามที่
  พวกเขาต้องการ ตัวอย่างที่อธิบายแนวคิดของมาร์กซ์มาจากผลงาน
  เขียนเพียงไม่กี่ชิ้นของเขาที่มข้อมูลเกียวกับอนาคตของลัทธิ
                                 ี        ่
  คอมมิวนิสต์โดยละเอียด คือแนวคิดลัทธิของเยอรมัน (The German
  Ideology) ในปี พ.ศ. 2338(ค.ศ. 1845) งานชิ้นนั้นมีใจความว่า:
        "ในสังคมคอมมิวนิสต์ที่ไม่มใครถูกจำากัดภาระหน้าที่อย่างใด
                                    ี
  อย่างหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ทุกคนสามารถประสบความสำาเร็จในทุกๆ
  สาขาที่เขาต้องการ เมือสังคมกำาหนดเป้าหมายการผลิตทำาให้มนเป็น
                          ่                                       ั
  ไปได้ที่จะทำาสิ่งหนึงวันนี้ และทำาให้อีกสิงในวันพรุ่ง ล่าสัตว์ในตอน
                      ่                     ่
  เช้า, ตกปลาในตอนกลางวัน, ต้อนวัวในตอนเย็น และวิจารณ์หลัง
  อาหารคำ่า ดังที่ตัวเองปรารถนา โดยไม่ต้องมีอาชีพเป็นนักล่าสัตว์ ชาว
  ประมง คนเลี้ยงสัตว์และนักวิจารณ์"
• วิสัยทัศน์ทมั่นคงของมาร์กซ์ ทำาให้วิสัยทัศน์นี้กลายเป็นทฤษฎี
             ี่
  วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับความเป็นไปของสังคมที่เป็นระบบ ภายใต้
  ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อย่างแท้จริง และเป็นทฤษฎี
  ทางการเมืองที่อธิบายถึงความจำาเป็นที่จะต้องกระทำาการปฏิวัติเพื่อที่
  จะได้สงใดๆ มาที่มข้อกังขาเล็กน้อย
          ิ่            ี
• ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นิยามของคำาว่า ระบอบ
  สัง คมนิย ม และ ระบอบคอมมิว นิส ต์ มักถูกใช้แทนกัน อย่างไร
  ก็ตาม มาร์กซ์และเองเกิลส์เห็นว่า สังคมนิยมคือระดับปานกลางของ
  สังคมที่ทรัพย์สมบัติส่วนใหญ่จากการผลิตมีมวลชนเป็นเจ้าของร่วมกัน
  โดยที่ยังคงความแตกต่างระหว่างชนชั้นไว้เล็กน้อย โดยทีพวกเขา
                                                          ่
  สงวนนิยามของระบอบคอมมิวนิสต์ไว้ว่า เป็นขั้นสุดท้ายของสังคมที่
  ไม่มความแตกต่างระหว่างชนชั้น ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างสามัคคี และ
       ี
  รัฐบาลเป็นสิ่งที่ไม่จำาเป็นอีกต่อไป
• หลักเกณฑ์เหล่านีต่อมาจึงถูกพัฒนา โดยเฉพาะจากวลาดิมร์ เลนินซึ่ง
                      ้                                     ี
  มีอิทธิพลในการกำาหนดลักษณะของพรรคคอมมิวนิสต์ในคริสต์
  ศตวรรษที่ 20 ให้โดดเด่น นักเขียนรุ่นต่อมาเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ขอ
  งมาร์กซ์โดยมอบอำานาจให้กับรัฐให้เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
• คนรุ่นเดียวกับมาร์กซ์บางคน เช่น อนาธิปตย์อย่าง มิคาเอล บาคูนิน ก็
                                               ั
  สนับสนุนแนวคิดคล้าย ๆ กัน แต่ต่างกันในทัศนคติของพวกเขาใน
  เรื่องของวิธีที่จะนำาไปสู่สังคมสามัคคีที่ไร้ชนชั้นได้ จนมาถึงทุกวันนี้ยัง
  คงมีการแบ่งกลุ่มเคลื่อนไหวของคนงานอยู่ระหว่างกลุ่มลัทธิ
