SlideShare a Scribd company logo
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม พ.ศ. 2558
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1
 CHATHUM HOUSE 2
 GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES 4
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6
 RAND CORPORATION 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 9
 WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH-EAST ASIA REGION 10
 KOREA DEVELOPMENT RESEARCH 11
 ASIA SOCIETY 11
 OBSERVER RESEARCH FOUNDATION 12
 CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES 14
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในประเทศไทย 17
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR 18
NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES)
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHUM HOUSE
GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND
AREA STUDIES
เรียบเรียงโดย
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHATHUM HOUSE
ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chathum House ได้นาเสนอประเด็น
สถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
มาตรการการป้ องกันโรคระบาดหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวในเนปาล (Bracing for
an Outbreak in Earthquake-hit Nepal)
นับตั้งแต่เหตุการณ์ภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ.2015 ที่ผ่านมาซึ่ง
ได้สร้างผลกระทบและความสูญเสียมากมายต่อเนปาลนั้น ปัจจุบันรัฐบาลได้เริ่มดาเนินการฟื้นฟู
ประเทศในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในบทความนี้ Michael Edelstein ที่ปรึกษาด้านการวิจัยของ
ศูนย์การศึกษาความมั่นคงด้านสุขภาพภายใต้ Chathum House ได้นาเสนอบทบาทของรัฐบาล
เนปาลในการวางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการระบาดของโรคอันเป็นผลกระทบที่อาจ
ตามมาภายหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งในการเตรียมการดังกล่าว รัฐบาลเนปาลได้ร่วมมือกับองค์การ
พันธมิตรต่างๆ อาทิ องค์การอนามัยโลก(WHO) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ(UNICEF)
เป็นต้น โดยยุทธศาสตร์ที่กาหนดออกมาแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. ริเริ่มระบบควบคุมดูแลเพื่อสร้างศักยภาพในการป้องกันโรคระบาดไว้ล่วงหน้า
2. รณรงค์และส่งเสริมโครงการฉีดวัคซีน
เพื่อป้องกันโรคระบาดให้แก่ประชาชน
3. วางแผนเตรียมความพร้อมสาหรับ
รับมือในกรณีที่เกิดการระบาดของโรค
อย่างรุนแรง
4. เสริมสร้างให้ท้องถิ่นมีศักยภาพที่
เข้มแข็งในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์
การป้องกัน โรคระบาดของรัฐบาลได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ที่ถูกกาหนดขึ้นดังกล่าวได้ถูกนามาใช้ภายหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว 2 เดือน
โดยผ่านการประสานงานระหว่างรัฐบาลเนปาลและพันธมิตรอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันได้มีการสร้าง
เครือข่ายศูนย์อนามัยชั่วคราว 40 แห่งเพื่อให้บริการด้านสุขภาพครอบคลุมพื้นที่ 14 เขตที่ได้รับ
ผลกระทบแล้ว
Photo: Getty Images.
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การแบ่งปันข้อมูลด้านสาธารณสุข: การทบทวนบทเรียนจากภาคส่วนอื่น
(Data Sharing for Public Health: Key Lessons from Other Sectors)
Matthew Brack ผู้จัดการโครงการ ศูนย์การศึกษาความมั่นคงด้านสุขภาพของ Chathum
House ได้นาเสนอผลงานวิจัยด้านสุขภาพชิ้นใหม่ซึ่งมุ่งทาความเข้าใจประสบการณ์ด้านการแบ่งปัน
ข้อมูลข่าวสารของภาคส่วนต่างๆ ในภาครัฐเพื่อนามาเป็นบทเรียนสาหรับการพัฒนาแนวคิดและ
มุมมองใหม่ในการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข
ปัจจุบันการพัฒนาระบบการแบ่งปันและกระจายข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขอย่างมี
ประสิทธิภาพเป็นสิ่งที่ทุกประเทศต้องการให้เกิดขึ้น ทว่าที่ผ่านมากลับมีปัญหาสาคัญคือความไม่เท่า
เทียมในการกระจายข้อมูลด้านสาธารณสุขให้แก่ประชาชนระหว่างประเทศร่ารวยและประเทศยากจน
ซึ่งยังคงมีความแตกต่างกันมาก นอกจากนี้รูปแบบและกฎระเบียบในการทางาน ตลอดจนความไม่
โปร่งใสด้านการบริหารภายในหน่วยงานสาธารณสุขยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาวัฒนธรรมการ
แบ่งปันข้อมูลอีกด้วย แต่ในเวลาเดียวกันภาคส่วนอื่นๆ กลับพัฒนาระบบกระจายข้อมูลจนสามารถ
นาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะหน่วยงานด้านพาณิชย์
แม้ปัจจุบันจะมีนโยบายระดับโลกด้านการกระจายข้อมูลข่าวสารทางสาธารณสุขอยู่แล้วแต่ก็
ยังไม่สามารถจัดการกระจายข้อมูลข่าวสารไปได้อย่างทั่วถึงโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นของประเทศที่
ประชาชนมีรายได้น้อย ทางออกที่เป็นไปได้จึงควรเป็นการสนับสนุนการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้
และทาให้ท้องถิ่นเล็งเห็นถึงความสาคัญของข้อมูลด้านสาธารณสุขเสียก่อน ซึ่งหากทาได้สาเร็จก็ย่อม
นาไปสู่การขยายระบบการกระจายข้อมูลด้านสาธารณสุขที่มั่นคงได้ในอนาคต
Photo: David Paul Morris/Bloomberg via Getty Images
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND
AREA STUDIES
ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 สถาบัน GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND
AREA STUDIES ได้นาเสนอประเด็นเกี่ยวกับประเทศจีนที่น่าสนใจ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
การสร้างสื่อสารมวลชนในประเทศจีน (Media Made in China)
เป็นเรื่องปกติที่สื่อต่างๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุและเครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเทศจีนมักถูกใช้
เป็นเครื่องมือเพื่อวัตถุประสงค์ในการประชาสัมพันธ์และโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาล ในบทความนี้
นักเขียนของวารสาร Journal of Current Chinese Affairs จึงได้พยายามทาความเข้าใจถึง
ยุทธศาสตร์ที่มีต่อสื่อมวลชนของรัฐบาลจีนในปัจจุบัน ด้วยการหาความเชื่อมโยงระหว่างความมั่นคง
ของระบบการเมืองจีนกับกฎระเบียบที่ควบคุมความเคลื่อนไหวของสื่อและปัจเจกบุคคล
ทั้งนี้ผลของการศึกษาดังกล่าวสะท้อนชัดเจนว่าทั้งสื่อและภาครัฐต่างมีความสัมพันธ์ในเชิงที่มี
การเกื้อกูลกัน ยกตัวอย่างเช่น แม้กระทั่งสื่อมวลชนที่ไม่ได้ทางานด้านการเมืองก็ยังมีบทบาทในการ
ช่วยส่งเสริมความมั่นคงด้านอานาจให้แก่รัฐบาล นอกจากนี้ภาครัฐเองก็ให้การสนับสนุนสื่อมวลชนจีน
ผ่านมาตรการด้านการเงินโดยมีเงื่อนไขแลกเปลี่ยนกับการที่สื่อต้องทาตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด
ด้วย
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Michael Edelstein. Bracing for an Outbreak in Earthquake-hit Nepal. Chathum House.
ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/expert/comment/bracing-outbreak-earthquake-
hit-nepal
Matthew Brack. Data Sharing for Public Health: Key Lessons from Other Sectors.
Chathum House. ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/publication/data-sharing-publi-
health-key-lessons-other-sectors
German Institute of Global and Area Studies. Media Made in China. ออนไลน์:
http://www.giga-hamburg.de/en/news/media-made-in-china
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา
RAND CORPORATION
เรียบเรียงโดย
อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ผู้ช่วยนักวิจัย
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
RAND CORPORATION
ในรอบเดือนกรกฎาคม 2558 ที่ผ่านมา สถาบัน RAND CORPORATION ได้นาเสนอประเด็น
ที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
