SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต
 ก่อนสงครามโลกครั้งที่2 มีนโยบายที่จะใกล้ชิดกับนโยบายของสหราชอาณาจักรและ
เครือจักรภพ
 เห็นทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ได้เข้ามารบในสมรภูมิเอเชียตะวันออก รวมทั้ง
การสร้างทางรถไฟสายมรณะที่แม่น้าแคว
 สงครามเย็น -มีส่วนร่วมกับเอเชียตะวันออกผ่านโครงสร้างระหว่างประเทศเช่น
สนธิสัญญาโคลัมโบ
 ร่วมใน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม สนธิสัญญาห้าชาติ (FPDA) สมาชิก
SEATO
 พ.ศ. 2495 (ค.ศ.1952) ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการ
ฑูตกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย
 ความสัมพันธ์กับไทย: ปี พ.ศ. 2500 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเยือน
ประเทศ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์
 1972 นิวซีแลนด์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูตกับประเทศจีน
 1975 ออสเตรเลียสถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูตกับประเทศจีน
 1988 นายกรัฐมนตรี บ็อบ ฮอร์ค ของออสเตรเลีย เป็นผู้นาในการก่อตั้ง
APEC โดยมีประเทศ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้ง
ร่วมกับประเทศสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา โดยมีประเทศร่วมก่อตั้งในเอเชีย
คือ ญี่ปุ่น บรูไน อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลลิปปินส์ สิงคโปร์ และ
ประเทศไทย
 ประเทศออสเตรเลียในช่วงก่อนวิกฤตได้เลือกให้ไทยและสิงคโปร์เป็นฐานบิน
ของสายการบินแควนตัส เพื่อเข้าสู่ยุโรป
 ประเทศนิวซีแลนด์เลือกประเทศสิงคโปร์เป็นฐานการคมนาคมของตนเองสู่
ประเทศต่างๆในเอเชีย
 ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ชะลอหรือถอนตัวในหลายๆธุรกิจ
 ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ตระหนักถึง Asian Century
 ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ก้าวพ้นวิกฤตแฮมเบอเกอร์จากการค้ากับเอเชีย
 “[i]n recent years people have been saying that the next
century will be the century of Asia and the Pacific, as if
that were sure to be the case.” (Deng Xiaoping, 1993)
 “Australia was destined to become the poor white
trash of Asia” (Lee Kuan Yew)
 “The West is now being out-produced, out-
manufactured, out-traded, and out-invested”, and
leading international companies admit that “the
majority of their growth will come from Asia” (Gordon
Brown, 2010)
 “ชาวตะวันออกกาลังรุกเข้าสู่ทุกวงการที่เคยเป็นอภิสิทธิ์หรือการผูกขาดของ
ชาวตะวันตก” (ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2011)
 “นวัตกรรมทางเทคโนโลยี นวัตกรรมทางวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา คือ
นวัตกรรมที่นาไปสู่ ศตวรรษของเอเชีย” (ราจาด แน็กซ์, 2011)
 “ประเทศจีนได้กลายเป็นโรงงานของโลก ในขณะที่อินเดียเป็นออฟฟิสของโลก
และ ฟิลลิปปินส์กาลังตามเป็นประชาสัมพันธ์โลก ดังนั้นเอเชียต้องให้
ความสาคัญด้านการศึกษา เพราะการศึกษาแบบตะวันตกออกแบบมาเพื่อคนที่
มีแนวคิดทางตะวันตก แต่ถ้านามาบูรณาการกับเอเชีย เราจะพบว่าชาวเอเชีย
จานวนมากทาได้ดีกว่าชาวตะวันตกเสียอีก“ (คิซอร์ มาบูบานี, 2014)
 กรอบความสัมพันธ์ดั้งเดิม
 นโยบายต่างประเทศของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย
 นโยบายความมั่นคงของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย
 นโยบายเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย
 บูรพาภิวัฒน์และนวัตกรรมเอเชียและผลกระทบต่อออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
 สภาวะการเปลี่ยนแปลงทางประชากรเมือง/การเติบโตของเมือง
 นวัตกรรมการศึกษา
 นวัตกรรมการเกษตรและทรัพยากร
 เอกสารราชการออสเตรเลีย: นายกรัฐมนตรี จูเลีย จิลลาร์ด
 Australia in the Asian Century
 เอกสารราชการนิวซีแลนด์: นายกรัฐมนตรี เฮเลน คล้ากส์
 Our Future with Asia
 ข้อมูลทางสถิติ
 ตาแหน่งของข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศออสเตรเลีย
 42% ในทวีปเอเชีย ยุโรป 16% ตะวันออกกลางและแอฟริกา 14% อเมริกา 11%
นิวซีแลนด์และแปซิฟิกใต้ 10% อื่นๆ 7%
 สถานเอกอัครราชฑูตหรือข้าหลวงใหญ่ออสเตรเลียในเอเชีย 20 ประเทศ
 บังคลาเทศ บรูไน พม่า กัมพูชา จีน ติมอร์ตะวันออก อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ลาว
มาเลเซีย เนปาล ปากีสถาน ฟิลลิปปินส์ สิงคโปร์ ศรีลังกา ไต้หวัน ไทย และ เวียดนาม
 สถานกงสุลออสเตรเลีย 17 แห่ง
 ประเทศจีน 4 แห่งคือ เซี่ยงไฮ้ กวางเจา ฮ่องกง และ เฉิงตู
 ประเทศอินเดีย 2 แห่งคือ มุมไบ กับ เชนไน
 ประเทศอินโดนีเซีย 1 แห่งที่ เกาะบาหลี
 ประเทศญี่ปุ่น 3 แห่งคือ โอซาก้า ฟุกุโอกะ และ ซัปโปโร
 ประเทศเกาหลีใต้ 1 แห่งที่ บูซาน
 ประเทศมาเลเซีย 3 แห่งที่ ปีนัง คูชิง และ โคตาคินาบารู
 ประเทศไทย 2 แห่ง ที่ เชียงใหม่ และ เกาะสมุย
 ประเทศเวียดนาม 1 แห่ง ที่ โฮจิมินส์ ซิตี้
 สถานเอกอัครราชฑูตหรือกงสุลใหญ่นิวซีแลนด์ในเอเชีย 16 ประเทศ
 อัฟกานิสถาน บรูไน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย พม่า ปากีสถาน ฟิลลิปปินส์
สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ไทย ติมอร์ตะวันออก และ เวียดนาม
 สถานกงสุลนิวซีแลนด์ 11 แห่ง
 ประเทศจีน 4 แห่งคือ เซี่ยงไฮ้ กวางเจา ฮ่องกง และ เฉิงตู
 ประเทศอินเดีย 3 แห่งคือ มุมไบ และ เชนไน
 ประเทศญี่ปุ่น 4 แห่งคือ โอซาก้า นาโกย่า ฟุกุโอกะ และ ซัปโปโร
 ออสเตรเลียมุ่งเน้นความสาคัญทางความมั่นคงให้กับประเทศสหรัฐอเมริกา
เนื่องจากฉันทามติจากประชาชนออสเตรเลียโดยมากมีความเชื่อมั่นในทัศนคติ
ของประเทศโลกเสรีโดยเฉพาะวัฒนธรรม ประชาธิปไตย และที่สาคัญที่สุดคือ
เครือข่ายข่าวกรองที่มีความร่วมมือมาเป็นระยะเวลานาน
 ได้สร้างเครือข่ายข่าวกรองเรียกว่า Five Eyes Countries โดยมีภาคี
คือ CIA ของสหรัฐอเมริกา, MI6 ของสหราชอาณาจักร, ASIS ของ
ออสเตรเลีย, CSIS/SCRS ของแคนาดา, และ SIS ของนิวซีแลนด์
 ออสเตรเลียมีกาลังพลทั้งสิ้น 56,922 นาย
 กองทัพบก 29,010 นาย
 ทหารอากาศ 13,991 นาย
 ทหารเรือ 13,921 นาย
 งบประมาณเป็น 1.8% ของ GDP
 29,222,800,000 ดอลล่าห์สหรัฐ ซึ่งสูงเป็นอันดับที่ 13 ของโลก
 รถถังหนัก M1A1 Abrams 59 คัน
 รถถัง M113 431 คัน
 รถหุ้มเกราะต่อเอง ASLAV 253 คัน
 รถหุ้มเกราะเบาต่อเองรุ่น Bushmaster จานวน 737 คัน + กาลังผลิต
เพิ่มอีก 119 คัน
 ปืนไรเฟิลในการรบรุ่น F88 ผลิตโดยออสเตรเลียเอง
 Lockheed Martin F-35 Lighting II Stealth ประจาการ
แล้ว2ลา+รอจัดส่งอีก 70 ลา
 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเลือกญี่ปุ่นและออสเตรเลียเป็นฐานซ่อมบารุง F35
 Mc Donell Douglas F-18 Hornet / Super
Hornet/ Growler 106 ลา
 Boeing C17A Globemaster 6 ลา + รอการส่งมอบอีก 8 ลา
 เรือรบฟริเกตผลิตเองรุ่นแอนแซก 8 ลา
 เรือรบต่อเองโดยอาศัยเทคโนโลยีของเรือฟริเกตรุ่น Oliver Hazard
Perry ของสหรัฐอเมริกา โดยเรียกว่ารุ่น Adelaide จานวน 4 ลา
 เรือดาน้ารุ่น Collins ซึ่งมาจากเทคโนโลยีของเรือดาน้าสวีเดน ค้อคคูม
ไทป์471 จานวน 6 ลา และมีแผนหาเรือดาน้ารุ่นใหม่กว่าหรือพัฒนารุ่นใหม่อีก
12ลา
 เรือขนเฮลิคอปเตอร์รุ่นแคนเบอร่า 1 ลาและกาลังผลิตอยู่อีก1ลา
 จีน: แยกตนเองออกจากความขัดแย้งที่น่าจะเป็นระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา โดยที่จะพยายาม
หลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับประเทศจีน
 มาเลเซียกับสิงคโปร์: ออสเตรเลียยังคงดาเนินการตามพันธมิตรห้าชาติและความร่วมมือทาง
การทหาร
 ฟิลลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย: ออสเตรเลียได้ทาการฝึกร่วมการต่อต้านก่อการร้ายกับประเทศฟิล
ลิปปินส์ และพิจารณาความร่วมมือกับอินโดนีเซียให้มากกว่าความร่วมมือทางการทหาร
 พม่าและเวียดนาม: เป็นประเทศที่อยู่ในกรอบการเพิ่มความร่วมมือ
 เกาหลีใต้ได้มีความร่วมมือกับออสเตรเลียในระดับที่ดีมาก
 ญี่ปุ่น: ร่วมมือทางกองทัพกับกองกาลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นโดยเฉพาะกรอบการปฎิบัติการ
สันติภาพร่วมกัน และความร่วมมือในการถ่ายโอนเทคโนโลยีทางการทหารและการผลิตอาวุธร่วมกัน
เช่นการร่วมเทคโนโลยี F35 หรือ เรือดาน้า เซริว
 ไทย: ความร่วมมือ การซ้อมรบ และ การปฎิบัติการร่วมกับประเทศไทยอย่างใกล้ชิดจนกระทั่งถึงการ
รัฐประหารโดยพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ซึ่งทาให้หยุดชะงักไปเป็นการชั่วคราว
 กาลังพลทั้งสิ้น 9,673 นาย
 กองทัพบก 4,905 นาย
 กองทัพเรือ 2,161 นาย
 กองทัพอากาศ 2,607 นาย
 งบประมาณที่ 1,870,000,000 ดอลล่าห์สหรัฐคิดเป็นอันดับที่ 66 ของ
 ประเทศนิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ว่าจ้างพลเรือนในการทางานธุรการให้กองทัพโดยไม่มียศ
ทหารให้ โดยแบ่งเป็น
 ไม่มีอาวุธหนักในกองทัพบก
 รถหุ้มเกราะ LAV ที่ผลิตโดยแคนาดา ประมาณ100คัน
 รถขนทหารจากออสเตรียแบบหุ้มเกราะและไม่หุ้มเกราะรวมกันประมาณ300คัน
 ปีนไรเฟิล F88 ผลิตโดยออสเตรเลีย
 ไม่มีเครื่องบินรบ เนื่องจากอดีตนายกรัฐมนตรีเฮเลน คล้าก วางนโยบายให้
กองทัพอากาศมีบทบาททางด้านกู้ภัย มากกว่าทาการรบ
 เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยจานวน 31 ลา
 เฮลิคอปเตอร์รบทางทะเล 5 ลา
 เครื่องบินลาเลียงพลแบบ Hercules C-130 จานวน 5 ลา
 เครื่องบินตรวจการ 3 ลา
 เรือรบฟริเกตชั้นแอนแซกของออสเตรเลีย 2 ลา
 เรือรบเอนกประสงค์เพื่อใช้ในการกู้ภัยและบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ 2 ลาโดยต่อที่
ฮอลแลนด์และเกาหลี
 เรือลาดตระเวนระยะไกลต่อโดยออสเตรเลีย2ลา
 เรือตรวจชายฝั่งต่อที่นิวซีแลนด์เองอีก4ลา
 นโยบายทางเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ต่างชี้ชัดว่ากาลังมุ่งเข้าสู่
การเป็นส่วนหนึ่งในเอเชีย แม้จะใช้ศัพท์ที่ผิดกัน แต่ทั้งสองชาติได้สื่อ
ความหมายตรงกันว่ากระแสบูรพาภิวัฒน์ หรือ ที่ออสเตรเลียใช้อย่างเปิดเผยว่า
ศตวรรษของเอเชีย นั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้
 รัฐบาลออสเตรเลีย ประมาณการใน Australia in the Asian
Century ว่าในปี ค.ศ. 2025 กระแสศตวรรษของเอเชียจะสมบูรณ์และจะ
เปลี่ยนเศรษฐกิจโลก โดยการเติบโตของการค้ากับเอเชียโดยรวมนั้นเพิ่มขึ้นใน
ขณะที่ประเทศตะวันตกต่างถดถอยอย่างเห็นได้ชัด
 รัฐบาลนิวซีแลนด์ ประมาณการใน Our Future with Asia ว่า