  คอมมิวนิสต์ของมาร์กซ์และกลุ่มอนาธิปัตย์ โดยที่พวกอนาธิปตย์มี   ั
  ความคิดเป็นปฏิปักษ์และต้องการที่จะล้มล้างทุกอย่างที่เป็นของรัฐบาล
  แต่ในหมูพวกเขาก็มนักอนาธิปตย์-คอมมิวนิสต์อย่างปีเตอร์
            ่           ี          ั
  โคพ๊อตคิน ที่เชื่อในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ไร้ชนชั้นในทันที ใน
  ขณะที่นกอนาธิปตย์-สหการนิยมเชื่อในสหภาพแรงงานที่เป็นองค์กรที่
          ั          ั
  ทำาหน้าที่เป็นผูนำาในสังคม ตรงกันข้ามกับพรรคคอมมิวนิสต์ (ที่เชื่อใน
                   ้
  สังคมไร้ชนชั้น นั่นคือไม่มีผนำา)
                                ู้
ยุคปัจจุบัน
• ในช่วงปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 แนวทฤษฎีของมาร์กซเป็นแรงกระตุ้นให้
  เกิดพรรคสังคมนิยมทั่วยุโรป แม้ว่านโยบายของพวกเขาในเวลาต่อมาจะ
  ค่อนข้างคล้อยตามกับระบอบทุนนิยมที่กำาลังปรับเปลี่ยนตัวเอง มากกว่าที่จะ
  ก่อการรัฐประหาร ยกเว้นพรรคแรงงานแห่งประชาธิปัตย์ของ
  รัสเซีย (Russian Social Democratic Workers' Party) โดยหนึ่งในกลุ่มใน
  พรรค ที่เป็นที่รู้จักในนามของกลุ่มบอลเซวิค ซึ่งนำาโดยจากวลาดิมีร์ เลนินที่
  ประสบความสำาเร็จในการปกครองประเทศหลังจากการล้มล้างรัฐบาลรักษา
  การณ์ในการปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution of 1917) ใน พ.ศ. 2460
   (ค.ศ. 1917) ในปีต่อมา พรรคดังกล่าวเปลี่ยนชื่อเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่ง
  จากนั้นมาทำาให้เกิดข้อแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างระบอบคอมมิวนิสต์และ
  ระบอบสังคมนิยม
• หลังจากประสบความสำาเร็จในการปฏิวัติตุลาคม (October Revolution) ใน
  รัสเซีย ทำาให้พรรคสังคมนิยมในหลายๆ ประเทศเปลี่ยนตัวเองเป็น พรรค
  คอมมิวนิสต์ ซึ่งมีความภักดีต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตที่แตก
  ต่างกันไป เมื่อสงครามโลกครั้งที่ สอง สิ้นสุดลง คณะบริหารที่เรียกตนเองว่า
  คอมมิวนิสต์ก็เข้ายึดอำานาจในยุโรปตะวันออก ในปี  พ.ศ. 2492 (ค.ศ.
• ความเชื่อแบบคอมมิวนิสต์ถือว่าเป็นเรื่องต้องห้ามใน
  สหรัฐอเมริกา จากประวัติศาสตร์การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์มาตั้งแต่
  สมัยก่อนสงครามเย็นของอเมริกา ต่อมาในต้นคริสตทศวรรษที่ 1970
  นิยามใหม่ที่เรียกว่า “ยูโรคอมมิวนิสต์" (Eurocommunism) ก็ถูกใช้
  ระบุถงนโยบายใหม่ของพรรคคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันตก ซึงเป็น
        ึ                                                  ่
  แนวคิดใหม่ที่ตั้งใจจะปฏิเสธการช่วยเหลือที่ไม่มากนักและไม่คงเส้น
  คงวาของสหภาพโซเวียต บางพรรคดังกล่าวถือว่าเป็นพรรคใหญ่และ
  เป็นหัวคะแนนในการเลือกตั้งได้แก่ในฝรั่งเศษและอิตาลี แต่จากการ
  ล่มสลายของรัฐบาลคอมมิว นิส ต์ในยุโรปตะวันออกจากช่วงปลาย
  ทศวรรษที่ 1980 จนไปถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ.