การขับเคลื่อนความสัมพันธ์ของจีนในทวีปแอฟริกาที่มีนัยต่อความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา
(China's Expanding African Relations : Implications for U.S. National Security)
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างจีนและทวีปแอฟริกามีการ
ขยายตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการค้าและการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรทาง
ธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์จานวนมาก ทาให้ทวีปแอฟริกาเป็นพื้นที่ที่สามารถทาผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจให้จีนได้เป็นจานวนมหาศาล โดยจีนสามารถนาทรัพยากรดังกล่าวไปแปรรูปเป็นวัตถุดิบใน
การผลิตสินค้าเพื่อส่งออกไปยังตลาดโลก และขณะเดียวกันจีนก็ยังสามารถส่งสินค้าที่ผ่านการแปร
รูปดังกล่าวกลับไปขายยังตลาดในทวีปแอฟริกาได้อีกด้วย
นักลงทุนทางภาคเอกชนของจีนมองว่า แนวยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการเข้าไปลงทุนของจีน
ในแอฟริกา มีผลประโยชน์ต่อนักลงทุนของจีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการกระจายความเสี่ยง
ทางด้านสินทรัพย์และการลงทุน ที่อาจเกิดจากปัญหาทางด้านการเมือง เหตุการณ์ความไม่มั่นคง
ภายในประเทศ ฯลฯ
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ผลประโยชน์ของจีนในทวีปแอฟริกานั้นเป็นผลประโยชน์ทางด้าน
เศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียว แต่ทั้งนี้ Lloyd Thrall นักวิจัยของสถาบัน Rand Corporation กลับ
วิเคราะห์ว่ายุทธศาสตร์ของจีนในการส่งเสริมการเข้าไปลงทุนในแอฟริกานั้น ทางการจีนมองเห็นถึง
ผลประโยชน์อื่นๆที่จะได้รับ อาทิเช่น อัตราการว่างงานที่ลดลงในจีนอันเนื่องมาจากมีการถ่ายเท
แรงงานไปสู่ทวีปแอฟริกา ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างอิทธิพลและภาพลักษณ์ของจีนให้มีความ
น่าเชื่อถือยิ่งขึ้นในระดับนานาชาติ ทั้งนี้จีนยังสามารถแสดงให้นานาชาติเห็นถึงแนวทางการจัดการ
ของจีนที่มีศักยภาพและสามารถท้าทายต่อบรรทัดฐานสากลของตะวันตกหรือสหรัฐอเมริกาได้อีก
ด้วย
ทั้งนี้ Lloyd Thrall ได้เสนอให้สหรัฐอเมริกาควรยอมรับต่ออิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจของจีนใน
ทวีปแอฟริกา ซึ่งจีนได้แสดงให้เห็นแล้วว่าแนวทางการลงทุนของจีนทางด้านเศรษฐกิจและโครงสร้าง
พื้นฐานในทวีปแอฟริกานั้น สามารถสร้างผลประโยชน์ ความความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองใน
ทวีปแอฟริกาได้มากกว่าผลกระทบทางลบ
ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาควรเพิ่มมาตรการทางการทูตที่ส่งเสริมแนวทางการลงทุนและการมีส่วนร่วม
ทางด้านเศรษฐกิจในทวีปแอฟริกามากกว่าความพยายามในการขยายอานาจด้านการทหารและ
ความมั่นคงอย่างที่เคยทามา
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Lloyd Thrall. China's Expanding African Relations: Implications for U.S. National Security.
Rand Corporation. ออนไลน์: http://www.rand.org/pubs/research_reports/RR905.html
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย
WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH-
EAST ASIA REGION
KOREA DEVELOPMENT RESEARCH
ASIA SOCIETY
OBSERVER RESEARCH FOUNDATION
CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES
เรียบเรียงโดย
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัย
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH-EAST
ASIA REGION
ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา องค์การอนามัยโลกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ร่วมมือกับประเทศเกาหลีใต้ในการหาแนวทางป้องกันยับยั้งการแพร่กระจายโรค MERS ในภูมิภาค
เอเชีย ได้นาเสนอรายงานความเคลื่อนไหวโรค MERS ดังนี้
สถานการณ์การแพร่กระจายโรค MERS ในเกาหลีใต้
ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาสถานการณ์พบผู้ติดเชื้อ MERS
จานวน 186 คน โดยพบในเกาหลีใต้จานวน 185 คน และในประเทศจีน 1 คน โดยมีผู้เสียชีวิตจากเชื้อ
MERS แล้ว 36 คน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรค ทางองค์การอนามัยโลกภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ได้เฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโดยใช้ระยะเวลาในการเฝ้าสังเกตอาการ 14 วัน
อัตราจานวนผู้ติดเชื้อ MERS ในประเทศเกาหลีใต้และประเทศจีน
ที่มา : WHO South-East Asia Region
ในปัจจุบันยังคงมีผู้ติดเชื้อและอยู่ในช่วงการเฝ้าสังเกตอาการจานวนมาก ซึ่งทางรัฐบาลเกาหลี
ใต้ได้เร่งหาทางจัดการยับยั้งการแพร่ระบาดของเชื้อโรคซึ่งมีเป้าหมายในการลดการแพร่ระบาดและ
ไม่ให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้ออีกต่อไป ในขณะที่ประเทศไทยได้ยืนยันว่าพบผู้ป่วยติดเชื้อ MERS
ในนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากตะวันออกกลาง แต่อย่างไรก็ตามไทยไม่ได้อยู่ในประเทศที่เฝ้าระวัง
การแพร่ระบาดของโรค
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
KOREA DEVELOPMENT RESEARCH
สถาบัน Korea Development Research ได้รายงานประจาเดือนด้านเศรษฐกิจ หลังจากการ
แพร่ระบาดของโรค MERS ซึ่งส่งผลกระทบโดยเฉพาะด้านการส่งออกดังต่อไปนี้
 การส่งออกยังคงอยู่ในสภาวะซมเซาโดยได้รับผลกระทบจากโรค MERS ที่เกิดขึ้นใน
ประเทศเกาหลีใต้
 การส่งออกและการผลิตในด้านอุตสาหกรรมมีกาลังการผลิตที่ลดลงจากเดิมซึ่งยังคงอยู่ใน
ระดับต่า ประกอบกับอัตราการส่งออกมีอัตรา 73.4 % ซึ่งต่าสุดในรอบปี เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นนี้เป็นสัญญาณเตือนว่าทุกอย่างในกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังไม่มีการเติบโตที่ดีขึ้น
 ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรค MERS ส่งผลให้อัตราการบริโภคมีการเติบโตที่ช้าลง ทั้งใน
ด้านภาคการท่องเที่ยวภาคการบริการ
 นอกจากนี้วิกฤตหนี้สาธารณะในประเทศกรีซเป็นปัจจัยภายนอกซึ่งเป็นผลต่อการเร่งให้
เศรษฐกิจของเกาหลีใต้ตกต่าลงไม่ได้ผลตามเป้าหมายตามที่รัฐบาลเกาหลีใต้คาดการณ์ไว้
ประกอบกับผลกระทบจากวิกฤตในกลุ่มยูโซนยังคงส่งผลต่อการส่งผลทางภาคเศรษฐกิจ
ของเกาหลีใต้อย่างต่อเนื่อง
ASIA SOCIETY
ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอประเด็น
เคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้
ตลาดหุ้นจีน: ฟองสบู่ในตลาดหุ้นจีนควรตื่นตระหนกหรือไม่?
ในช่วงปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาตลาดหุ้นจีนร่วงดิ่งลงอย่างต่อเนื่อง ดัชนีหุ้นเซี่ยงไฮ้
ปรับตัวลดลง 6% ขณะที่ดัชนีเซิ่นเจิ้นลดลง 2.5% โดยมูลค่าการตลาดหายไปถึง 3 ล้าน 2 แสน
ล้านดอลล่าร์ จนถึงตอนนี้มีบริษัทจีนอย่างน้อย 40% ที่ได้ระงับการซื้อขายหุ้นของบริษัทไปแล้ว
ชั่วคราว ซึ่งทาให้รัฐบาลจีนต้องประกาศมาตรการต่างๆเพื่อควบคุมไม่ให้ดัชนีลดต่าลงไปกว่านี้
คณะกรรมการกากับดูแลตลาดหลักทรัพย์ของจีนระบุว่า สถานการณ์ตอนนี้เรียกว่า “ความตื่น
ตระหนก" ซึ่งทาให้เกิดการเทขายหุ้นอย่างไม่มีเหตุผล จนทาให้ดัชนีหุ้นจีนดิ่งลงตอเนื่องตลอด 3
สัปดาห์มานี้
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นาย Kevin Rudd ประธานนโยบายสังคมแห่งเอเชีย (Asia Society Policy Institute) ได้
แสดงความคิดเห็นว่าตลาดหุ้นจีนมีบทบาทค่อนข้างเล็กในบริบททั้งหมดในภาพรวมของเศรษฐกิจจีน
ในด้านนักลงทุนซึ่งจีนยังคงให้ความสาคัญซึ่งอาจจะมีการแทรกแซงของทางการรัฐบาลจีนด้วยซึ่ง
เหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นในสหรัฐฯในช่วงปีค.ศ.1980 ในญี่ปุ่นและฮ่องกงในปีช่วงค.ศ.1990 ประกอบกับ
ความผันผวนของตลาดหุ้นจีนที่ผ่านมาได้เป็นตัวอย่างในการเรียนรู้ของผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจ
ของจีนอีกด้วยซึ่งทาให้รู้ว่าตลาดหุ้นและตลาดการเงินของจีนยังไม่ได้โตเต็มที่ “นี่จึงเป็นการ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในรอบ 35 ปีทีผ่านมาในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมซึ่งรัฐเป็น
