SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
เรื่อง จิตตคหบดี
วิชา พระพุทธศาสนา
เสนอ
อาจารย์ สุภารัตน์ อึ้ง
ถาวรดี
ประวัติของท่านจิตตคหบดี
จิตตคหบดี เกิดที่
เมืองมัจฉิ-กา
สัณฑะ แคว้นมคธ
เล่ากันว่าเวลาจิตต
เกิดนั้น ได้เกิด
ปรากฏการณ์
ประหลาดขึ้น คือ
มีดอกไม้หลากสี
ตกลงทั่วเมือง ซึ่ง
เป็นนิมิตหมายแห่ง
ความวิจิตรสวยงาม
ท่านจึงได้รับ
ขนานนามว่า
“จิตตกุมาร”
1
บิดาท่านเป็น
เศรษฐี เมื่อบิดา
ถึงแก่กรรม ท่าน
ได้รับทรัพย์สมบัติ
เป็นเศรษฐีสืบแทน
วันหนึ่งท่านได้พบ
กับพระมหานามะ
มองเห็นอิริยาบถ
อันสงบสำารวมของ
พระมหานามะก็
เกิดความเลื่อมใส
นิมนต์ท่านไปฉัน
อาหารที่บ้าน แล้ว
2
ท่านได้นิมนต์พระ
มหานามะมาแสดง
ธรรมให้ฟังเสมอ
วันหนึ่งท่านได้
สนทนาธรรม เรื่อง
อายตนะ 6 (ตา หู
จมูก ลิ้น กาย ใจ)
จิตตคหบดีฟังแล้วได้
บรรลุเป็นพระ
อนาคามี
3
จิตตคหบดี ชอบ
ศึกษาธรรมอยู่
เสมอ จนเกิด
ความแตกฉาน
ในธรรม
สามารถอธิบาย
ธรรมได้เป็น
อย่างดี ท่าน
เคยโต้วาทะกับ
นิครนถนาฏบุตร
และชีเปลือยชื่อ
4
ท่านเป็นเศรษฐี
ใจบุญ ได้
ถวายทาน
ติดต่อกันถึง
ครึ่งเดือน เคย
พาบริวารสอง
พันคนบรรทุก
นำ้าตาลนำ้าผึ้ง
นำ้าอ้อย
จำานวน 500
เล่มเกวียน ไป
5
ตอนที่ท่านป่วย
หนัก เทวดา
ได้มาปรากฏ
ต่อหน้า ว่า
ท่านทำาบุญมาก
ถ้าท่าน
ปรารถนาเป็น
พระเจ้า
จักรพรรดิใน
ชาติหน้าก็ย่อม
ทำาได้ จิตต
คหบดีได้ตอบ
6
บุตรหลานที่เฝ้าอยู่
ได้ยินท่านพูดคน
เดียว จึงเตือนท่าน
ว่า “ตั้งสติให้ดี
อย่าเพ้อเลย” ท่าน
บอกว่าท่านไม่ได้
เพ้อ เทวดามาบอก
อย่างนี้จริง ๆ ยังมีสิ่ง
ที่ประเสริฐกว่า
จักรพรรดิอีก เมื่อ
บุตรหลานถามท่านก็
ตอบว่า“ศรัทธาความ
เชื่อที่ไม่คลอนแคลน
7
คุณธรรมที่
ควรถือเป็น
แบบอย่าง
1) เป็น
คฤหัสถ์ใน
อุดมคติ
หมายถึง เป็น
ชาวพุทธผู้
ครองเรือนที่
เป็นตัวอย่างที่ดี
พระพุทธเจ้า
ตรัสไว้ 3
8
1.2 ชอบ
สนทนาธรรม
แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับผู้อื่น
อยู่เสมอ จนได้
รับยกย่องว่า “ธร
รมกถึก” หมาย
ถึงนักเทศน์ชั้น
ยอด
9
1.3 เป็นคนใจบุญสุ
นทาน ทำาบุญทำา
ทานคราว
ละมาก ๆ อุปถัมภ์
พระพุทธศาสนาด้วย
ความมั่นคง และ
ปกป้องพระพุทธ
ศาสนาเมื่อถึงคราวมี
ภัย เช่น ตอนที่โต้
วาทะกับนิครนถนาฏ
บุตร และชีเปลือย
ชื่อกัสสปะ แสดงให้
เห็นว่าท่านได้ทำา
10
2. เคารพพระสงฆ์
มาก แม้ว่าท่านได้
บรรลุธรรมถึงขั้น
อนาคามีแต่ท่านก็ยัง
เคารพนอบน้อมพระ
สงฆ์ที่ยังเป็นปุถุชนอยู่
แม้บางภิกษุปุถุชนล่วง
เกินท่าน ดังกรณี
พระสุ-ธรรม ด่าประชด
ประชัน ท่าน เพราะ
ริษยาที่เห็นท่านซึ่งเป็น
โยมอุปฐากมานาน
11
3) เป็นคนเก่ง
และคนดี จิตต
คหบดีเป็นตัวอย่าง
แสดงว่า ชาว
พุทธที่เป็นคฤหัสถ์
ไม่เพียงแต่ทำาบุญ
ทำาทาน ขณะ
เดียวกันก็ศึกษาคำา
สอนจนเกิดการรู้
แจ้งเห็นจริง และ
ท่านเป็นคนฉลาด
คือสามารถหักล้าง
12
4.เป็นคนใจบุญสุ
นทาน ทำาบุญทำา
ทานคราวละมากๆ
อุปถัมภ์พระพุทธ
ศาสนาด้วยสัทธา
อันมั่นคงและ
ปกป้องพระพุทธ
ศาสนาเมื่อถึงคราว
มีภัย ดังกรณีออก
ไปโต้วาทะกับเจ้า
ลัทธิและผู้รู้ศาสนา
อื่นที่มายำ่ายี
คุณธรรมที่ถือเป็นแบบอย่าง
๑.เป็นคฤหัสถ์ในอุดมคติ หมายถึง เป็นชาวพุทธผู้ครองเรือนที่เป็นตัวอย่างที่ดี มีคุณสมบัติครบ
ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ๓ ประการคือ
๑.๑ ศึกษาธรรมจนแตกฉาน และปฏิบัติตามคำาสอนจนสำาเร็จเป็นพระอนาคามี
๑.๒ ชอบสนทนาธรรม แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกับผู้รู้อยู่เสมอ มีความสามารถในการ
ถ่ายทอดธรรมอย่างดี จนได้รับการยกย่องว่าเป็น”ธรรมกถึก”(นักเทศน์ นักแสดงธรรม) ชั้นยอด
๒. เป็นคนใจบุญสุนทาน ทำาบุญทำาทานคราวละมากๆ
๓. เคารพพระสงฆ์มาก ในฐานะที่เป็นคฤหัสถ์ แม้จะบรรลุธรรมระดับสูง(เป็นพระ
อนาคามี)ก็ตาม แต่ยังเคารพนอบน้อมต่อพระสงฆ์ที่เป็นปุถุชนอยู่
๔.เป็นคนเก่งและคนดี การเป็นคนดีอย่างเดียวบางครั้งก็ช่วยพระศาสนาไม่ได้ ต้องเป็นคนเก่ง
คือ ฉลาดหลักแหลม สามารถโต้เถียงหักล้างความเชื่อถือผิดๆ และกล่าวร้ายผิดๆ ต่อพระศาสนา
ได้ด้วย
13
• บรรณานุกรม
•  กัลยาสิทธิวัฒน์, พระครู. (2543). เอตทัคคะในพระพุทธศาสนา วารสาร
เสียงธรรม. 42,3 (มกราคม – มีนาคม).
• การศาสนา. กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ปี 2544
• (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา.
• การศาสนา. กรม. (2525). ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ 200 ปี ภาค 1.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา.
• สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2516). ประวัติศาสตร์ศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร : รวมสาสน์.
• ทรงวิทย์ แก้วศรี. (2530). คัมภีร์สำาคัญทางุพระศาสนา.
กรุงเทพมหานคร : การศาสนา.
• ธรรมทาส พานิช. (2521). ประวัติศาสนาพระพุทธศาสนาสมัยศรี
วิชัย. กรุงเทพมหานคร : แพร่วิทยา.
• ปุ้ย แสงงาม. (2539). พระเจ้า 500 ชาติ. กรุงเทพมหานคร : ลูก ส.
ธรรมภักดี,
จัดทำาโดย
นายวัชรพล อ่อนพันธ์
นางสาวเบญจมาศ ดำารงค์รัตน์ นางสาวสวรินทร์ กล้าดี
นางสาววันนิสา ชวดต่าย

More Related Content

What's hot

พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 

What's hot (20)

พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 

More from Krusupharat

พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1Krusupharat
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานKrusupharat
 
พระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระพระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระKrusupharat
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี Krusupharat
 
พระนารายณ์
พระนารายณ์พระนารายณ์
พระนารายณ์Krusupharat
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุKrusupharat
 
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์Krusupharat
 
ปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุKrusupharat
 
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระKrusupharat
 
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์Krusupharat
 
พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์Krusupharat
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.Krusupharat
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดีKrusupharat
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรีพระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรีKrusupharat
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
พระอนุรูทธ
พระอนุรูทธพระอนุรูทธ
พระอนุรูทธKrusupharat
 
พระอนุรูทธ
พระอนุรูทธพระอนุรูทธ
พระอนุรูทธKrusupharat
 
ดินถล่ม 2
ดินถล่ม 2ดินถล่ม 2
ดินถล่ม 2Krusupharat
 

More from Krusupharat (20)

พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
พระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระพระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระ
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
 
พระนารายณ์
พระนารายณ์พระนารายณ์
พระนารายณ์
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
 
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
 
ปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุ
 
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
 
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
 
พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดี
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรีพระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธ
พระอนุรูทธพระอนุรูทธ
พระอนุรูทธ
 
พระอนุรูทธ
พระอนุรูทธพระอนุรูทธ
พระอนุรูทธ
 
ดินถล่ม 2
ดินถล่ม 2ดินถล่ม 2
ดินถล่ม 2
 

จิตตคหบดี