  2534 (ค.ศ. 1991) ทำาให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ลดลงไปอย่าง
  มากในยุโรป อย่างไรก็ตามประชากรหนึ่งในสามของโลกก็ยังคงตก
  อยู่ภายใต้การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์อยู่ดี
• ประเทศทีปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์เป็นหลักใน
           ่
  ปัจจุบันได้แก่
• สาธารณรัฐประชาชนจีน
• สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
• สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
• สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
• สาธารณรัฐคิวบา
ที่ม า
• http://th.wikipedia.org/wiki/
• http://www.surasee.com/index.php?
  lay=show&ac=article&Id=301681
• http://www.oknation.net/blog/print.php?
  id=139569
จัดทำาโดย
นายยุทธพงษ์ เข็มคด เลขที่ 35
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.10


            เสนอ
  คุณครู เตือนใจ ไชยศิลป์
   โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

More Related Content

Similar to เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003

ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการthnaporn999
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรSakdaNasongsi1
 
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)vivace_ning
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...vivace_ning
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานีThongkum Virut
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์Nattanicha Kanjai
 

Similar to เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003 (20)

ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
 
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
Soros
SorosSoros
Soros
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานี
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
Democracy
DemocracyDemocracy
Democracy
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 

เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003

  • 1.
  • 2. • คอมมิว นิส ต์ (Communism) คือ ระบอบแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ การปกครองสังคมและการเคลื่อนไหวทางการเมือง ภายใต้ข้อกำาหนด ของความเป็นเจ้าของร่วมกัน และการมีรายได้ที่ขนอยู่กบการผลิต การ ึ้ ั เคลื่อนไหวทางการเมืองในแง่นี้หมายถึงระบอบคอมมิวนิสต์มงจุด ุ่ ประสงค์ให้สังคมไร้ชนชั้น ประชาชนทุกคนมีฐานะทางสังคมเท่าเทียม กัน ระบอบคอมมิวนิสต์ถอว่าเป็นระบอบมหาอำานาจของการเมืองโลกใน ื ช่วงต้นคริสตศ์ตวรรษที่ 20 ในขณะที่ในคอมมิวนิสต์สมัยใหม่มกจะยึด ั ตามคำาประกาศเจตนาคอมมิวนิสตื ของคาร์ล มาร์กซ และฟรีดริช เอง เกล์ส ที่ว่าด้วยการแทนที่ระบบวัตถุแบบทุนนิยมที่เน้นกำาไรเป็นหลัก ด้วยระบอบสังคมคอมมิวนิสต์ที่ผลผลิตโดยรวมที่ได้มาจะกลายเป็นของ ส่วนรวม ลัทธิมาร์กซล่าวไว้ว่ากระบวนการดังกล่าวสามารถทำาให้เกิด ขึนได้ โดยการปฏิวัติรัฐประหารต่อบรรดานายทุนและชนชั้นสูง จากนัน ้ ้ จึงเปลียนถ่ายการปกครองไปสู่สถานะของการปกครองระบอบสังคมนิยม ่ การกระทำาดังกล่าวเรียกกว่าอำานาจเผด็จการโดยชนชั้น กรรมาชีพ (Dictatorship of the proletariat) ระบอบคอมมิวนิสต์ที่แท้ จริงทีไม่มีรัฐบาลบริหารยังไม่เคยเกิดขึ้น และยังเป็นไปได้ในแง่ทฤษฎี ่ เท่านั้น เพราะความหมายที่แท้จริงของคำาว่า "ระบอบคอมมิวนิสต์" ตาม