เจ้าของทั้งหมด และ35 ปีต่อจากนี้จะเป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบผสม”
OBSERVER RESEARCH FOUNDATION
ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Observer Research Foundation ได้
นาเสนอประเด็นเคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้
ประเทศอินเดียและประเทศจีนหารือผ่านข้อเสนอโครงการ Shanghai Cooperation
Organization (SCO)
นาย Narendra Modi นายกรัฐมนตรีประเทศอินเดียกับผู้นาประเทศจีนได้พูดคุยประเด็น
ความสาคัญเรื่องภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical) ในภูมิภาค ซึ่งในการเข้าพบครั้งนี้ประเทศอินเดียมี
โอกาสได้เข้าร่วมในโครงการ “Shanghai Cooperation Organization (SCO)” โดยเป็นการร่วมมือ
กันในภูมิภาคเอเชีย ความสาคัญที่อินเดียเล็งเห็นถึงการเข้าร่วมในโครงการดังกล่าวคือจะช่วยให้
อินเดียสามารถรักษาพื้นที่สาคัญซึ่งเป็นตัวเชื่อมต่อกับประเทศรัสเซียและประเทศจีนได้ในเวลา
เดียวกัน
นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้วางแนวทางให้อินเดียได้ แต่น่าเสียดายอย่างยิ่งสาหรับ
อินเดียที่นายกรัฐมนตรีท่านก่อนหน้าที่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับเรื่อง แต่ครั้งนี้ประเทศจีนได้พัฒนาและ
ขับเคลื่อนภูมิภาคซึ่งใช้ความคิดริเริ่มในโครงการ “เส้นทางสายไหมใหม่” โดยจีนได้มองว่า อินเดีย
เป็นประเทศที่ขาดความต่อเนื่องทางด้านภูมิศาสตร์ในภูมิภาค ซึ่งอินเดียมีชายแดนประเทศติดกับ
ประเทศอัฟกานิสถานและสามารถเชื่อมต่อถึงเอเชียกลางได้ แต่ในบริเวณชายแดนที่สาคัญที่กล่าวถึง
นั้นถูกครอบงาโดยประเทศปากีสถานซึ่งเป็นประเทศที่มีพื้นฐานของนโยบายต่างประเทศที่ปฏิเสธ
ประเทศอินเดียไม่ให้เข้าถึงพื้นที่ของประเทศอัฟกานิสถานและประเทศในเอเชียกลาง ซึ่งถ้าหาก
อินเดียเข้าร่วมโครงการ Shanghai Cooperation Organization (SCO) ในครั้งนี้ อินเดียสามารถใช้
โครงการนี้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเอเชียกลางได้
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จีนเป็นประเทศที่มีทรัพยากรขนาดใหญ่ในการพัฒนาผ่านโครงการ “เส้นทางสายไหม
ใหม่” (the Silk Road Economic) ในปี ค.ศ.2000 ขนาดเศรษฐกิจของจีนกับภูมิภาคเอเชียกลาง
ประมาณ 1 พันล้าน แต่ตั้งปี ค.ศ.2010 เป็นต้นมาได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็น 50 พันล้าน ซึ่งในช่วง
เดียวกันนี้จีนได้พัฒนาโครงสร้างพื้นบานในภูมิภาคโดยเฉพาะด้านพลังงาน ผ่านประเทศคาซัคสถาน
ซึ่งทาให้ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาประเทศจีนสามารถผลิตพลังงานแก๊สประมาณ 30% จากเอเชียกลาง
นอกจากนี้ประเทศจีนได้พัฒนาด้านอื่นๆด้วย เช่น การจัดตั้ง New Development Bank และ Asia
Infrastructure Bank ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในกระบวนการรวมภูมิภาคทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเงินซึ่ง
เศรษฐกิจ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคขับเคลื่อนโดยมีจีนเป็นประเทศหลักในการ
พัฒนา แต่จีนก็มีความกังวลเกี่ยวกับประเทศรัสเซียในประเด็นด้านการเมืองและความมั่นคง
สาหรับประเทศอินเดียแล้วการเชื่อมต่อพื้นที่ในภูมิภาคเอเชียกลางโดยประเทศอัฟกานิสถาน
ผ่านประเทศอิหร่าน ซึ่งอินเดียต้องผ่านการเชื่อมต่อกับเมืองท่าในด้านตะวันตกของเมืองมุมไบ และ
ผ่านเส้นทางในประเทศอิหร่านโดยเส้นทางทั้งหมดไปยังประเทศรัสเซียและภูมิภาคเอเชียกลาง แต่
อย่างไรก็ตามอินเดียจะต้องใช้งบประมาณการลงทุนอย่างมหาศาลและสร้างเครือข่ายกับประเทศ
พันธมิตร ประกอบกับต้องเร่งการดาเนินทางการทูตและมีการบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ
นี่คือความเป็นจริงในขณะที่อินเดียมีเป้ าหมายที่วางไว้ โดยที่ประเทศจีนได้วางแนวทางไว้ให้
อินเดียดินรอยตามแล้ว
ประเทศจีนและอินเดียขยายความร่วมมือในกรอบกลุ่มประเทศ BRICS
นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้พบกับนาย Narendra Modi นายกรัฐมนตรีประเทศอินเดีย
เพื่อหาเรือเพื่อเปิดมุมมองใหม่ในการร่วมมือกับอินเดีย ซึ่งการร่วมมือของทั้งสองประเทศได้ขยายกว้างไป
อย่างรวดเร็วมาก เช่น ในการลงทุนรถไฟความเร็วสูง สวนสาธารณะ และเมืองอัจฉริยะ(smart city)การ
ร่วมมือด้านความมั่นคงในบริเวณชายแดน ประกอบกับจีนและอินเดียได้ลงทุนร่วมกันในแผนการพัฒนา
ธนาคารเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย(AIIB) และธนาคารในกลุ่มประเทศBRICS ซึ่ง
เป็นกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วได้แก่ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia)
อินเดีย (India) จีน(China) และแอฟริกาใต้(South Africa) ภายใต้ชื่อ BRICS New Development Bank
(NDB) นอกจากนี้ทั้งสองประเทศยังมีแผนการขยายความร่วมมือทั้งในทางด้านเศรษฐกิจและการค้าและ
ให้ความสนใจในการเติบโตของด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยทางอินเดียเต็มใจที่จะเปิดรับการ
ลงทุนจากประเทศจีน
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES
ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน China Institute of International Stud-
ies ได้นาเสนอประเด็นเคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้
ความกังวลของสหรัฐฯในโครงการธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB)
ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank
AIIB) เป็นกรอบแนวคิดที่ที่สาคัญสาหรับความริเริ่มของประเทศจีนในการผนวกรวมหลายภูมิภาคใน
เอเชียเข้าด้วยกัน ซึ่งได้ร่วมมือกับตัวแทนธนาคารและกองทุนซึ่งเป็นสมาชิกจานวน 57 กองทุนใน
ปักกิ่ง หลังจากประเทศในสหภาพยุโรปและประเทศในเอเชียได้สนับสนุนในการจัดตั้งธนาคารดังกล่าว
ในอีกด้านหนึ่งสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นมหาอานาจเพียงหนึ่งเดียวและมีเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลกมี
ความต้องการเข้าร่วมกับโครงการนี้หรือไม่
ตั้งแต่ประเทศจีนได้เป็นผู้นาในการจัดตั้งธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย
(AIIB) ซึ่งสหรัฐฯได้สนับสนุนในแนวคิดการจัดตั้งธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย แต่อย่างไรก็ตาม
สหรัฐฯได้เป็นตัวแสดงหลักในการกดดันพันธมิตรประเทศต่างทั้งในคาบมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก
ประเทศพันธมิตรต่างๆพยายามที่จะผูกเข้ารวมกับความคิดริเริ่มของประเทศ ซึ่งในสายตาสหรัฐฯมอง
ว่า “นี่เป็นการปรับตัวของประเทศจีนในอนาคต ซึ่งไม่ใช่ทางที่ดีที่สุดในการเป็นมหาอานาจ”
ตามที่ได้กล่าวข้างต้นประเทศพันธมิตรของสหรัฐฯได้เข้าร่วมในการจัดตั้งธนาคารAIIB ในด้าน
ท่าทีของสหรัฐฯ นาง Madeleine Albright ดารงตาแหน่ง former US Secretary of State ได้ออกมา
กล่าวว่า “เป็นเสมือนความผิดพลาดของสหรัฐฯในการผูกมิตรกับประเทศเหล่าสมาชิกนั้น โดยที่
ประเทศเหล่านั้นได้เข้าร่วมแต่สหรัฐฯกลับไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง” นอกจากนี้ตั้งแต่ประเทศจีนได้มี
บทบาทในสังคมระบบโลกทาให้บทบาทในด้านอานาจต่างๆของจีนมีมากขึ้นและส่งผลให้เกิดประเด็น
ตึงเครียดในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประกอบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้แสดงความ
คิดเห็นต่อจีนว่า จีนแสดงตนเป็น “Free rider” ในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในความเป็น
จริงแล้วจีนพยายามจะผลักดันตัวเองให้เป็นตัวแสดงที่โดดเด่นและมีบทบาทในการรับผิดชอบต่อ
ภูมิภาคและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาหลายปีแล้ว แต่เมื่อไม่นานมานี้จีนได้สร้างวิสัยทัศน์ใน
การขับเคลื่อนด้วยตัวเอง ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) เป็นสถานบันที่
เชื่อมภูมิภาคและสามารถยกระดับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานได้