กระแสบูรพาภิวัฒน์จะสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2035
 ประเทศจีนมีการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรกับออสเตรเลียจากปีละ 800
ล้านดอลล่าห์ออสเตรเลียในปี 1990 ไปสู่ 2,500ล้านดอลล่าห์ในปี 2000 และ
ในปี 2010 มียอดซื้อขายที่ 4,800 ล้านดอลล่าห์
 อาเซี่ยนมียอดในปี 1990 ที่ 1,400 ล้านดอลล่าห์ กลับมียอด 7,000 ล้านดอล
ล่าห์ในปี 2010
 ญี่ปุ่นเพิ่มจาก 3,000 ล้านดอลล่าห์ในปี 1990 ไปสู่ 4,100 ล้านดอลล่าห์ในปี
2010
 จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ
ไทย โดยชี้มูลค่านาเข้าเพิ่มจากเดิม 4,000 ล้านดอลล่าห์นิวซีแลนด์ในปี 1990
ไปสู่15,000 ล้านดอลล่าห์นิวซีแลนด์ในปี 2005
 ยอดส่งออกเพิ่มจาก 4,100 ดอลล่าห์ในปี 1990 ไปสู่ 9,500 ล้านดอลล่าห์ใน
ปี 2005 (หน้า33)
 จานวนนักท่องเที่ยวจากจีนเพิ่มจาก 84,368 คน ไปสู่ 258,570 คนใน
ระยะเวลา 10ปี
 นักท่องเที่ยวอินเดียเพิ่มจาก 15,694 ไปที่ 42,790 คน
 รัฐบาลออสเตรเลียจะแสดงความไม่พอใจเกี่ยวกับการที่มีชาวออสเตรเลียมาตั้งรกรากในเอเชีย ในขณะที่
นิวซีแลนด์จะยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้น แต่สิ่งที่เราไม่สามารถปฎิเสธได้คือจานวนของชาวออสเตรเลียและ
นิวซีแลนด์ที่เพิ่มขึ้น
 การขยายตัวของธุรกิจข้ามชาติ เช่น ธนาคารออสเตรเลียนิวซีแลนด์ หรือ เอเอนแซด (Australia New
Zealand Bank: ANZ Bank) ได้กลายมาเป็นธนาคารพาณิชย์หลักในประเทศลาว
 บริษัทประกันนิวซีแลนด์ (New Zealand Insurance: NZI) หรือ บริษัทประกันออสเตรเลีย
(Australia Mutual Insurance: AMI) ได้เข้ามาลงทุนในเอเชีย ส่งผลต่อการมีบุคลากร
ต่างชาติ expat มายังเอเชียมากขึ้น
 โปรแกรม JET ของประเทศญี่ปุ่นยังคงเป็นแม่เหล็กในการดึงดูดชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ให้ไปทางาน
 การเจริญเติบโตของเอเชียยังดึงเอาบุคลากรจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ที่ทางานให้กับบริษัทข้ามชาติเช่น
Price Waterhouse Cooper หรือ
 การเข้ามาตั้งสานักงานกฎหมายหรือทางานให้กับสานักงานกฎหมายข้ามชาติ
 การเข้ามาของโรงแรมเครือนานาชาติที่ทาให้มีการโอนย้ายบุคลากรของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มาสู่เอเชีย
เช่น โรงแรมเครือ Parkroyal หรือ Rydges ของออสเตรเลีย รวมทั้งโรงแรมเครือต่างชาติหรือแม้แต่
เครือในประเทศที่เล็งเห็นความสาคัญในการว่าจ้างผู้บริหารจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
 ดาร์วิน
 เมืองขนาดเล็กและมีประชากรเพียง 86,415 คนในปี 1991 มีอัตราการเจริญเติบโตเกือบ
100% ในช่วง25ปี โดยปัจจุบันมีประชากรอยู่ที่ 146,400คน
 โดยมีสัดส่วนประชากรเอเชียที่ย้ายมาตั้งรกรากอยู่ที่ 7,677 คน
 เพิร์ธ
 เจริญเติบโตจาก 1,226,115 คนในปี 1991 ไปสู่ 1,972,358 คนในปัจจุบัน
 มีชาวเอเชีย 79,299 คนที่ย้ายมาตั้งรกราก
 บริสเบน
 มีชาวเอเชียมาตั้งรกรากที่ 90,646 คน
 เมลเบิร์น
 มีประชากรเอเชีย 264,591 คน
 ซิดนี่ย์
 มีชาวเอเชียมาตั้งรกรากถึง 465,352 นับเป็น10% ของประชากรทั้งหมด
 โอ้คแลนด์
 ประชากรเพิ่มขึ้นจาก 750,000 คนในปี 1993 ไปสู่ 1,415,550 คนในปี 2013
 ประชากรเอเชียได้เพิ่มจาก 151,644 คนในปี 2001 เป็น 307,233 คนในปี 2013 ทา
ให้ชาวเอเชียมีสัดส่วน 21.7%
 ไครส์เชิร์ช
 มีสัดส่วนประชากรเอเชียที่ 7.9%
 ผลต่อผลกระทบของวัฒนธรรมเอเชียในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เช่นการ
ขยายตัวของ Chinatown, Little India, Thaitown
 พฤติกรรมการบริโภคเช่นการเกิดขึ้นของอาหารเอเชียเช่นร้านอาหารญี่ปุ่น ไทย จีน
หรือแม้แต่แผลซูชิตามศูนย์การค้าในนิวซีแลนด์หรือร้านติ๋มซ่าในศูนย์การค้าของ
ออสเตรเลีย
 ธุรกิจค้าปลีกซึ่งอยู่ในกลุ่มคนอินเดีย
 วิวัฒนาการของการบริโภคอาหารประจาชาติอย่าง Fish and Chips ซึ่ง
โดยมากมีชาวจีนเป็นเจ้าของกิจการและได้นาอาหารจีนมาเป็นเมนูหลักเช่นกัน
 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลถึงอุตสาหกรรมบันเทิงซึ่งเพิ่มบทบาทของชาวเอเชีย
เท่าๆกับการยอมรับและการมียอดขายภาพยนต์และรายการทีวีของเอเชียในประเทศ
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เอง
 ความสาคัญที่เพิ่มขึ้นของสมาคมชาวจีนโพ้นทะเลหรือ Overseas Chinese
 สัดส่วนของนักศึกษาต่างชาติเพิ่มขึ้นจากเอเชีย
 การเปิดรับนักศึกษาทุนส่วนตัวของมหาวิทยาลัยรรัฐ ในออสเตรเลียและ
นิวซีแลนด์ เช่น มหาวิทยาลัยซิดนี่ย์ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัย
แห่งชาติออสเตรเลีย มหาวิทยาลัยโอ้กแลนด์ หรือมหาวิทยาลัยแคนเทอเบอรี่
 การเติบโตของสถาบันเอกชนจานวนมาก เช่น มหาวิทยาลัยเดียร์กิน
 โรงเรียนมัธยมศึกษาของทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ที่ได้ทาการรับนักศึกษา
ต่างชาติเพื่อเป็นรายได้หลักของสถาบัน
 การเกิดขึ้นของสถาบันภาษามากมาย
 รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้ประกาศว่าการศึกษาเป็นรายได้อันดับ2 ของประเทศ
 รัฐบาลออสเตรเลียเองก็เล็งเห็นในปัจจัยเดียวกัน การเข้ามาของนักศึกษาเอเชีย
ไม่ได้ส่งผลให้เกิดเพียงรายได้เท่านั้น แต่ยังส่งผลให้เกิดความร่วมมือระหว่าง