  • 4. • ความคิดที่มรากฐานไปสู่ลัทธิคอมมิวนิสต์มมานานมากแล้วในโลก ี ี ตะวันตก นานกว่าที่มาร์กซ์และเองเกลส์จะเกิดเสียอีก ความคิดทีว่านี่ ่ ย้อนไปได้ถึงยุคกรีกโบราณที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ถูกโยงเข้าไปเกี่ยวข้อง กับตำานานเกี่ยวกับยุคทองของมนุษยชาติ ที่ ๆ สังคมอยู่ดวยกันด้วย ้ ความสามัคคีปรองดองกันเสียก่อน จึงร่วมกันสร้างความงอกงามทาง วัตถุในภายหลัง แต่บางคนก็แย้งว่าตำาราสาธารณรัฐ (The Republic) ของเพลโตและผลงานอื่นๆ ของนักทฤษฎีรัฐศาสตร์ในยุค โบราณ เพียงแค่สนับสนุนลัทธิคอมมิวนิสต์ในด้านการอยู่รวมกันใน สังคมอย่างปรองดองเท่านั้น รวมถึงหลาย ๆ นิกายในคริสตจักรสมัย เก่า และเน้นเป็นพิเศษในโบสถ์สมัยเก่า ดังที่บนทึกไว้ในบัญญัติแห่ง ั บรรดาอัครสาวก (Acts of the Apostles) อีกทั้งชนเผ่าพืนเมืองแห่ง ้ ทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลับัสบุกบิก ก็ยังปฏิบัติตามแนวคิดของลัทธิ คอมมิวนิสต์ว่าด้วยการอยู่ดวยกันเป็นสังคมและครอบครองวัตถุร่วมกัน ้ รวมถึงอีกหลายๆ ชนชาติที่พยายามที่จะก่อตั้งสังคมคอมมิวนิสต์ ได้แก่ นิกายเอซเซนแห่งยิว (Essenes) และนิกายยูดายทะเลทราย
  • 5. • ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักบุญโทมัส มอร์ นักเขียนชาวอังกฤษ กล่าวใน หนังสือยูโทเปีย (Utopia) ของเขาว่า สังคมทุกสังคมมีรากฐานอยู่ที่การ ครอบครองวัตถุชิ้นใดๆ ร่วมกัน โดยมีหัวหน้าอยู่หนึ่งคนหรือหนึ่งคณะที่ มีหน้าที่นำามันไปใช้ตามหลักแห่งเหตุและผลที่เหมาะสม ต่อมาใน คริสต์ ศตวรรษที่ 17 แนวคิดคอมมิวนิสต์ผดขึนมาอีกครั้งในประเทศอังกฤษ ุ ้ เมื่อเอ็ดเวิร์ด เบิร์นสไตส์ กล่าวในผลงานแห่งปี  พ.ศ. 2438 (ค.ศ. 1895) ของเขา ครอมเวลล์และคอมมิวนิสต์ (Cromwell and Communism) อย่างเผ็ดร้อนว่ามีหลาย ๆ กลุ่มในสงครามกลางเมือ อังกฤษ โดยเฉพาะพวกนักขุดหรือผูเผยเปลือกใน (Digger หรือ True ้ Leveller) ที่แสดงการสนับสนุนแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์อย่างชัดเจน เน้น ความสำาคัญไปที่บรรดาชาวไร่ชาวนา ซึ่งทัศนคติของ โอลิเวอร์ ครอม เวลล์ ต่อคนกลุ่มนีมักเป็นความรำาคาญ หรือแม้กระทังแสดงความเป็นศัตรู ้ ่ ต่อคนกลุ่มนี้อย่างชัดเจน ความไม่เห็นด้วยต่อการครอบครองวัตถุแต่ เพียงผูเดียวยังคงถูกแย้งมาโดยตลอดในยุคแสงสว่าง (The Age of ้ Enlightenment) แห่ง คริสต์ศตวรรษที่ 18 ผ่านนักวิชาการชื่อดัง เช่น ชอง ชาก ชูโรส รวมถึงนักเขียนสังคมนิยมโทเปียเช่น โรเบิร์ต โอ เว่น  ซึ่งบรรดาบุคคลเหล่านี้ก็ถูกขนานนามว่าเป็นคอมมิวนิสต์ในบาง ครั้ง