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ตั้งแต่มีการลงนามในข้อตกลงธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ใน
ด้านท่าทีของสหรัฐฯ นาย Mark C Toner ดารงตาแหน่ง US deputy spokesman ได้ออกมาให้
สัมภาษณ์ว่า “ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) เป็นองค์กรที่สามารถบริหาร
จัดการได้ให้มีระดับมาตรฐานที่สูงและสะท้อนถึงการบริหารจัดการทางการเงินดังเช่นธนาคารโลก และ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ” ส่วนท่าทีของประเทศจีนได้มีการปรับเปลี่ยนและค่อนข้างเปิดรับ
ความคิดเห็นในการวิพากษ์วิจารณ์การจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB)
ประกอบประเทศจีนได้ให้ความเชื่อมั่นว่าจะข้อดีในการปฏิบัติจากการจัดตั้งธนาคารดังกล่าว
ในทางปฏิบัติแล้วผู้กาหนดนโยบายของสหรัฐฯมีท่าทีที่ให้สังคมโลกเล็งเห็นถึงการเสีย
ผลประโยชน์หรือกล่าวอีกอย่างว่า ประเทศจีนจะได้รับผลประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว (Zero-sum situa-
tion) ประกอบกับการจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ได้ช่วยให้สหรัฐ
ได้ผลประโยชน์ แต่อย่างไรก็ตามประเทศจีนได้ใช้ความเชื่อมั่นว่าโครงการธนาคารเพื่อการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) นั้นเป็นการสร้าง “ผลประโยชน์ให้กับทุกฝ่าย (win-win situa-
tion)” และจะเป็นโครงการที่ประสบความสาเร็จที่ดีต่อภูมิภาคเอเชีย
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
WHO South-East Asia Region. Managing contacts in the MERS-CoV outbreak in the
Republic of Korea. ออนไลน์ : http://www.who.int/csr/disease/coronavirus_infections/
maps-epicurves/en
Korea Development Research. KDI Monthly Economic Trends 2015. ออนไลน์: http://
www.kdi.re.kr/kdi_eng/database/pop_summary.jsp?pub_no=14195&type=3
Juan Machado. Kevin Rudd on CNBC: Don't Confuse the Chinese Stock Market with
Overall Economy. ออนไลน์: http://asiasociety.org/blog/asia/kevin-rudd-cnbc-dont-confuse-
chinese-stock-market-overall-economy
Manoj Joshi. Central Asia: Modi trying to catch up with Xi? ออนไลน์: http://www.orfonline.org/
cms/sites/orfonline/modules/analysis/AnalysisDetail.html?cmaid=84982&mmacmaid
=84983
Observer Research Foundation CHINA WEEKLY. Xi-Modi meeting on sidelines of
BRICS-SCO summit. ออนไลน์: http://www.orfonline.org/cms/sites/orfonline/modules/
17
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
(KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL
DEVELOPMENT STRATEGIES)
เรียบเรียงโดย
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัย
18
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
(KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOP-
MENT STRATEGIES)
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัด
กิจกรรมต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1. เวที Think Tank ครั้งที่ 8 เรื่อง นโยบาย One Belt, One Road ของจีน
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคมที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติร่วมกับกระทรวง
การต่างประเทศได้จัดเวทีเสวนาภายใต้หัวข้อเรื่อง นโยบาย One Belt, One Road ของจีน โดย
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกแลกเปลี่ยนประกอบด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ท่านทูต
สมปอง สงวนบรรพ์ นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง และนายนพพร
เทพสิทธรา โดยมีรายละเอียดดังนี้
 แนวคิดเส้นทางสายไหมใหม่ “One Belt One Road” หรือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” เป็น
โครงการของรัฐบาลจีนเพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) และสร้างความร่วมมือ
(cooperation) โดยเฉพาะทางการค้าระหว่างจีนกับนานาประเทศในเอเชีย ตะวันออก
กลาง และยุโรป
 ทางรัฐบาลจีนได้เน้นย้าว่าข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One belt, One
Road) เป็นสถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win Situation) ไม่ได้มีลักษณะ
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ (Zero-sum game)
 โอกาสของประเทศไทยในการเข้าร่วมข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt,
One Road) โอกาสด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โอกาสด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
 ข้อเสนอดังกล่าวนี้เรียกได้ว่าเป็น “มหาการทูตหรือมหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ” ที่สร้างยุทธศาสตร์ให้กับประเด็นนโยบายต่างประเทศ เพราะฉะนั้นประเทศ
ไทยจึงต้องใช้ประโยชน์จาก “สมุทรานุภาพทางทะเล” และต้องพยายามก้าวขึ้นสู่
“มหาอานาจขนาดกลาง (middle power)” ในมิติเศรษฐกิจและการเจรจาเวทีระหว่าง
ประเทศ
19
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2. เวที Forum โจทย์วิจัย เรื่อง การพัฒนาคลังปัญญาใน 3 จังหวัดและโครงการวิจัยประเทศ
อินโดนีเซีย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีพัฒนาโจทย์วิจัยเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ที่
ผ่านมา ซึ่งในเวทีการประชุมนักวิจัยได้นาเสนอโครงการวิจัยโดยมีรายละเอียดดังนี้
1.โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย นายอัซฮาร์
สารีมะเจ๊ะ อดีตประธานสมาพันธ์นิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ใน
การศึกษาถึงบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ผ่านมุมมองจากคนในพื้นที่ต่อการรับรู้บทบาทการช่วยเหลือของประเทศตุรกี
2. โครงการขับเคลื่อนคลังปัญญาในสามจังหวัดชายแดนใต้ โดย นายอัซฮาร์ สารีมะเจ๊ะ
อดีตประธานสมาพันธ์นิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมและ
สร้างองค์ความรู้ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายในสามจังหวัดชายแดนใต้ ผ่านการจัดเวทีระดมสมอง
ในนามของคลังปัญญาปาตานี
3. โครงการวิจัยการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อานาจขนาดกลาง”: กรณีศึกษา
ประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล โดย อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูตและ
การต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบ
นโยบายการต่างประเทศของอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล เพื่อนามาถอดบทเรียนและจัดทาเป็น
แนวทางให้หน่วยงานต่างๆของประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการ
กาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของประเทศไทยสู่การเป็นประเทศที่มี “อานาจขนาดกลาง” ได้
3. เวทีวิชาการครั้งที่ 5 เรื่อง เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสาเร็จ
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีเสวนาใน
หัวข้อเด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสาเร็จ โดยได้เชิญคุณอินทิรา เหล่า
ธรรมทัศน์ และคุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์ นักเรียนชาวไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ใน
ต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกมาร่วมเป็นวิทยากรแบ่งปัน
ประสบการณ์และแลกเปลี่ยนความเห็นในการเสวนา ซึ่งหัวข้อในการบรรยายมีดังต่อไปนี้
 การเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุก สร้างสรรค์และเข้าใจชีวิต
 ประสบการณ์การทางานกับนักวิจัยชั้นนาในสถาบันวิทยาศาสตร์ระดับโลก
 เคล็ดลับในการก้าวสู่การเป็นนักวิจัยในสถาบันวิจัยชั้นนาของโลก
 การนาเสนอหัวข้อการวิจัยที่ทั้งสองท่านสนใจ ได้แก่ เรื่องความสาคัญของธาตุเหล็ก และเรื่อง
นาฬิกาชีวิต พร้อมทั้งเสนอแนะวิธีการนาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
20
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