สถาบันรวมทั้งการลงทุนของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในต่างประเทศ เช่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเมลเบิร์น (RMIT) ได้ทาการเปิดวิทยาเขตใน
ประเทศอินโดนีเซีย มหาวิทยาลัยแมสซี่ (Massey University) ได้
ทาความร่วมมือกับจีน ที่เมือง วูฮั่น มหาวิทยาลัยวิคตอเรีย ได้เปิดวิทยาเขตที่
เมือง โฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม
 ความร่วมมือระดับโรงเรียนมัธยมศึกษา เช่นการทา MoU ของจังหวัดระยอง
กับ เมืองไครส์เชิร์ช
 รัฐบาลนิวซีแลนด์มีนโยบาย Becoming more Asia literate
โดยเพิ่มศักยภาพทางภาษาให้ชาวนิวซีแลนด์ รวมทั้งให้ความสาคัญและให้
สื่อมวลชนสนับสนุนโครงการ Asian Culture in New
Zealand เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของชาวนิวซีแลนด์ ต่อเอเชีย
 รัฐบาลออสเตรเลีย ใช้คาว่า Asia-literacy in schools เพื่อเสริม
ศักยภาพของชาวออสเตรเลียทางวัฒนธรรมเอเชีย
 ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ทาการวิจัยพืชและสัตว์ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาของ
ไทยอาทิเช่นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ทาความร่วมมือรวมทั้งส่งอาจารย์สายการเกษตร
ให้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยลินคอนห์ หรือมหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาสารคามที่ทาความ
ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแมสซี่เพื่อเรียนรู้ด้านการเกษตร
 สายนวัตกรรมเกษตรอื่นๆเช่น ธุรกิจการเกษตร (Agrobusiness) ได้มาเป็นสายงาน
ที่ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ทาความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย ความร่วมมือในกรอบ
ดังกล่าวยังรวมถึงการให้ทุนการศึกษากับประเทศในเอเชียเพื่อเรียนรู้ด้านการเกษตร ป่าไม้
และ ทรัพยากร
 การออกวีซ่าให้นักเรียนในส่วนของอาชีวเกษตรและอุดมศึกษาได้ทางาน หรือ ฝึกงานใน
อุตสาหกรรมเกษตรของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
 การขาดแคลนคนในภาคเกษตรยังทาให้เกิดความต้องการของคนทางานในสายงาน
เกษตรกรรมเช่น ไร่องุ่น หรือ ปศุสัตว์ ทาให้มีการเปิดวีซ่าทางานเกษตรแบบ Seasonal
ขึ้น
 ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เองต่างยอมรับกระแสที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ปฎิเสธถึงบูรพาภิวัฒน์
แม้จะไม่ได้ใช้คาว่า Easternization แต่การใช้คาว่า ศตวรรษของเอเชีย (Asian
Century) ก็ถือเป็นการยอมรับอย่างไม่ปฎิเสธกระแสบูรพาภิวัฒน์
 ในมิติความมั่นคงจะยังคงเป็นไปตามกลไกของโลกตะวันตก แต่การฑูต การค้า นวัตกรรม
เมืองและวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา หรือ แม้แต่นวัตกรรมการเกษตร ต่างเป็นไปตาม
กลไกที่เข้าสู่กระแสบูรพาภิวัฒน์
 ปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่ว่าเมื่อไรกระแสบูรพาภิวัฒน์จะมีบทบาทอย่างเต็มรูปแบบ การเกิดขึ้น
ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยนหรือ AEC ต่างอยู่ในการจับตามองของออสเตรเลียและ
นิวซีแลนด์ รวมทั้งการเข้าร่วม ARF หรือ East Asian Summit ต่างบ่งบอกถึง
ความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมในกระแสบูรพาภิวัฒน์
 ประเทศจีนประกาศว่าจะเป็นโรงงานของโลก ประเทศอินเดียและฟิลลิปปินส์จะเป็นออฟฟิส
ของโลก ประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่นจะเป็นผู้นาเทคโนโลยีของโลก ประเทศสิงคโปร์จะเป็น
ท่าเรือโลก แล้ว ประเทศไทยของเราจะไปในทิศทางใด
 ประเทษไทยในทศวรรษหน้ามีจุดแข็งที่ ภูมิวัฒนธรรม (ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์)

More Related Content

Viewers also liked

องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมืองผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมืองFURD_RSU
 
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...stevosauruss
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9TK Tof
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesSettapong Malisuwan
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong Malisuwan
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตFURD_RSU
 
The Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetThe Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetDavin Skonberg
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0Settapong Malisuwan
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมืองThammawat INTACHAKRA
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 

Viewers also liked (20)

องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
องค์กรอัฉริยะ: มุมมองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ [Organization intelligence]
 
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมืองผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง
ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง
 
Next Economy
Next Economy Next Economy
Next Economy
 
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...