  • 6. • คาร์ล มาร์กซ์เห็นว่าแนวคิดคอมมิวนิสต์ในช่วงเริ่มแรกนันคือสถานะ ้ ดังเดิมของมนุษยชาติที่พัฒนาตนเองขึนมาตั้งแต่ยุคดึกดำาบรรพ์ ควบคู่ ้ ้ ไปกับระบอบศักดินา ที่เป็นสถานะของระบบทุนนิยมในขณะนั้น เขาจึง เสนอก้าวต่อไปในวิวัฒนาการทางสังคมกลับไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ ที่ มีระดับสูงกว่าแนวคิดคอมมิวนิสต์เก่าๆ ทีมนุษยชาติเคยปฏิบัติกันมา ่ • ในขณะเดียวกัน ลัทธิคอมมิวนิสต์ก็เติบโตมาจากการเคลื่อนไหวของ ชนผูใช้แรงงานในยุโรปช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ ้ การปฏิวัติทางอุตสาหรกรรมพัฒนายิ่งขึ้น แต่นักวิชาการหัวคิด สังคมนิยมเห็นว่าระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทำาให้กำาลังแรงงานด้อย คุณภาพลง ในขณะทีคนงานที่ทำางานในโรงงานกลางเมืองก็ต้อง ่ ทำางานในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายยิ่งขึ้น และช่องว่างที่แคบลงระหว่าง คนรวยและคนยากไร้
  • 7. ลัท ธิม าร์ก ซ์ • มาร์กซ์และเองเกลส์พยายามหาแนวทางที่จะนำาจุดจบมาสู่ระบบ ทุนนิยมและการกดขี่ผใช้แรงงานเหมือนกับนักสังคมนิยมคนอื่นๆ แต่ ู้ ในขณะที่นกสังคมนิยมคนอื่นหวังถึงการค่อยๆ ปฏิรูปสังคมในระยะ ั ยาว ทั้งมาร์กซ์และเองเกิลส์คดว่ามีอยู่หนทางเดียวเท่านั้นที่จะนำาไปสู่ ิ ระบอบสังคมนิยมได้ นั่นคือการปฏิวัติ • ตามที่ข้อสนับสนุนลัทธิคอมมิวนิสต์ของมาร์กซ์กล่าวไว้ว่า ลักษณะ เฉพาะของเผ่าพันธุมนุษย์ในสังคมชนชั้นคือความไม่สนใจซึ่งกันและ ์ กัน และยังกล่าวอีกว่าความคิดแบบคอมมิวนิสต์คอสิงทีมนุษย์ ื ่ ่ ปรารถนา เพราะมันนำามาซึ่งความหยั่งรู้และการพบกับอิสรภาพแห่ง มนุษย์อย่างแท้จริง มาร์กซ์ในที่นี้กล่าวตามนักปรัชญาชาวเยอรมัน ยอร์ช วิลเฮล์ม ฟรีดดิช อีเกล (G.W.F. Hegel) ที่กล่าวว่าอิสรภาพ มิใช่เพียงแค่การมิให้อำานาจเข้ามาควบคุมเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการก ระทำาที่มสำานึกศีลธรรมอีกด้วย ไม่เพียงแค่ระบอบคอมมิวนิสต์จะทำาให้ ี คนทำาในสิ่งที่พวกเขาต้องการเท่านั้น แต่การทำาให้มนุษย์ที่มี สถานภาพเดียวกันและความเหมือนกันนั้น จะทำาให้พวกเขาไม่
  • 8.
  • 9.
  • 10. • ลัทธิมาร์กซ์นั้นยึดถือว่า กระบวนการแตกแยกระหว่างชนชั้นที่ต่างกัน ผสมกับการดินรนต่อสู่ที่จะปฏิวิติ จะนำาชัยชนะมาสู่ชนชั้นแรงงาน ้ และนำามาซึงการก่อตั้งสังคมคอมมิวนิสต์ที่ที่สิทธิในการการครอบ ่ ์ ครองทรัพย์สมบัติส่วนบุคคลจะค่อย ๆ ถูกลบล้างไป และรายได้ของ ประชาชนจากการผลิต และความเป็นอยู่ทยึดติดอยู่กับชุมชนจะค่อย ๆ ี่ เข้ามาแทนที่ ตัวมาร์กซ์เองนั้นชี้แจงไว้เพียงเล็กน้อย เกี่ยวกับชีวติ ความเป็นอยู่เมืออยู่ภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ แต่กล่าวถึงข้อมูลเฉพาะ ่ ส่วนหลัก ๆ ที่เป็นแนวทางไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์เท่านั้น ซึ่งส่วนมาก จะเกี่ยวกับการลดขอบเขตของสิ่งที่บคคลพึงกระทำา เห็นได้จาก ุ สโลแกนของกลุ่มเคลื่อนไหวลัทธิคอมมิวนิสต์ที่มความว่า สังคม ี คอมมิวนิสต์คือโลกที่ทุก ๆ คนทำาในสิ่งที่พวกเขาถนัด และได้รับตามที่ พวกเขาต้องการ ตัวอย่างที่อธิบายแนวคิดของมาร์กซ์มาจากผลงาน เขียนเพียงไม่กี่ชิ้นของเขาที่มข้อมูลเกียวกับอนาคตของลัทธิ ี ่ คอมมิวนิสต์โดยละเอียด คือแนวคิดลัทธิของเยอรมัน (The German Ideology) ในปี พ.