More Related Content

What's hot

ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
Klangpanya
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
Klangpanya
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
Klangpanya
 
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
National Institute for Child and Family Development , Mahidol university
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
Klangpanya
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
Klangpanya
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างBe SK
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
Klangpanya
 

What's hot (13)

ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 

Viewers also liked

“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
Klangpanya
 
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
Klangpanya
 
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
Klangpanya
 
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีนการปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Klangpanya
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
Klangpanya
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Klangpanya
 
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
Klangpanya
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
Klangpanya
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
Klangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
Klangpanya
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
Klangpanya
 

Viewers also liked (14)

“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
“ฟาฏอนี” มหาวิทยาลัยแห่งยุคบูรพาภิวัตน์
 
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
 
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
โครงการศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ...
 
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีนการปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
 

Similar to World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558

Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
BTNHO
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
Klangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
USMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
Klangpanya
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
IMC Institute
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
Teeranan
 

Similar to World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558 (20)

Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
001
001001
001
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
Klangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558

  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1  CHATHUM HOUSE 2  GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES 4 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6  RAND CORPORATION 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 9  WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH-EAST ASIA REGION 10  KOREA DEVELOPMENT RESEARCH 11  ASIA SOCIETY 11  OBSERVER RESEARCH FOUNDATION 12  CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES 14 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในประเทศไทย 17  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR 18 NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES)
  • 3. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHUM HOUSE GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 4. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHATHUM HOUSE ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chathum House ได้นาเสนอประเด็น สถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ มาตรการการป้ องกันโรคระบาดหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวในเนปาล (Bracing for an Outbreak in Earthquake-hit Nepal) นับตั้งแต่เหตุการณ์ภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ.2015 ที่ผ่านมาซึ่ง ได้สร้างผลกระทบและความสูญเสียมากมายต่อเนปาลนั้น ปัจจุบันรัฐบาลได้เริ่มดาเนินการฟื้นฟู ประเทศในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในบทความนี้ Michael Edelstein ที่ปรึกษาด้านการวิจัยของ ศูนย์การศึกษาความมั่นคงด้านสุขภาพภายใต้ Chathum House ได้นาเสนอบทบาทของรัฐบาล เนปาลในการวางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการระบาดของโรคอันเป็นผลกระทบที่อาจ ตามมาภายหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งในการเตรียมการดังกล่าว รัฐบาลเนปาลได้ร่วมมือกับองค์การ พันธมิตรต่างๆ อาทิ องค์การอนามัยโลก(WHO) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ(UNICEF) เป็นต้น โดยยุทธศาสตร์ที่กาหนดออกมาแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ริเริ่มระบบควบคุมดูแลเพื่อสร้างศักยภาพในการป้องกันโรคระบาดไว้ล่วงหน้า 2. รณรงค์และส่งเสริมโครงการฉีดวัคซีน เพื่อป้องกันโรคระบาดให้แก่ประชาชน 3. วางแผนเตรียมความพร้อมสาหรับ รับมือในกรณีที่เกิดการระบาดของโรค อย่างรุนแรง 4. เสริมสร้างให้ท้องถิ่นมีศักยภาพที่ เข้มแข็งในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การป้องกัน โรคระบาดของรัฐบาลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ที่ถูกกาหนดขึ้นดังกล่าวได้ถูกนามาใช้ภายหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว 2 เดือน โดยผ่านการประสานงานระหว่างรัฐบาลเนปาลและพันธมิตรอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันได้มีการสร้าง เครือข่ายศูนย์อนามัยชั่วคราว 40 แห่งเพื่อให้บริการด้านสุขภาพครอบคลุมพื้นที่ 14 เขตที่ได้รับ ผลกระทบแล้ว Photo: Getty Images.
  • 5. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การแบ่งปันข้อมูลด้านสาธารณสุข: การทบทวนบทเรียนจากภาคส่วนอื่น (Data Sharing for Public Health: Key Lessons from Other Sectors) Matthew Brack ผู้จัดการโครงการ ศูนย์การศึกษาความมั่นคงด้านสุขภาพของ Chathum House ได้นาเสนอผลงานวิจัยด้านสุขภาพชิ้นใหม่ซึ่งมุ่งทาความเข้าใจประสบการณ์ด้านการแบ่งปัน ข้อมูลข่าวสารของภาคส่วนต่างๆ ในภาครัฐเพื่อนามาเป็นบทเรียนสาหรับการพัฒนาแนวคิดและ มุมมองใหม่ในการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปัจจุบันการพัฒนาระบบการแบ่งปันและกระจายข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขอย่างมี ประสิทธิภาพเป็นสิ่งที่ทุกประเทศต้องการให้เกิดขึ้น ทว่าที่ผ่านมากลับมีปัญหาสาคัญคือความไม่เท่า เทียมในการกระจายข้อมูลด้านสาธารณสุขให้แก่ประชาชนระหว่างประเทศร่ารวยและประเทศยากจน ซึ่งยังคงมีความแตกต่างกันมาก นอกจากนี้รูปแบบและกฎระเบียบในการทางาน ตลอดจนความไม่ โปร่งใสด้านการบริหารภายในหน่วยงานสาธารณสุขยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาวัฒนธรรมการ แบ่งปันข้อมูลอีกด้วย แต่ในเวลาเดียวกันภาคส่วนอื่นๆ กลับพัฒนาระบบกระจายข้อมูลจนสามารถ นาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะหน่วยงานด้านพาณิชย์ แม้ปัจจุบันจะมีนโยบายระดับโลกด้านการกระจายข้อมูลข่าวสารทางสาธารณสุขอยู่แล้วแต่ก็ ยังไม่สามารถจัดการกระจายข้อมูลข่าวสารไปได้อย่างทั่วถึงโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นของประเทศที่ ประชาชนมีรายได้น้อย ทางออกที่เป็นไปได้จึงควรเป็นการสนับสนุนการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ และทาให้ท้องถิ่นเล็งเห็นถึงความสาคัญของข้อมูลด้านสาธารณสุขเสียก่อน ซึ่งหากทาได้สาเร็จก็ย่อม นาไปสู่การขยายระบบการกระจายข้อมูลด้านสาธารณสุขที่มั่นคงได้ในอนาคต Photo: David Paul Morris/Bloomberg via Getty Images