Economic Development in the Next Economy: Charting a New Path to Growth and P...
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
 
Presentation on BI & HR Mgt
Presentation on BI & HR MgtPresentation on BI & HR Mgt
Presentation on BI & HR Mgt
 
Global technology outlook
Global technology outlookGlobal technology outlook
Global technology outlook
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
Employment 4.0 4 pub
Employment 4.0 4 pubEmployment 4.0 4 pub
Employment 4.0 4 pub
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
The Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetThe Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur Mindset
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
4A's Agency2020 Report
4A's Agency2020 Report4A's Agency2020 Report
4A's Agency2020 Report
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในกระ

  • 2.  ก่อนสงครามโลกครั้งที่2 มีนโยบายที่จะใกล้ชิดกับนโยบายของสหราชอาณาจักรและ เครือจักรภพ  เห็นทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ได้เข้ามารบในสมรภูมิเอเชียตะวันออก รวมทั้ง การสร้างทางรถไฟสายมรณะที่แม่น้าแคว  สงครามเย็น -มีส่วนร่วมกับเอเชียตะวันออกผ่านโครงสร้างระหว่างประเทศเช่น สนธิสัญญาโคลัมโบ  ร่วมใน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม สนธิสัญญาห้าชาติ (FPDA) สมาชิก SEATO  พ.ศ. 2495 (ค.ศ.1952) ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการ ฑูตกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย  ความสัมพันธ์กับไทย: ปี พ.ศ. 2500 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเยือน ประเทศ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์
  • 3.  1972 นิวซีแลนด์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูตกับประเทศจีน  1975 ออสเตรเลียสถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูตกับประเทศจีน  1988 นายกรัฐมนตรี บ็อบ ฮอร์ค ของออสเตรเลีย เป็นผู้นาในการก่อตั้ง APEC โดยมีประเทศ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้ง ร่วมกับประเทศสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา โดยมีประเทศร่วมก่อตั้งในเอเชีย คือ ญี่ปุ่น บรูไน อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลลิปปินส์ สิงคโปร์ และ ประเทศไทย  ประเทศออสเตรเลียในช่วงก่อนวิกฤตได้เลือกให้ไทยและสิงคโปร์เป็นฐานบิน ของสายการบินแควนตัส เพื่อเข้าสู่ยุโรป  ประเทศนิวซีแลนด์เลือกประเทศสิงคโปร์เป็นฐานการคมนาคมของตนเองสู่ ประเทศต่างๆในเอเชีย
  • 4.  ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ชะลอหรือถอนตัวในหลายๆธุรกิจ  ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ตระหนักถึง Asian Century  ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ก้าวพ้นวิกฤตแฮมเบอเกอร์จากการค้ากับเอเชีย
  • 5.  “[i]n recent years people have been saying that the next century will be the century of Asia and the Pacific, as if that were sure to be the case.” (Deng Xiaoping, 1993)  “Australia was destined to become the poor white trash of Asia” (Lee Kuan Yew)  “The West is now being out-produced, out- manufactured, out-traded, and out-invested”, and leading international companies admit that “the majority of their growth will come from Asia” (Gordon Brown, 2010)
  • 6.  “ชาวตะวันออกกาลังรุกเข้าสู่ทุกวงการที่เคยเป็นอภิสิทธิ์หรือการผูกขาดของ ชาวตะวันตก” (ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2011)  “นวัตกรรมทางเทคโนโลยี นวัตกรรมทางวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา คือ นวัตกรรมที่นาไปสู่ ศตวรรษของเอเชีย” (ราจาด แน็กซ์, 2011)  “ประเทศจีนได้กลายเป็นโรงงานของโลก ในขณะที่อินเดียเป็นออฟฟิสของโลก และ ฟิลลิปปินส์กาลังตามเป็นประชาสัมพันธ์โลก ดังนั้นเอเชียต้องให้ ความสาคัญด้านการศึกษา เพราะการศึกษาแบบตะวันตกออกแบบมาเพื่อคนที่ มีแนวคิดทางตะวันตก แต่ถ้านามาบูรณาการกับเอเชีย เราจะพบว่าชาวเอเชีย จานวนมากทาได้ดีกว่าชาวตะวันตกเสียอีก“ (คิซอร์ มาบูบานี, 2014)
  • 7.  กรอบความสัมพันธ์ดั้งเดิม  นโยบายต่างประเทศของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย  นโยบายความมั่นคงของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย  นโยบายเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ต่อเอเชีย  บูรพาภิวัฒน์และนวัตกรรมเอเชียและผลกระทบต่อออสเตรเลียและนิวซีแลนด์  สภาวะการเปลี่ยนแปลงทางประชากรเมือง/การเติบโตของเมือง  นวัตกรรมการศึกษา  นวัตกรรมการเกษตรและทรัพยากร
  • 8.  เอกสารราชการออสเตรเลีย: นายกรัฐมนตรี จูเลีย จิลลาร์ด  Australia in the Asian Century  เอกสารราชการนิวซีแลนด์: นายกรัฐมนตรี เฮเลน คล้ากส์  Our Future with Asia  ข้อมูลทางสถิติ  ตาแหน่งของข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศออสเตรเลีย  42% ในทวีปเอเชีย ยุโรป 16% ตะวันออกกลางและแอฟริกา 14% อเมริกา 11% นิวซีแลนด์และแปซิฟิกใต้ 10% อื่นๆ 7%
  • 9.  สถานเอกอัครราชฑูตหรือข้าหลวงใหญ่ออสเตรเลียในเอเชีย 20 ประเทศ  บังคลาเทศ บรูไน พม่า กัมพูชา จีน ติมอร์ตะวันออก อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ลาว มาเลเซีย เนปาล ปากีสถาน ฟิลลิปปินส์ สิงคโปร์ ศรีลังกา ไต้หวัน ไทย และ เวียดนาม  สถานกงสุลออสเตรเลีย 17 แห่ง  ประเทศจีน 4 แห่งคือ เซี่ยงไฮ้ กวางเจา ฮ่องกง และ เฉิงตู  ประเทศอินเดีย 2 แห่งคือ มุมไบ กับ เชนไน  ประเทศอินโดนีเซีย 1 แห่งที่ เกาะบาหลี  ประเทศญี่ปุ่น 3 แห่งคือ โอซาก้า ฟุกุโอกะ และ ซัปโปโร  ประเทศเกาหลีใต้ 1 แห่งที่ บูซาน  ประเทศมาเลเซีย 3 แห่งที่ ปีนัง คูชิง และ โคตาคินาบารู  ประเทศไทย 2 แห่ง ที่ เชียงใหม่ และ เกาะสมุย  ประเทศเวียดนาม 1 แห่ง ที่ โฮจิมินส์ ซิตี้
  • 10.  สถานเอกอัครราชฑูตหรือกงสุลใหญ่นิวซีแลนด์ในเอเชีย 16 ประเทศ  อัฟกานิสถาน บรูไน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย พม่า ปากีสถาน ฟิลลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ไทย ติมอร์ตะวันออก และ เวียดนาม  สถานกงสุลนิวซีแลนด์ 11 แห่ง  ประเทศจีน 4 แห่งคือ เซี่ยงไฮ้ กวางเจา ฮ่องกง และ เฉิงตู  ประเทศอินเดีย 3 แห่งคือ มุมไบ และ เชนไน  ประเทศญี่ปุ่น 4 แห่งคือ โอซาก้า นาโกย่า ฟุกุโอกะ และ ซัปโปโร
  • 11.  ออสเตรเลียมุ่งเน้นความสาคัญทางความมั่นคงให้กับประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากฉันทามติจากประชาชนออสเตรเลียโดยมากมีความเชื่อมั่นในทัศนคติ ของประเทศโลกเสรีโดยเฉพาะวัฒนธรรม ประชาธิปไตย และที่สาคัญที่สุดคือ เครือข่ายข่าวกรองที่มีความร่วมมือมาเป็นระยะเวลานาน  ได้สร้างเครือข่ายข่าวกรองเรียกว่า Five Eyes Countries โดยมีภาคี คือ CIA ของสหรัฐอเมริกา, MI6 ของสหราชอาณาจักร, ASIS ของ ออสเตรเลีย, CSIS/SCRS ของแคนาดา, และ SIS ของนิวซีแลนด์
  • 12.  ออสเตรเลียมีกาลังพลทั้งสิ้น 56,922 นาย  กองทัพบก 29,010 นาย  ทหารอากาศ 13,991 นาย  ทหารเรือ 13,921 นาย  งบประมาณเป็น 1.8% ของ GDP  29,222,800,000 ดอลล่าห์สหรัฐ ซึ่งสูงเป็นอันดับที่ 13 ของโลก
  • 13.  รถถังหนัก M1A1 Abrams 59 คัน  รถถัง M113 431 คัน  รถหุ้มเกราะต่อเอง ASLAV 253 คัน  รถหุ้มเกราะเบาต่อเองรุ่น Bushmaster จานวน 737 คัน + กาลังผลิต เพิ่มอีก 119 คัน  ปืนไรเฟิลในการรบรุ่น F88 ผลิตโดยออสเตรเลียเอง
  • 14.  Lockheed Martin F-35 Lighting II Stealth ประจาการ แล้ว2ลา+รอจัดส่งอีก 70 ลา  รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเลือกญี่ปุ่นและออสเตรเลียเป็นฐานซ่อมบารุง F35  Mc Donell Douglas F-18 Hornet / Super Hornet/ Growler 106 ลา  Boeing C17A Globemaster 6 ลา + รอการส่งมอบอีก 8 ลา
  • 15.  เรือรบฟริเกตผลิตเองรุ่นแอนแซก 8 ลา  เรือรบต่อเองโดยอาศัยเทคโนโลยีของเรือฟริเกตรุ่น Oliver Hazard Perry ของสหรัฐอเมริกา โดยเรียกว่ารุ่น Adelaide จานวน 4 ลา  เรือดาน้ารุ่น Collins ซึ่งมาจากเทคโนโลยีของเรือดาน้าสวีเดน ค้อคคูม ไทป์471 จานวน 6 ลา และมีแผนหาเรือดาน้ารุ่นใหม่กว่าหรือพัฒนารุ่นใหม่อีก 12ลา  เรือขนเฮลิคอปเตอร์รุ่นแคนเบอร่า 1 ลาและกาลังผลิตอยู่อีก1ลา
  • 16.  จีน: แยกตนเองออกจากความขัดแย้งที่น่าจะเป็นระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา โดยที่จะพยายาม หลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับประเทศจีน  มาเลเซียกับสิงคโปร์: ออสเตรเลียยังคงดาเนินการตามพันธมิตรห้าชาติและความร่วมมือทาง การทหาร  ฟิลลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย: ออสเตรเลียได้ทาการฝึกร่วมการต่อต้านก่อการร้ายกับประเทศฟิล ลิปปินส์ และพิจารณาความร่วมมือกับอินโดนีเซียให้มากกว่าความร่วมมือทางการทหาร  พม่าและเวียดนาม: เป็นประเทศที่อยู่ในกรอบการเพิ่มความร่วมมือ  เกาหลีใต้ได้มีความร่วมมือกับออสเตรเลียในระดับที่ดีมาก  ญี่ปุ่น: ร่วมมือทางกองทัพกับกองกาลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นโดยเฉพาะกรอบการปฎิบัติการ สันติภาพร่วมกัน และความร่วมมือในการถ่ายโอนเทคโนโลยีทางการทหารและการผลิตอาวุธร่วมกัน เช่นการร่วมเทคโนโลยี F35 หรือ เรือดาน้า เซริว  ไทย: ความร่วมมือ การซ้อมรบ และ การปฎิบัติการร่วมกับประเทศไทยอย่างใกล้ชิดจนกระทั่งถึงการ รัฐประหารโดยพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ซึ่งทาให้หยุดชะงักไปเป็นการชั่วคราว
  • 17.  กาลังพลทั้งสิ้น 9,673 นาย  กองทัพบก 4,905 นาย  กองทัพเรือ 2,161 นาย  กองทัพอากาศ 2,607 นาย  งบประมาณที่ 1,870,000,000 ดอลล่าห์สหรัฐคิดเป็นอันดับที่ 66 ของ  ประเทศนิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ว่าจ้างพลเรือนในการทางานธุรการให้กองทัพโดยไม่มียศ ทหารให้ โดยแบ่งเป็น
  • 18.  ไม่มีอาวุธหนักในกองทัพบก  รถหุ้มเกราะ LAV ที่ผลิตโดยแคนาดา ประมาณ100คัน  รถขนทหารจากออสเตรียแบบหุ้มเกราะและไม่หุ้มเกราะรวมกันประมาณ300คัน  ปีนไรเฟิล F88 ผลิตโดยออสเตรเลีย
  • 19.  ไม่มีเครื่องบินรบ เนื่องจากอดีตนายกรัฐมนตรีเฮเลน คล้าก วางนโยบายให้ กองทัพอากาศมีบทบาททางด้านกู้ภัย มากกว่าทาการรบ  เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยจานวน 31 ลา  เฮลิคอปเตอร์รบทางทะเล 5 ลา  เครื่องบินลาเลียงพลแบบ Hercules C-130 จานวน 5 ลา  เครื่องบินตรวจการ 3 ลา
  • 20.  เรือรบฟริเกตชั้นแอนแซกของออสเตรเลีย 2 ลา  เรือรบเอนกประสงค์เพื่อใช้ในการกู้ภัยและบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ 2 ลาโดยต่อที่ ฮอลแลนด์และเกาหลี  เรือลาดตระเวนระยะไกลต่อโดยออสเตรเลีย2ลา  เรือตรวจชายฝั่งต่อที่นิวซีแลนด์เองอีก4ลา
  • 21.  นโยบายทางเศรษฐกิจของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ต่างชี้ชัดว่ากาลังมุ่งเข้าสู่ การเป็นส่วนหนึ่งในเอเชีย แม้จะใช้ศัพท์ที่ผิดกัน แต่ทั้งสองชาติได้สื่อ ความหมายตรงกันว่ากระแสบูรพาภิวัฒน์ หรือ ที่ออสเตรเลียใช้อย่างเปิดเผยว่า ศตวรรษของเอเชีย นั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้  รัฐบาลออสเตรเลีย ประมาณการใน Australia in the Asian Century ว่าในปี ค.ศ. 2025 กระแสศตวรรษของเอเชียจะสมบูรณ์และจะ เปลี่ยนเศรษฐกิจโลก โดยการเติบโตของการค้ากับเอเชียโดยรวมนั้นเพิ่มขึ้นใน ขณะที่ประเทศตะวันตกต่างถดถอยอย่างเห็นได้ชัด  รัฐบาลนิวซีแลนด์ ประมาณการใน Our Future with Asia ว่า กระแสบูรพาภิวัฒน์จะสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2035
  • 22.  ประเทศจีนมีการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรกับออสเตรเลียจากปีละ 800 ล้านดอลล่าห์ออสเตรเลียในปี 1990 ไปสู่ 2,500ล้านดอลล่าห์ในปี 2000 และ ในปี 2010 มียอดซื้อขายที่ 4,800 ล้านดอลล่าห์  อาเซี่ยนมียอดในปี 1990 ที่ 1,400 ล้านดอลล่าห์ กลับมียอด 7,000 ล้านดอล ล่าห์ในปี 2010  ญี่ปุ่นเพิ่มจาก 3,000 ล้านดอลล่าห์ในปี 1990 ไปสู่ 4,100 ล้านดอลล่าห์ในปี 2010
  • 23.  จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย โดยชี้มูลค่านาเข้าเพิ่มจากเดิม 4,000 ล้านดอลล่าห์นิวซีแลนด์ในปี 1990 ไปสู่15,000 ล้านดอลล่าห์นิวซีแลนด์ในปี 2005  ยอดส่งออกเพิ่มจาก 4,100 ดอลล่าห์ในปี 1990 ไปสู่ 9,500 ล้านดอลล่าห์ใน ปี 2005 (หน้า33)  จานวนนักท่องเที่ยวจากจีนเพิ่มจาก 84,368 คน ไปสู่ 258,570 คนใน ระยะเวลา 10ปี  นักท่องเที่ยวอินเดียเพิ่มจาก 15,694 ไปที่ 42,790 คน
  • 24.  รัฐบาลออสเตรเลียจะแสดงความไม่พอใจเกี่ยวกับการที่มีชาวออสเตรเลียมาตั้งรกรากในเอเชีย ในขณะที่ นิวซีแลนด์จะยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้น แต่สิ่งที่เราไม่สามารถปฎิเสธได้คือจานวนของชาวออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์ที่เพิ่มขึ้น  การขยายตัวของธุรกิจข้ามชาติ เช่น ธนาคารออสเตรเลียนิวซีแลนด์ หรือ เอเอนแซด (Australia New Zealand Bank: ANZ Bank) ได้กลายมาเป็นธนาคารพาณิชย์หลักในประเทศลาว  บริษัทประกันนิวซีแลนด์ (New Zealand Insurance: NZI) หรือ บริษัทประกันออสเตรเลีย (Australia Mutual Insurance: AMI) ได้เข้ามาลงทุนในเอเชีย ส่งผลต่อการมีบุคลากร ต่างชาติ expat มายังเอเชียมากขึ้น  โปรแกรม JET ของประเทศญี่ปุ่นยังคงเป็นแม่เหล็กในการดึงดูดชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ให้ไปทางาน  การเจริญเติบโตของเอเชียยังดึงเอาบุคลากรจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ที่ทางานให้กับบริษัทข้ามชาติเช่น Price Waterhouse Cooper หรือ  การเข้ามาตั้งสานักงานกฎหมายหรือทางานให้กับสานักงานกฎหมายข้ามชาติ  การเข้ามาของโรงแรมเครือนานาชาติที่ทาให้มีการโอนย้ายบุคลากรของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มาสู่เอเชีย เช่น โรงแรมเครือ Parkroyal หรือ Rydges ของออสเตรเลีย รวมทั้งโรงแรมเครือต่างชาติหรือแม้แต่ เครือในประเทศที่เล็งเห็นความสาคัญในการว่าจ้างผู้บริหารจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
  • 25.  ดาร์วิน  เมืองขนาดเล็กและมีประชากรเพียง 86,415 คนในปี 1991 มีอัตราการเจริญเติบโตเกือบ 100% ในช่วง25ปี โดยปัจจุบันมีประชากรอยู่ที่ 146,400คน  โดยมีสัดส่วนประชากรเอเชียที่ย้ายมาตั้งรกรากอยู่ที่ 7,677 คน  เพิร์ธ  เจริญเติบโตจาก 1,226,115 คนในปี 1991 ไปสู่ 1,972,358 คนในปัจจุบัน  มีชาวเอเชีย 79,299 คนที่ย้ายมาตั้งรกราก  บริสเบน  มีชาวเอเชียมาตั้งรกรากที่ 90,646 คน  เมลเบิร์น  มีประชากรเอเชีย 264,591 คน  ซิดนี่ย์  มีชาวเอเชียมาตั้งรกรากถึง 465,352 นับเป็น10% ของประชากรทั้งหมด
  • 26.  โอ้คแลนด์  ประชากรเพิ่มขึ้นจาก 750,000 คนในปี 1993 ไปสู่ 1,415,550 คนในปี 2013  ประชากรเอเชียได้เพิ่มจาก 151,644 คนในปี 2001 เป็น 307,233 คนในปี 2013 ทา ให้ชาวเอเชียมีสัดส่วน 21.7%  ไครส์เชิร์ช  มีสัดส่วนประชากรเอเชียที่ 7.9%
  • 27.  ผลต่อผลกระทบของวัฒนธรรมเอเชียในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เช่นการ ขยายตัวของ Chinatown, Little India, Thaitown  พฤติกรรมการบริโภคเช่นการเกิดขึ้นของอาหารเอเชียเช่นร้านอาหารญี่ปุ่น ไทย จีน หรือแม้แต่แผลซูชิตามศูนย์การค้าในนิวซีแลนด์หรือร้านติ๋มซ่าในศูนย์การค้าของ ออสเตรเลีย  ธุรกิจค้าปลีกซึ่งอยู่ในกลุ่มคนอินเดีย  วิวัฒนาการของการบริโภคอาหารประจาชาติอย่าง Fish and Chips ซึ่ง โดยมากมีชาวจีนเป็นเจ้าของกิจการและได้นาอาหารจีนมาเป็นเมนูหลักเช่นกัน  การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังส่งผลถึงอุตสาหกรรมบันเทิงซึ่งเพิ่มบทบาทของชาวเอเชีย เท่าๆกับการยอมรับและการมียอดขายภาพยนต์และรายการทีวีของเอเชียในประเทศ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เอง  ความสาคัญที่เพิ่มขึ้นของสมาคมชาวจีนโพ้นทะเลหรือ Overseas Chinese
  • 28.  สัดส่วนของนักศึกษาต่างชาติเพิ่มขึ้นจากเอเชีย  การเปิดรับนักศึกษาทุนส่วนตัวของมหาวิทยาลัยรรัฐ ในออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์ เช่น มหาวิทยาลัยซิดนี่ย์ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัย แห่งชาติออสเตรเลีย มหาวิทยาลัยโอ้กแลนด์ หรือมหาวิทยาลัยแคนเทอเบอรี่  การเติบโตของสถาบันเอกชนจานวนมาก เช่น มหาวิทยาลัยเดียร์กิน  โรงเรียนมัธยมศึกษาของทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ที่ได้ทาการรับนักศึกษา ต่างชาติเพื่อเป็นรายได้หลักของสถาบัน  การเกิดขึ้นของสถาบันภาษามากมาย  รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้ประกาศว่าการศึกษาเป็นรายได้อันดับ2 ของประเทศ
  • 29.  รัฐบาลออสเตรเลียเองก็เล็งเห็นในปัจจัยเดียวกัน การเข้ามาของนักศึกษาเอเชีย ไม่ได้ส่งผลให้เกิดเพียงรายได้เท่านั้น แต่ยังส่งผลให้เกิดความร่วมมือระหว่าง สถาบันรวมทั้งการลงทุนของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเมลเบิร์น (RMIT) ได้ทาการเปิดวิทยาเขตใน ประเทศอินโดนีเซีย มหาวิทยาลัยแมสซี่ (Massey University) ได้ ทาความร่วมมือกับจีน ที่เมือง วูฮั่น มหาวิทยาลัยวิคตอเรีย ได้เปิดวิทยาเขตที่ เมือง โฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม  ความร่วมมือระดับโรงเรียนมัธยมศึกษา เช่นการทา MoU ของจังหวัดระยอง กับ เมืองไครส์เชิร์ช
  • 30.  รัฐบาลนิวซีแลนด์มีนโยบาย Becoming more Asia literate โดยเพิ่มศักยภาพทางภาษาให้ชาวนิวซีแลนด์ รวมทั้งให้ความสาคัญและให้ สื่อมวลชนสนับสนุนโครงการ Asian Culture in New Zealand เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจของชาวนิวซีแลนด์ ต่อเอเชีย  รัฐบาลออสเตรเลีย ใช้คาว่า Asia-literacy in schools เพื่อเสริม ศักยภาพของชาวออสเตรเลียทางวัฒนธรรมเอเชีย
  • 31.  ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ทาการวิจัยพืชและสัตว์ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาของ ไทยอาทิเช่นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ทาความร่วมมือรวมทั้งส่งอาจารย์สายการเกษตร ให้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยลินคอนห์ หรือมหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาสารคามที่ทาความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแมสซี่เพื่อเรียนรู้ด้านการเกษตร  สายนวัตกรรมเกษตรอื่นๆเช่น ธุรกิจการเกษตร (Agrobusiness) ได้มาเป็นสายงาน ที่ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ทาความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย ความร่วมมือในกรอบ ดังกล่าวยังรวมถึงการให้ทุนการศึกษากับประเทศในเอเชียเพื่อเรียนรู้ด้านการเกษตร ป่าไม้ และ ทรัพยากร  การออกวีซ่าให้นักเรียนในส่วนของอาชีวเกษตรและอุดมศึกษาได้ทางาน หรือ ฝึกงานใน อุตสาหกรรมเกษตรของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์  การขาดแคลนคนในภาคเกษตรยังทาให้เกิดความต้องการของคนทางานในสายงาน เกษตรกรรมเช่น ไร่องุ่น หรือ ปศุสัตว์ ทาให้มีการเปิดวีซ่าทางานเกษตรแบบ Seasonal ขึ้น
  • 32.  ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เองต่างยอมรับกระแสที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ปฎิเสธถึงบูรพาภิวัฒน์ แม้จะไม่ได้ใช้คาว่า Easternization แต่การใช้คาว่า ศตวรรษของเอเชีย (Asian Century) ก็ถือเป็นการยอมรับอย่างไม่ปฎิเสธกระแสบูรพาภิวัฒน์  ในมิติความมั่นคงจะยังคงเป็นไปตามกลไกของโลกตะวันตก แต่การฑูต การค้า นวัตกรรม เมืองและวัฒนธรรม นวัตกรรมการศึกษา หรือ แม้แต่นวัตกรรมการเกษตร ต่างเป็นไปตาม กลไกที่เข้าสู่กระแสบูรพาภิวัฒน์  ปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่ว่าเมื่อไรกระแสบูรพาภิวัฒน์จะมีบทบาทอย่างเต็มรูปแบบ การเกิดขึ้น ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยนหรือ AEC ต่างอยู่ในการจับตามองของออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์ รวมทั้งการเข้าร่วม ARF หรือ East Asian Summit ต่างบ่งบอกถึง ความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมในกระแสบูรพาภิวัฒน์  ประเทศจีนประกาศว่าจะเป็นโรงงานของโลก ประเทศอินเดียและฟิลลิปปินส์จะเป็นออฟฟิส ของโลก ประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่นจะเป็นผู้นาเทคโนโลยีของโลก ประเทศสิงคโปร์จะเป็น ท่าเรือโลก แล้ว ประเทศไทยของเราจะไปในทิศทางใด  ประเทษไทยในทศวรรษหน้ามีจุดแข็งที่ ภูมิวัฒนธรรม (ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์)