ศ. 2338(ค.ศ. 1845) งานชิ้นนั้นมีใจความว่า: "ในสังคมคอมมิวนิสต์ที่ไม่มใครถูกจำากัดภาระหน้าที่อย่างใด ี อย่างหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ทุกคนสามารถประสบความสำาเร็จในทุกๆ สาขาที่เขาต้องการ เมือสังคมกำาหนดเป้าหมายการผลิตทำาให้มนเป็น ่ ั ไปได้ที่จะทำาสิ่งหนึงวันนี้ และทำาให้อีกสิงในวันพรุ่ง ล่าสัตว์ในตอน ่ ่ เช้า, ตกปลาในตอนกลางวัน, ต้อนวัวในตอนเย็น และวิจารณ์หลัง อาหารคำ่า ดังที่ตัวเองปรารถนา โดยไม่ต้องมีอาชีพเป็นนักล่าสัตว์ ชาว ประมง คนเลี้ยงสัตว์และนักวิจารณ์"
  • 11. • วิสัยทัศน์ทมั่นคงของมาร์กซ์ ทำาให้วิสัยทัศน์นี้กลายเป็นทฤษฎี ี่ วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับความเป็นไปของสังคมที่เป็นระบบ ภายใต้ ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อย่างแท้จริง และเป็นทฤษฎี ทางการเมืองที่อธิบายถึงความจำาเป็นที่จะต้องกระทำาการปฏิวัติเพื่อที่ จะได้สงใดๆ มาที่มข้อกังขาเล็กน้อย ิ่ ี • ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นิยามของคำาว่า ระบอบ สัง คมนิย ม และ ระบอบคอมมิว นิส ต์ มักถูกใช้แทนกัน อย่างไร ก็ตาม มาร์กซ์และเองเกิลส์เห็นว่า สังคมนิยมคือระดับปานกลางของ สังคมที่ทรัพย์สมบัติส่วนใหญ่จากการผลิตมีมวลชนเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยที่ยังคงความแตกต่างระหว่างชนชั้นไว้เล็กน้อย โดยทีพวกเขา ่ สงวนนิยามของระบอบคอมมิวนิสต์ไว้ว่า เป็นขั้นสุดท้ายของสังคมที่ ไม่มความแตกต่างระหว่างชนชั้น ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างสามัคคี และ ี รัฐบาลเป็นสิ่งที่ไม่จำาเป็นอีกต่อไป • หลักเกณฑ์เหล่านีต่อมาจึงถูกพัฒนา โดยเฉพาะจากวลาดิมร์ เลนินซึ่ง ้ ี มีอิทธิพลในการกำาหนดลักษณะของพรรคคอมมิวนิสต์ในคริสต์ ศตวรรษที่ 20 ให้โดดเด่น นักเขียนรุ่นต่อมาเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ขอ งมาร์กซ์โดยมอบอำานาจให้กับรัฐให้เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
  • 12. • คนรุ่นเดียวกับมาร์กซ์บางคน เช่น อนาธิปตย์อย่าง มิคาเอล บาคูนิน ก็ ั สนับสนุนแนวคิดคล้าย ๆ กัน แต่ต่างกันในทัศนคติของพวกเขาใน เรื่องของวิธีที่จะนำาไปสู่สังคมสามัคคีที่ไร้ชนชั้นได้ จนมาถึงทุกวันนี้ยัง คงมีการแบ่งกลุ่มเคลื่อนไหวของคนงานอยู่ระหว่างกลุ่มลัทธิ คอมมิวนิสต์ของมาร์กซ์และกลุ่มอนาธิปัตย์ โดยที่พวกอนาธิปตย์มี ั ความคิดเป็นปฏิปักษ์และต้องการที่จะล้มล้างทุกอย่างที่เป็นของรัฐบาล แต่ในหมูพวกเขาก็มนักอนาธิปตย์-คอมมิวนิสต์อย่างปีเตอร์ ่ ี ั โคพ๊อตคิน ที่เชื่อในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ไร้ชนชั้นในทันที ใน ขณะที่นกอนาธิปตย์-สหการนิยมเชื่อในสหภาพแรงงานที่เป็นองค์กรที่ ั ั ทำาหน้าที่เป็นผูนำาในสังคม ตรงกันข้ามกับพรรคคอมมิวนิสต์ (ที่เชื่อใน ้ สังคมไร้ชนชั้น นั่นคือไม่มีผนำา) ู้