  • 6. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 สถาบัน GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES ได้นาเสนอประเด็นเกี่ยวกับประเทศจีนที่น่าสนใจ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การสร้างสื่อสารมวลชนในประเทศจีน (Media Made in China) เป็นเรื่องปกติที่สื่อต่างๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุและเครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเทศจีนมักถูกใช้ เป็นเครื่องมือเพื่อวัตถุประสงค์ในการประชาสัมพันธ์และโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาล ในบทความนี้ นักเขียนของวารสาร Journal of Current Chinese Affairs จึงได้พยายามทาความเข้าใจถึง ยุทธศาสตร์ที่มีต่อสื่อมวลชนของรัฐบาลจีนในปัจจุบัน ด้วยการหาความเชื่อมโยงระหว่างความมั่นคง ของระบบการเมืองจีนกับกฎระเบียบที่ควบคุมความเคลื่อนไหวของสื่อและปัจเจกบุคคล ทั้งนี้ผลของการศึกษาดังกล่าวสะท้อนชัดเจนว่าทั้งสื่อและภาครัฐต่างมีความสัมพันธ์ในเชิงที่มี การเกื้อกูลกัน ยกตัวอย่างเช่น แม้กระทั่งสื่อมวลชนที่ไม่ได้ทางานด้านการเมืองก็ยังมีบทบาทในการ ช่วยส่งเสริมความมั่นคงด้านอานาจให้แก่รัฐบาล นอกจากนี้ภาครัฐเองก็ให้การสนับสนุนสื่อมวลชนจีน ผ่านมาตรการด้านการเงินโดยมีเงื่อนไขแลกเปลี่ยนกับการที่สื่อต้องทาตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ด้วย
  • 7. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Michael Edelstein. Bracing for an Outbreak in Earthquake-hit Nepal. Chathum House. ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/expert/comment/bracing-outbreak-earthquake- hit-nepal Matthew Brack. Data Sharing for Public Health: Key Lessons from Other Sectors. Chathum House. ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/publication/data-sharing-publi- health-key-lessons-other-sectors German Institute of Global and Area Studies. Media Made in China. ออนไลน์: http://www.giga-hamburg.de/en/news/media-made-in-china
  • 8. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา RAND CORPORATION เรียบเรียงโดย อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 9. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต RAND CORPORATION ในรอบเดือนกรกฎาคม 2558 ที่ผ่านมา สถาบัน RAND CORPORATION ได้นาเสนอประเด็น ที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ การขับเคลื่อนความสัมพันธ์ของจีนในทวีปแอฟริกาที่มีนัยต่อความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา (China's Expanding African Relations : Implications for U.S. National Security) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างจีนและทวีปแอฟริกามีการ ขยายตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการค้าและการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์จานวนมาก ทาให้ทวีปแอฟริกาเป็นพื้นที่ที่สามารถทาผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจให้จีนได้เป็นจานวนมหาศาล โดยจีนสามารถนาทรัพยากรดังกล่าวไปแปรรูปเป็นวัตถุดิบใน การผลิตสินค้าเพื่อส่งออกไปยังตลาดโลก และขณะเดียวกันจีนก็ยังสามารถส่งสินค้าที่ผ่านการแปร รูปดังกล่าวกลับไปขายยังตลาดในทวีปแอฟริกาได้อีกด้วย นักลงทุนทางภาคเอกชนของจีนมองว่า แนวยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการเข้าไปลงทุนของจีน ในแอฟริกา มีผลประโยชน์ต่อนักลงทุนของจีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการกระจายความเสี่ยง ทางด้านสินทรัพย์และการลงทุน ที่อาจเกิดจากปัญหาทางด้านการเมือง เหตุการณ์ความไม่มั่นคง ภายในประเทศ ฯลฯ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ผลประโยชน์ของจีนในทวีปแอฟริกานั้นเป็นผลประโยชน์ทางด้าน เศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียว แต่ทั้งนี้ Lloyd Thrall นักวิจัยของสถาบัน Rand Corporation กลับ วิเคราะห์ว่ายุทธศาสตร์ของจีนในการส่งเสริมการเข้าไปลงทุนในแอฟริกานั้น ทางการจีนมองเห็นถึง ผลประโยชน์อื่นๆที่จะได้รับ อาทิเช่น อัตราการว่างงานที่ลดลงในจีนอันเนื่องมาจากมีการถ่ายเท แรงงานไปสู่ทวีปแอฟริกา ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างอิทธิพลและภาพลักษณ์ของจีนให้มีความ น่าเชื่อถือยิ่งขึ้นในระดับนานาชาติ ทั้งนี้จีนยังสามารถแสดงให้นานาชาติเห็นถึงแนวทางการจัดการ ของจีนที่มีศักยภาพและสามารถท้าทายต่อบรรทัดฐานสากลของตะวันตกหรือสหรัฐอเมริกาได้อีก ด้วย ทั้งนี้ Lloyd Thrall ได้เสนอให้สหรัฐอเมริกาควรยอมรับต่ออิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจของจีนใน ทวีปแอฟริกา ซึ่งจีนได้แสดงให้เห็นแล้วว่าแนวทางการลงทุนของจีนทางด้านเศรษฐกิจและโครงสร้าง พื้นฐานในทวีปแอฟริกานั้น สามารถสร้างผลประโยชน์ ความความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองใน ทวีปแอฟริกาได้มากกว่าผลกระทบทางลบ ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาควรเพิ่มมาตรการทางการทูตที่ส่งเสริมแนวทางการลงทุนและการมีส่วนร่วม ทางด้านเศรษฐกิจในทวีปแอฟริกามากกว่าความพยายามในการขยายอานาจด้านการทหารและ ความมั่นคงอย่างที่เคยทามา
  • 10. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Lloyd Thrall. China's Expanding African Relations: Implications for U.S. National Security. Rand Corporation. ออนไลน์: http://www.rand.org/pubs/research_reports/RR905.html
  • 11. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH- EAST ASIA REGION KOREA DEVELOPMENT RESEARCH ASIA SOCIETY OBSERVER RESEARCH FOUNDATION CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES เรียบเรียงโดย วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 12. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต WORLD HEALTH ORGANIZATION SOUTH-EAST ASIA REGION ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา องค์การอนามัยโลกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ร่วมมือกับประเทศเกาหลีใต้ในการหาแนวทางป้องกันยับยั้งการแพร่กระจายโรค MERS ในภูมิภาค เอเชีย ได้นาเสนอรายงานความเคลื่อนไหวโรค MERS ดังนี้ สถานการณ์การแพร่กระจายโรค MERS ในเกาหลีใต้ ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาสถานการณ์พบผู้ติดเชื้อ MERS จานวน 186 คน โดยพบในเกาหลีใต้จานวน 185 คน และในประเทศจีน 1 คน โดยมีผู้เสียชีวิตจากเชื้อ MERS แล้ว 36 คน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรค ทางองค์การอนามัยโลกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ได้เฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโดยใช้ระยะเวลาในการเฝ้าสังเกตอาการ 14 วัน อัตราจานวนผู้ติดเชื้อ MERS ในประเทศเกาหลีใต้และประเทศจีน ที่มา : WHO South-East Asia Region ในปัจจุบันยังคงมีผู้ติดเชื้อและอยู่ในช่วงการเฝ้าสังเกตอาการจานวนมาก ซึ่งทางรัฐบาลเกาหลี ใต้ได้เร่งหาทางจัดการยับยั้งการแพร่ระบาดของเชื้อโรคซึ่งมีเป้าหมายในการลดการแพร่ระบาดและ ไม่ให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้ออีกต่อไป ในขณะที่ประเทศไทยได้ยืนยันว่าพบผู้ป่วยติดเชื้อ MERS ในนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากตะวันออกกลาง แต่อย่างไรก็ตามไทยไม่ได้อยู่ในประเทศที่เฝ้าระวัง การแพร่ระบาดของโรค
  • 13. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต KOREA DEVELOPMENT RESEARCH สถาบัน Korea Development Research ได้รายงานประจาเดือนด้านเศรษฐกิจ หลังจากการ แพร่ระบาดของโรค MERS ซึ่งส่งผลกระทบโดยเฉพาะด้านการส่งออกดังต่อไปนี้  การส่งออกยังคงอยู่ในสภาวะซมเซาโดยได้รับผลกระทบจากโรค MERS ที่เกิดขึ้นใน ประเทศเกาหลีใต้  การส่งออกและการผลิตในด้านอุตสาหกรรมมีกาลังการผลิตที่ลดลงจากเดิมซึ่งยังคงอยู่ใน ระดับต่า ประกอบกับอัตราการส่งออกมีอัตรา 73.4 % ซึ่งต่าสุดในรอบปี เหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นนี้เป็นสัญญาณเตือนว่าทุกอย่างในกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังไม่มีการเติบโตที่ดีขึ้น  ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรค MERS ส่งผลให้อัตราการบริโภคมีการเติบโตที่ช้าลง ทั้งใน ด้านภาคการท่องเที่ยวภาคการบริการ  นอกจากนี้วิกฤตหนี้สาธารณะในประเทศกรีซเป็นปัจจัยภายนอกซึ่งเป็นผลต่อการเร่งให้ เศรษฐกิจของเกาหลีใต้ตกต่าลงไม่ได้ผลตามเป้าหมายตามที่รัฐบาลเกาหลีใต้คาดการณ์ไว้ ประกอบกับผลกระทบจากวิกฤตในกลุ่มยูโซนยังคงส่งผลต่อการส่งผลทางภาคเศรษฐกิจ ของเกาหลีใต้อย่างต่อเนื่อง ASIA SOCIETY ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอประเด็น เคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้ ตลาดหุ้นจีน: ฟองสบู่ในตลาดหุ้นจีนควรตื่นตระหนกหรือไม่? ในช่วงปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาตลาดหุ้นจีนร่วงดิ่งลงอย่างต่อเนื่อง ดัชนีหุ้นเซี่ยงไฮ้ ปรับตัวลดลง 6% ขณะที่ดัชนีเซิ่นเจิ้นลดลง 2.5% โดยมูลค่าการตลาดหายไปถึง 3 ล้าน 2 แสน ล้านดอลล่าร์ จนถึงตอนนี้มีบริษัทจีนอย่างน้อย 40% ที่ได้ระงับการซื้อขายหุ้นของบริษัทไปแล้ว ชั่วคราว ซึ่งทาให้รัฐบาลจีนต้องประกาศมาตรการต่างๆเพื่อควบคุมไม่ให้ดัชนีลดต่าลงไปกว่านี้ คณะกรรมการกากับดูแลตลาดหลักทรัพย์ของจีนระบุว่า สถานการณ์ตอนนี้เรียกว่า “ความตื่น ตระหนก" ซึ่งทาให้เกิดการเทขายหุ้นอย่างไม่มีเหตุผล จนทาให้ดัชนีหุ้นจีนดิ่งลงตอเนื่องตลอด 3 สัปดาห์มานี้
  • 14. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นาย Kevin Rudd ประธานนโยบายสังคมแห่งเอเชีย (Asia Society Policy Institute) ได้ แสดงความคิดเห็นว่าตลาดหุ้นจีนมีบทบาทค่อนข้างเล็กในบริบททั้งหมดในภาพรวมของเศรษฐกิจจีน ในด้านนักลงทุนซึ่งจีนยังคงให้ความสาคัญซึ่งอาจจะมีการแทรกแซงของทางการรัฐบาลจีนด้วยซึ่ง เหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นในสหรัฐฯในช่วงปีค.ศ.1980 ในญี่ปุ่นและฮ่องกงในปีช่วงค.ศ.1990 ประกอบกับ ความผันผวนของตลาดหุ้นจีนที่ผ่านมาได้เป็นตัวอย่างในการเรียนรู้ของผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจ ของจีนอีกด้วยซึ่งทาให้รู้ว่าตลาดหุ้นและตลาดการเงินของจีนยังไม่ได้โตเต็มที่ “นี่จึงเป็นการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในรอบ 35 ปีทีผ่านมาในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมซึ่งรัฐเป็น เจ้าของทั้งหมด และ35 ปีต่อจากนี้จะเป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบผสม” OBSERVER RESEARCH FOUNDATION ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Observer Research Foundation ได้ นาเสนอประเด็นเคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้ ประเทศอินเดียและประเทศจีนหารือผ่านข้อเสนอโครงการ Shanghai Cooperation Organization (SCO) นาย Narendra Modi นายกรัฐมนตรีประเทศอินเดียกับผู้นาประเทศจีนได้พูดคุยประเด็น ความสาคัญเรื่องภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical) ในภูมิภาค ซึ่งในการเข้าพบครั้งนี้ประเทศอินเดียมี โอกาสได้เข้าร่วมในโครงการ “Shanghai Cooperation Organization (SCO)” โดยเป็นการร่วมมือ กันในภูมิภาคเอเชีย ความสาคัญที่อินเดียเล็งเห็นถึงการเข้าร่วมในโครงการดังกล่าวคือจะช่วยให้ อินเดียสามารถรักษาพื้นที่สาคัญซึ่งเป็นตัวเชื่อมต่อกับประเทศรัสเซียและประเทศจีนได้ในเวลา เดียวกัน นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้วางแนวทางให้อินเดียได้ แต่น่าเสียดายอย่างยิ่งสาหรับ อินเดียที่นายกรัฐมนตรีท่านก่อนหน้าที่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับเรื่อง แต่ครั้งนี้ประเทศจีนได้พัฒนาและ ขับเคลื่อนภูมิภาคซึ่งใช้ความคิดริเริ่มในโครงการ “เส้นทางสายไหมใหม่” โดยจีนได้มองว่า อินเดีย เป็นประเทศที่ขาดความต่อเนื่องทางด้านภูมิศาสตร์ในภูมิภาค ซึ่งอินเดียมีชายแดนประเทศติดกับ ประเทศอัฟกานิสถานและสามารถเชื่อมต่อถึงเอเชียกลางได้ แต่ในบริเวณชายแดนที่สาคัญที่กล่าวถึง นั้นถูกครอบงาโดยประเทศปากีสถานซึ่งเป็นประเทศที่มีพื้นฐานของนโยบายต่างประเทศที่ปฏิเสธ ประเทศอินเดียไม่ให้เข้าถึงพื้นที่ของประเทศอัฟกานิสถานและประเทศในเอเชียกลาง ซึ่งถ้าหาก อินเดียเข้าร่วมโครงการ Shanghai Cooperation Organization (SCO) ในครั้งนี้ อินเดียสามารถใช้ โครงการนี้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเอเชียกลางได้
  • 15. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จีนเป็นประเทศที่มีทรัพยากรขนาดใหญ่ในการพัฒนาผ่านโครงการ “เส้นทางสายไหม ใหม่” (the Silk Road Economic) ในปี ค.ศ.2000 ขนาดเศรษฐกิจของจีนกับภูมิภาคเอเชียกลาง ประมาณ 1 พันล้าน แต่ตั้งปี ค.ศ.2010 เป็นต้นมาได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็น 50 พันล้าน ซึ่งในช่วง เดียวกันนี้จีนได้พัฒนาโครงสร้างพื้นบานในภูมิภาคโดยเฉพาะด้านพลังงาน ผ่านประเทศคาซัคสถาน ซึ่งทาให้ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาประเทศจีนสามารถผลิตพลังงานแก๊สประมาณ 30% จากเอเชียกลาง นอกจากนี้ประเทศจีนได้พัฒนาด้านอื่นๆด้วย เช่น การจัดตั้ง New Development Bank และ Asia Infrastructure Bank ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในกระบวนการรวมภูมิภาคทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเงินซึ่ง เศรษฐกิจ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคขับเคลื่อนโดยมีจีนเป็นประเทศหลักในการ พัฒนา แต่จีนก็มีความกังวลเกี่ยวกับประเทศรัสเซียในประเด็นด้านการเมืองและความมั่นคง สาหรับประเทศอินเดียแล้วการเชื่อมต่อพื้นที่ในภูมิภาคเอเชียกลางโดยประเทศอัฟกานิสถาน ผ่านประเทศอิหร่าน ซึ่งอินเดียต้องผ่านการเชื่อมต่อกับเมืองท่าในด้านตะวันตกของเมืองมุมไบ และ ผ่านเส้นทางในประเทศอิหร่านโดยเส้นทางทั้งหมดไปยังประเทศรัสเซียและภูมิภาคเอเชียกลาง แต่ อย่างไรก็ตามอินเดียจะต้องใช้งบประมาณการลงทุนอย่างมหาศาลและสร้างเครือข่ายกับประเทศ พันธมิตร ประกอบกับต้องเร่งการดาเนินทางการทูตและมีการบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ นี่คือความเป็นจริงในขณะที่อินเดียมีเป้ าหมายที่วางไว้ โดยที่ประเทศจีนได้วางแนวทางไว้ให้ อินเดียดินรอยตามแล้ว ประเทศจีนและอินเดียขยายความร่วมมือในกรอบกลุ่มประเทศ BRICS นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้พบกับนาย Narendra Modi นายกรัฐมนตรีประเทศอินเดีย เพื่อหาเรือเพื่อเปิดมุมมองใหม่ในการร่วมมือกับอินเดีย ซึ่งการร่วมมือของทั้งสองประเทศได้ขยายกว้างไป อย่างรวดเร็วมาก เช่น ในการลงทุนรถไฟความเร็วสูง สวนสาธารณะ และเมืองอัจฉริยะ(smart city)การ ร่วมมือด้านความมั่นคงในบริเวณชายแดน ประกอบกับจีนและอินเดียได้ลงทุนร่วมกันในแผนการพัฒนา ธนาคารเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย(AIIB) และธนาคารในกลุ่มประเทศBRICS ซึ่ง เป็นกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วได้แก่ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) จีน(China) และแอฟริกาใต้(South Africa) ภายใต้ชื่อ BRICS New Development Bank (NDB) นอกจากนี้ทั้งสองประเทศยังมีแผนการขยายความร่วมมือทั้งในทางด้านเศรษฐกิจและการค้าและ ให้ความสนใจในการเติบโตของด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยทางอินเดียเต็มใจที่จะเปิดรับการ ลงทุนจากประเทศจีน
  • 16. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES ในรอบเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน China Institute of International Stud- ies ได้นาเสนอประเด็นเคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่สาคัญด้วยกันดังนี้ ความกังวลของสหรัฐฯในโครงการธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank AIIB) เป็นกรอบแนวคิดที่ที่สาคัญสาหรับความริเริ่มของประเทศจีนในการผนวกรวมหลายภูมิภาคใน เอเชียเข้าด้วยกัน ซึ่งได้ร่วมมือกับตัวแทนธนาคารและกองทุนซึ่งเป็นสมาชิกจานวน 57 กองทุนใน ปักกิ่ง หลังจากประเทศในสหภาพยุโรปและประเทศในเอเชียได้สนับสนุนในการจัดตั้งธนาคารดังกล่าว ในอีกด้านหนึ่งสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นมหาอานาจเพียงหนึ่งเดียวและมีเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลกมี ความต้องการเข้าร่วมกับโครงการนี้หรือไม่ ตั้งแต่ประเทศจีนได้เป็นผู้นาในการจัดตั้งธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ซึ่งสหรัฐฯได้สนับสนุนในแนวคิดการจัดตั้งธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย แต่อย่างไรก็ตาม สหรัฐฯได้เป็นตัวแสดงหลักในการกดดันพันธมิตรประเทศต่างทั้งในคาบมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ประเทศพันธมิตรต่างๆพยายามที่จะผูกเข้ารวมกับความคิดริเริ่มของประเทศ ซึ่งในสายตาสหรัฐฯมอง ว่า “นี่เป็นการปรับตัวของประเทศจีนในอนาคต ซึ่งไม่ใช่ทางที่ดีที่สุดในการเป็นมหาอานาจ” ตามที่ได้กล่าวข้างต้นประเทศพันธมิตรของสหรัฐฯได้เข้าร่วมในการจัดตั้งธนาคารAIIB ในด้าน ท่าทีของสหรัฐฯ นาง Madeleine Albright ดารงตาแหน่ง former US Secretary of State ได้ออกมา กล่าวว่า “เป็นเสมือนความผิดพลาดของสหรัฐฯในการผูกมิตรกับประเทศเหล่าสมาชิกนั้น โดยที่ ประเทศเหล่านั้นได้เข้าร่วมแต่สหรัฐฯกลับไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง” นอกจากนี้ตั้งแต่ประเทศจีนได้มี บทบาทในสังคมระบบโลกทาให้บทบาทในด้านอานาจต่างๆของจีนมีมากขึ้นและส่งผลให้เกิดประเด็น ตึงเครียดในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประกอบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้แสดงความ คิดเห็นต่อจีนว่า จีนแสดงตนเป็น “Free rider” ในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในความเป็น จริงแล้วจีนพยายามจะผลักดันตัวเองให้เป็นตัวแสดงที่โดดเด่นและมีบทบาทในการรับผิดชอบต่อ ภูมิภาคและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาหลายปีแล้ว แต่เมื่อไม่นานมานี้จีนได้สร้างวิสัยทัศน์ใน การขับเคลื่อนด้วยตัวเอง ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) เป็นสถานบันที่ เชื่อมภูมิภาคและสามารถยกระดับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานได้
  • 17. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ตั้งแต่มีการลงนามในข้อตกลงธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ใน ด้านท่าทีของสหรัฐฯ นาย Mark C Toner ดารงตาแหน่ง US deputy spokesman ได้ออกมาให้ สัมภาษณ์ว่า “ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) เป็นองค์กรที่สามารถบริหาร จัดการได้ให้มีระดับมาตรฐานที่สูงและสะท้อนถึงการบริหารจัดการทางการเงินดังเช่นธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ” ส่วนท่าทีของประเทศจีนได้มีการปรับเปลี่ยนและค่อนข้างเปิดรับ ความคิดเห็นในการวิพากษ์วิจารณ์การจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ประกอบประเทศจีนได้ให้ความเชื่อมั่นว่าจะข้อดีในการปฏิบัติจากการจัดตั้งธนาคารดังกล่าว ในทางปฏิบัติแล้วผู้กาหนดนโยบายของสหรัฐฯมีท่าทีที่ให้สังคมโลกเล็งเห็นถึงการเสีย ผลประโยชน์หรือกล่าวอีกอย่างว่า ประเทศจีนจะได้รับผลประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว (Zero-sum situa- tion) ประกอบกับการจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) ได้ช่วยให้สหรัฐ ได้ผลประโยชน์ แต่อย่างไรก็ตามประเทศจีนได้ใช้ความเชื่อมั่นว่าโครงการธนาคารเพื่อการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) นั้นเป็นการสร้าง “ผลประโยชน์ให้กับทุกฝ่าย (win-win situa- tion)” และจะเป็นโครงการที่ประสบความสาเร็จที่ดีต่อภูมิภาคเอเชีย
  • 18. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง WHO South-East Asia Region. Managing contacts in the MERS-CoV outbreak in the Republic of Korea. ออนไลน์ : http://www.who.int/csr/disease/coronavirus_infections/ maps-epicurves/en Korea Development Research. KDI Monthly Economic Trends 2015. ออนไลน์: http:// www.kdi.re.kr/kdi_eng/database/pop_summary.jsp?pub_no=14195&type=3 Juan Machado. Kevin Rudd on CNBC: Don't Confuse the Chinese Stock Market with Overall Economy. ออนไลน์: http://asiasociety.org/blog/asia/kevin-rudd-cnbc-dont-confuse- chinese-stock-market-overall-economy Manoj Joshi. Central Asia: Modi trying to catch up with Xi? ออนไลน์: http://www.orfonline.org/ cms/sites/orfonline/modules/analysis/AnalysisDetail.html?cmaid=84982&mmacmaid =84983 Observer Research Foundation CHINA WEEKLY. Xi-Modi meeting on sidelines of BRICS-SCO summit. ออนไลน์: http://www.orfonline.org/cms/sites/orfonline/modules/
  • 19. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES) เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 20. 18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOP- MENT STRATEGIES) ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัด กิจกรรมต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เวที Think Tank ครั้งที่ 8 เรื่อง นโยบาย One Belt, One Road ของจีน เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคมที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติร่วมกับกระทรวง การต่างประเทศได้จัดเวทีเสวนาภายใต้หัวข้อเรื่อง นโยบาย One Belt, One Road ของจีน โดย ผู้เข้าร่วมประชุมแลกแลกเปลี่ยนประกอบด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ท่านทูต สมปอง สงวนบรรพ์ นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง และนายนพพร เทพสิทธรา โดยมีรายละเอียดดังนี้  แนวคิดเส้นทางสายไหมใหม่ “One Belt One Road” หรือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” เป็น โครงการของรัฐบาลจีนเพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) และสร้างความร่วมมือ (cooperation) โดยเฉพาะทางการค้าระหว่างจีนกับนานาประเทศในเอเชีย ตะวันออก กลาง และยุโรป  ทางรัฐบาลจีนได้เน้นย้าว่าข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One belt, One Road) เป็นสถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win Situation) ไม่ได้มีลักษณะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ (Zero-sum game)  โอกาสของประเทศไทยในการเข้าร่วมข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One Road) โอกาสด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โอกาสด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน  ข้อเสนอดังกล่าวนี้เรียกได้ว่าเป็น “มหาการทูตหรือมหาความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ” ที่สร้างยุทธศาสตร์ให้กับประเด็นนโยบายต่างประเทศ เพราะฉะนั้นประเทศ ไทยจึงต้องใช้ประโยชน์จาก “สมุทรานุภาพทางทะเล” และต้องพยายามก้าวขึ้นสู่ “มหาอานาจขนาดกลาง (middle power)” ในมิติเศรษฐกิจและการเจรจาเวทีระหว่าง ประเทศ
  • 21. 19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2. เวที Forum โจทย์วิจัย เรื่อง การพัฒนาคลังปัญญาใน 3 จังหวัดและโครงการวิจัยประเทศ อินโดนีเซีย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีพัฒนาโจทย์วิจัยเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ที่ ผ่านมา ซึ่งในเวทีการประชุมนักวิจัยได้นาเสนอโครงการวิจัยโดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย นายอัซฮาร์ สารีมะเจ๊ะ อดีตประธานสมาพันธ์นิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ใน การศึกษาถึงบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ผ่านมุมมองจากคนในพื้นที่ต่อการรับรู้บทบาทการช่วยเหลือของประเทศตุรกี 2. โครงการขับเคลื่อนคลังปัญญาในสามจังหวัดชายแดนใต้ โดย นายอัซฮาร์ สารีมะเจ๊ะ อดีตประธานสมาพันธ์นิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมและ สร้างองค์ความรู้ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายในสามจังหวัดชายแดนใต้ ผ่านการจัดเวทีระดมสมอง ในนามของคลังปัญญาปาตานี 3. โครงการวิจัยการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อานาจขนาดกลาง”: กรณีศึกษา ประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล โดย อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูตและ การต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบ นโยบายการต่างประเทศของอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล เพื่อนามาถอดบทเรียนและจัดทาเป็น แนวทางให้หน่วยงานต่างๆของประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการ กาหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของประเทศไทยสู่การเป็นประเทศที่มี “อานาจขนาดกลาง” ได้ 3. เวทีวิชาการครั้งที่ 5 เรื่อง เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสาเร็จ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีเสวนาใน หัวข้อเด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสาเร็จ โดยได้เชิญคุณอินทิรา เหล่า ธรรมทัศน์ และคุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์ นักเรียนชาวไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ใน ต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกมาร่วมเป็นวิทยากรแบ่งปัน ประสบการณ์และแลกเปลี่ยนความเห็นในการเสวนา ซึ่งหัวข้อในการบรรยายมีดังต่อไปนี้  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุก สร้างสรรค์และเข้าใจชีวิต  ประสบการณ์การทางานกับนักวิจัยชั้นนาในสถาบันวิทยาศาสตร์ระดับโลก  เคล็ดลับในการก้าวสู่การเป็นนักวิจัยในสถาบันวิจัยชั้นนาของโลก  การนาเสนอหัวข้อการวิจัยที่ทั้งสองท่านสนใจ ได้แก่ เรื่องความสาคัญของธาตุเหล็ก และเรื่อง นาฬิกาชีวิต พร้อมทั้งเสนอแนะวิธีการนาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 22. 20 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064