  • 13. ยุคปัจจุบัน • ในช่วงปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 แนวทฤษฎีของมาร์กซเป็นแรงกระตุ้นให้ เกิดพรรคสังคมนิยมทั่วยุโรป แม้ว่านโยบายของพวกเขาในเวลาต่อมาจะ ค่อนข้างคล้อยตามกับระบอบทุนนิยมที่กำาลังปรับเปลี่ยนตัวเอง มากกว่าที่จะ ก่อการรัฐประหาร ยกเว้นพรรคแรงงานแห่งประชาธิปัตย์ของ รัสเซีย (Russian Social Democratic Workers' Party) โดยหนึ่งในกลุ่มใน พรรค ที่เป็นที่รู้จักในนามของกลุ่มบอลเซวิค ซึ่งนำาโดยจากวลาดิมีร์ เลนินที่ ประสบความสำาเร็จในการปกครองประเทศหลังจากการล้มล้างรัฐบาลรักษา การณ์ในการปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution of 1917) ใน พ.ศ. 2460  (ค.ศ. 1917) ในปีต่อมา พรรคดังกล่าวเปลี่ยนชื่อเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่ง จากนั้นมาทำาให้เกิดข้อแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างระบอบคอมมิวนิสต์และ ระบอบสังคมนิยม • หลังจากประสบความสำาเร็จในการปฏิวัติตุลาคม (October Revolution) ใน รัสเซีย ทำาให้พรรคสังคมนิยมในหลายๆ ประเทศเปลี่ยนตัวเองเป็น พรรค คอมมิวนิสต์ ซึ่งมีความภักดีต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตที่แตก ต่างกันไป เมื่อสงครามโลกครั้งที่ สอง สิ้นสุดลง คณะบริหารที่เรียกตนเองว่า คอมมิวนิสต์ก็เข้ายึดอำานาจในยุโรปตะวันออก ในปี  พ.ศ. 2492 (ค.ศ.
  • 14. • ความเชื่อแบบคอมมิวนิสต์ถือว่าเป็นเรื่องต้องห้ามใน สหรัฐอเมริกา จากประวัติศาสตร์การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์มาตั้งแต่ สมัยก่อนสงครามเย็นของอเมริกา ต่อมาในต้นคริสตทศวรรษที่ 1970 นิยามใหม่ที่เรียกว่า “ยูโรคอมมิวนิสต์" (Eurocommunism) ก็ถูกใช้ ระบุถงนโยบายใหม่ของพรรคคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันตก ซึงเป็น ึ ่ แนวคิดใหม่ที่ตั้งใจจะปฏิเสธการช่วยเหลือที่ไม่มากนักและไม่คงเส้น คงวาของสหภาพโซเวียต บางพรรคดังกล่าวถือว่าเป็นพรรคใหญ่และ เป็นหัวคะแนนในการเลือกตั้งได้แก่ในฝรั่งเศษและอิตาลี แต่จากการ ล่มสลายของรัฐบาลคอมมิว นิส ต์ในยุโรปตะวันออกจากช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1980 จนไปถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) ทำาให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ลดลงไปอย่าง มากในยุโรป อย่างไรก็ตามประชากรหนึ่งในสามของโลกก็ยังคงตก อยู่ภายใต้การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์อยู่ดี
  • 15. • ประเทศทีปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์เป็นหลักใน ่ ปัจจุบันได้แก่ • สาธารณรัฐประชาชนจีน • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี • สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • สาธารณรัฐคิวบา
  • 16. ที่ม า • http://th.wikipedia.org/wiki/ • http://www.surasee.com/index.php? lay=show&ac=article&Id=301681 • http://www.oknation.net/blog/print.php? id=139569
  • 17. จัดทำาโดย นายยุทธพงษ์ เข็มคด เลขที่ 35 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.10 เสนอ คุณครู เตือนใจ ไชยศิลป์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม