SlideShare a Scribd company logo
นพ.ประจักษวิช เล็บนาค
นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
แผนหลักในการดาเนินงาน
 1. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (แผนป้องกันภัยฝ่ายพล
    เรือนแห่งชาติ)
 2. แผนป้องกันประเทศ
นโยบายการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ
                                                (สมช.)


                                                                                     แผนป้องกันประเทศ
            แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
                           (มท.)                                                  แผนผนึกกาลังและทรัพยากร
                                                                                    เพื่อการป้องกันประเทศ


                             แผนปฎิบัติการป้องกัน
แผนป้องกันและบรรเทา          และบรรเทาสาธารณภัย                 แผนบรรเทาสาธารณภัย         แผนปฏิบัติการ
  สาธารณภัยจังหวัด               แบบบูรณาการ                      กระทรวงกลาโหม           ของหน่วยปฏิบัติ
                                (ระดับกระทรวง)

                                  ด้านการแพทย์และสาธารณสุข



โครงสร้างความเชื่อมโยงของแผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ (ระดับกระทรวง) ด้านการแพทย์
และสาธารณสุข กับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติและนโยบายการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ
การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ
 1. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
      ในสถานการณ์ฉุกเฉินอันเกิดจากสาธารณภัย กรมปูองกันและบรรเทา
      สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ และมี
      หน่วยงานองค์กร ของทุกภาคส่วน ได้ให้การสนับสนุนการดาเนินงาน
      ภายใต้แผนปูองกันฝุายพลเรือนแห่งชาติ ทั้งในระดับกระทรวง ระดับ
      จังหวัด และระดับท้องที่ ภายใต้ พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทา
      สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550 โดยให้ความสาคัญกับการจัดทา
      แผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณา
      การ
 2.   แผนป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงาน
      รับผิดชอบ
แผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ
ระดับกระทรวง
          เพื่อเตรียมความพร้อมของกระทรวงในการป้องกัน บรรเทา และ
   แก้ ไ ขภั ยพิ บั ติ โดยความสาคั ญกั บ การก าหนดแนวทางการด าเนินงานที่
   สัมพั นธ์กับ ระดับความรุ นแรงของภัย เป็นกรอบในการจัด ทาแผนระดั บ
   กระทรวงและให้กาหนดแนวทางเตรียมความพร้อม 3 ขั้นตอน คือ ก่อน
   เกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
แผนปฏิบัติการการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ (17 ด้าน)

       การแจ้ง
                                       ต่าง               พิสูจน์เอกลักษณ์                       ฐานข้อมูลและ
        เตือน              นา                                                     คมนาคม
                                      ประเทศ             และนิติวิทยาศาสตร์                       สารสนเทศ
         ภัย
         ทก.               ทส.            กต.                  สตช.                  คค.              มท.
       (ศทช.)


   เชือเพลิงและ      การ         บริหารจัดการ            การแพทย์ และ          การ         การประชาสัมพันธ์และ
      พลังงาน       ศึกษา          ภัยพิบัติ              สาธารณสุข           สื่อสาร       การจัดการข่าวสาร
       พน.           ศธ.            สตช.                     สธ.               ทก.             นร. (กปส.)




                   การ             การ          การ          นิวเคลียร์         ความ
                  บริจาค          เกษตร         ฟื้นฟู       และรังสี           มั่นคง
                    นร.             กษ.         มท.             วท.              กห.
                  (สปน.)                                       (ปส.)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขมีการเตรียมการและ
   มีการดาเนินการเพื่อเตรียมพร้อมในการระดมอัตรากาลังทาง
   การแพทย์และการสาธารณสุขให้สามารถสนองความต้องการของ
   ประเทศได้ในสถานการณ์สาธารณภัย
2. เพื่อเตรียมบุคลากรและองค์กรด้านสาธารณสุข ให้มีความพร้อม
   รับสาธารณภัย
3. เพื่อลดความสูญเสียทรัพยากรในสถานการณ์สาธารณภัย
4. เพื่อการเชือมโยงกับหน่วยงานระดับกระทรวงในการขอการ
              ่
   สนับสนุนการช่วยเหลือผูประสบภัย
                           ้
สภาพของชุมชนและท้องถิน
                                ่                                     ตระหนักว่า “เสี่ยง” และหาว่าเสี่ยงแบบไหน


                                                                    รู้ชนิดและความชุกของความเสียงหรือภัยอันตราย
                                                                                               ่
   การปรับปรุงสภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อป้องกันและ
           ลดผลกระทบจากภัยพิบัติครั้งต่อไป

                                                                      วางแผน (1) ป้องกัน (2) รับมือและ (3) ฟื้นฟู     การเตรียม
                                                                                                                      ความพร้อม
            การประเมินและปรับปรุงแผนทั้ง 3
                                                                             „ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผน
                                                                             „ป้องกันและลดผลกระทบ




                                                                                เกิดภัยพิบัติ


                                                                                         แจ้งเตือนภัยทันกาล            การดาเนิน
                                      ฟื้นฟู บูรณะสู่สภาพเดิม
การดาเนินการ                                                                                                          การตามแผน
ตามแผนฟื้นฟู                                                                                                           สู้ภัยพิบัติ
 หลังภัยพิบัติ                                                                              หา-กู-นาออก
                                                                                                 ้                         ของ
ของหน่วยงาน                                                                                                            หน่วยงาน
ต่าง ๆรวมทั้ง                                                                                                             ต่าง ๆ
การแพทย์การ                                                                      บรรเทาภัย) (การรักษาพยาบาล อาหาร       รวมทั้ง
 สาธารณสุข                      สารวจความเสียหายและสิ่งที่ต้องการ                 น้า ท่าพักอาศัย ส้วม สุขภาพกาย-ใจ    การแพทย์
                                                                                                 ฯลฯ)                      และ
                                                                                                                      สาธารณสุข
อ้างถึง
นโยบายเตรียมพร้อมแห่งชาติ
พรบ. ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยพ.ศ.2550
แผนปูองกันภัยฝุายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ.2548
แผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม
พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
                                                             กระทรวงสาธารณสุข:                                        ศูนย์ปฏิบัติการ
                                                                   รมต.                                                  ระดับชาติ


                                              ผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์(ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน)                            สถาบันการแพทย์
                                                          ปลัด สธ. / รองปลัด สธ.                                       ฉุกเฉินแห่งชาติ




   กรมพัฒนา       กรมควมคุม                                                                                                   กรม        สานักงานคณะกรรมการ
                                กรมอนามัย   กรมการแพทย์         สานักงานปลัด สธ.         กรมสุขภาพจิต   กรมวิทยาศาสตร์ฯ
การแพทย์แผนไทยฯ      โรค                                                                                                   สนับสนุนฯ          อาหารและยา




                                                          ศูนย์อานวยการเตรียมความ
                                                           พร้อมด้านการแพทย์และ
                                                             สาธารณสุข กระทรวง
                                                                 สาธารณสุข                                      สภากาชาดไทย
          ศูนย์เตือนภัยพิบัติ                               ศูนย์สื่อสารสั่งการ นเรนทร
               แห่งชาติ                                      หมายเลขโทรศัพท์ 1669
       กรมปูองกันและบรรเทา                                 ระบบวิทยุสื่อสาร VHF . SSB                              เหล่าทัพ
            สาธารณภัย
โครงสร้างการสั่งการและประสานการดาเนินงานด้านสาธารณภัย
                    คณะกก.เตรียมพร้อมระดับชาติ
 ระดับชาติ          ศูนย์ประสานงานเตรียมพร้อม
                             แห่งชาติ

                       คณะอนุกก.เตรียมพร้อม
                    ด้านการแพทย์และสาธารณสุข                    สานักงานปลัด
ระดับกระทรวง         ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม               กระทรวงสาธารณสุข
                    ด้านการแพทย์และสาธารณสุข           WAR ROOM

                                                            ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม
 ระดับกรม                                               ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรม....
                       ศูนย์ปฎิบัติการส่วนหน้า

                      ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม
 ระดับพืนที่    ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัด....
                                                                          สายบังคับบัญชา
                            ทีมเคลื่อนที่                                 สายการประสานงาน
โครงสร้างคณะอนุกรรมการและศูนย์ปฏิบัติการฯ
       คณะอนุกก.เตรียมพร้อม                    ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม
    ด้านการแพทย์และสาธารณสุข             ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่วนกลาง

                                             รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
      ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                                             ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน

 คณะอนุกรรมการ :                          คณะอนุกรรมการ :
 -ผู้แทนกระทรวงต่างๆ                      -ผู้แทนกรมใน สธ.
 -ผู้แทน 3 เหล่าทัพ ฯลฯ                   -ผู้แทนสานัก/กอง ต่างๆ ใน สธ.

 เลขานุการ : ผอ. สนย. สป.                 เลขานุการ : เลขาธิการ สพฉ.

 บทบาทหน้าที่                            บทบาทหน้าที่
 • กาหนดนโยบายและแผนแม่บทการเตรียมความ   • ประเมินสถานการ์สาธารณภัย
   พร้อมด้านการแพทย์และการสาธารณสุข      • จัดทาแผนปฏิบัติการรองรับสาธารณภัย
                                         • นาเสนอแผนปฏิบัติการต่อคณะอนุกรรมการฯ
                                         • ปฏิบัติการให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ
                                         • บริหารจัดการทรัพยากร
                                         • ประสานงานหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฯ จังหวัด
                           ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม
                      ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัด
                 Health Emergency Incident Commander
                           System (HEICS)




                                                               ผ่ายประสานงานและประชาสัมพันธ์




   ผ่ายสื่อสาร    ผ่ายปฏิบัติการ    ผ่ายสนับสนุนและสวัสดิการ    ผ่ายข้อมูล ประเมินผลและแผน
Communication     Operation           Logistics&Finance                    MIS
แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระดับจังหวัด
 ใช้ แผนป้ อ งกั น ภั ย ฝ่ า ยพลเรื อ นจั ง หวั ด โดยจะจั ด ท าแผน
 รองรั บ เฉพาะภั ย ที่ มี ค วามเสี่ ย งเกิ ด ขึ้ น ในจั ง หวั ด นั้ น ๆ และให้
 หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงที่ ป ฏิ บั ติ ง านในจั ง หวั ด ได้ น ากรอบ
 แผนปฏิบัติการ ฯ ระดับกระทรวงไปประกอบการจัดทาแผนปฏิบัติ
 การ ฯ ระดับจังหวัด และให้จังหวัดได้มีการจัดทาแนวทาง คู่มือ
 การปฏิ บั ติ ง านที่ มี ก ารประสานและบู ร ณาการการท างานของ
 หน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ภายในจังหวัด
นายกรัฐมนตรี/รอง นรม.ที่
                                                                                                             ได้รับมอบหมาย

                                             ศูนย์อานวยการเตรียมความพร้อม          ควบคุมและกากับ          ผู้บัญชาการฯ แห่งชาติ
               รมว.กสธ.                                                                                          (รมว.มท.)
                                               ด้านการแพทย์และสาธารณสุข         การปภ.ทั่วราชอาณาจักร
                                                                                      (ม. 13,14)          รองผู้บัญชาการ (ปมท.)
   ปลัด กสธ.
                           ศูนย์ปฏิบัติการ ประเทศ       รับผิดชอบการช่วยเหลือ    ปภ.ทั่วราชอาณาจักร      ผู้อานวยการกลาง (อปภ.)
 ผู้ตรวจราชการฯ                                            ทั่วราชอาณาจักร              (ม. 14)
        เขต
                                                                                                             ผอ.จังหวัด (ผวจ.)
                                                        รับผิดชอบการช่วยเหลือ     ปภ.ในเขตจังหวัด
   นพ.สสจ.                 ศูนย์ปฏิบัติการ จังหวัด                                                      รอง.ผอ.จังหวัด (นายก อบจ.)
                                                             กู้ชีพในจังหวัด         (ม. 15,18)

                                                                                                           ผอ.กทม. (ผู้ว่า กทม.)
    ผอ.สานัก                   ศูนย์เอราวัณ             รับผิดชอบการช่วยเหลือ      ปภ.ในเขตกทม.
                                                              กู้ชีพในกทม.          (ม. 32,35,36)        รอง.ผอ.กทม. (ปลัด กทม.)
 การแพทย์ กทม.                (Erawan CCC)
                                                                                                           ผช.ผอ.กทม. (ผอ.เขต)

                                                                                   ปภ.ในเขตอาเภอ           ผอ.อาเภอ (นายอาเภอ)
                                                        รับผิดชอบการช่วยเหลือ          (ม. 19)
    นพ.สสจ.                ศูนย์ปฏิบัติการ จังหวัด           กู้ชีพในจังหวัด                                    ผอ.ท้องถิ่น
                                                                                  ปภ.ในเขตท้องถิ่น       (นายก อบต./นายกเทศมนตรี/
                               EMS                                                    (ม. 20)                 นายกเมืองพัทยา)
EMS Commander             Command & Control                   ศูนย์อานวยการเตรียมความพร้อม                       ผช.ผอ.ท้องถิ่น
                              Center                     ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ระดับจังหวัด          (ปลัด:-เทศบาล/เมืองพัทยา/อบต.)
แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระดับการสั่งการและประสานงาน
       หน่วยปฏิบัติการ การแพทย์ฉุกเฉิน (ภูมิภาค)
     ศูนย์อานวยการ                                                                                รายงาน/สั่งการ
   เตรียมความพร้อม
                                                        ผู้ตรวจราชการฯ เขต                                                                   หน่วยงานอืนๆ นอก
                                                                                                                                                       ่
   ด้านการแพทย์และ                                                                                                                                 กสธ.
       สาธารณสุข                                                                         ประสานงาน




                                                                             ประสานงาน




                                                                                                                      ประสานงาน
  กระทรวงสาธารณสุข
                                                                                              เลขาธิการ สพฉ.

     สั่งการ                      ศูนย์อานวยการฯ ระดับ           สั่งการ                                  รายงาน
                                          จังหวัด                                        ศูนย์สื่อสารสั่งการ นเรนทร
                                                                                                ประสานงาน
    อธิบดี กรม....              นพ.สสจ.                     นพ.สสจ.                                                               นพ.สสจ.
                                                                                                 ร้องขอ
             สั่งการ                    สั่งการ                   สั่งการ                                                              รายงาน/สั่งการ
ศูนย์ปฏิบัติการ กรม...      ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดอืน
                                                    ่          ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดอืน
                                                                                       ่                                ศูนย์ปฏิบีติการ จังหวัด
                                    นอกเขต                              ในเขต

           รายงาน/สั่งการ                                                                            รายงาน/สั่งการ


                                                        หน่วยปฏิบัติการ EMS              หน่วยปฏิบัติการ EMS          หน่วยปฏิบัติการ EMS         หน่วยปฏิบัติการ EMS
หน่วย Mobile Team        หน่วยปฏิบัติการ EMS
                                                                FR                              BLS                       BLS1 (ILS)                     ALS


                                                                     พืนที่ประสบภัย
การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ
Planning
      จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการด้าน
 การแพทย์และการสาธารณสุข (เสร็จเรียบร้อย) รวบรวมแผนเตรียมพร้อมรับ
 สาธารณภัยทุกจังหวัด

Equipment
          จั ด ท าแบบส ารวจความพร้ อ ม (search              capacity) ของจั ง หวั ด
  ประกอบด้วย เครื่องมืออุปกรณ์ แพทย์ผู้เชียวชาญ แบบฟอร์มอยู่ระหว่างการ
  จั ด ทาและให้ จั ง หวั ด ที่ ม าอบรมครู ก. การบริ ห ารจั ด การทางการแพทย์ แ ละ
  เตรี ย มพร้ อมรั บ สถานการณ์ สาธารณภั ย (พพภ.) ทดลองทา จั ด ทาแบบ
  ประเมินตนเองระดับจังหวัด (Self Assessment)
การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ (ต่อ)
Training
         จัดทาโครงการฝึกอบรมวิทยากรคูร ก. หลักสตูรการบริหารจัดการทางการแพทย์
  และเตรียมพร้อมรับสถานการณ์สาธารณภัย (พพภ.) อบรบผู้ปฏิบัติงาน EMS และการ
  เตรียมพร้อมรับสาธารณภัย 4 รุ่น 400 คน เสร็จสิ้น กรกฎาคม 2552
การฝึกซ้อมแผน
  ระหว่างหน่วยงาน
  C-MEX 07, 08, 09       (การฝึกซ้อมการบริหารวิกฤตการณ์ด้านสาธารณภัย)
  SAREX 07, 08, 09 (การฝึกซ้อมแผนการช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย)
  การฝึกซ้อมแผนการช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัยจากทุ่นระเบิดระหว่างหน่วย
  กู้ชีพและหน่วยฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ
  การซ้อมแผนการสื่อสารในภาวะวิกฤติ ฯลฯ
  ภายในหน่วยงาน ซ้อมแผนในโรงพยาบาลจังหวัด
กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ
                      PRINCIPLES for 3 Phase
                          Management

               Preparedness                           Response                Recovery
                   P-E-T                                                      Reconstruct.
                                                         Dispatch             Rehabilitation

            Plan           Equipment     Training
                                                      1 Command and Control
                                                      2 Safety
                                                      3 Communication
           Command         Protection     Education   4 Assessment
           Control         Identification Exercise    5 Triage
           Co-ordination   Medical                    6 Treatment
           Capacity        Communication              7 Transport


                                                         Hospital Care



1. การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ก่อนเกิดสาธารณภัย
   1.1 การจัดทาแผนพร้อมรับสาธารณภัย ร่วมกับแผนพร้อมรับสาธารณภัยของแต่ละพื้นที่
         1) การประสานสังการ (Command and Control)
                         ่
         2) การสื่อแผน (Co-ordination)
         3) กาหนดศักยภาพของแผน (Capacity)
กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ (ต่อ)
1. การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ก่อนเกิดสาธารณภัย (ต่อ)
  1.2 การจัดหาอุปกรณ์เพื่อพร้อมรับสาธารณภัย ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
        - อุปกรณ์ปูองกันตัว และชุดพร้อมรับเหตุต่าง ๆ รวมถึงอุปกรณ์เตือนภัย
        - สัญลักษณ์แสดงตาแหน่งหน้าที่ (อาจรวมถึง Job Action Sheet)
        - ชุดอุปกรณ์การแพทย์เพื่อออกเหตุสาธารณภัย
        - อุปกรณ์สื่อสาร
  1.3 การจัดอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อม บุคลากร
        ทั้งระดับ Incident Command System และระดับ Field Command System
  โดยมีหลัก สูตร ทั้งอบรมPrinciple และหลัก สูตรปฏิบัติก าร ทั้งการฝึก สื่อ สารสั่งการ
  Table Top Exercise การฝึกสถานการณ์จาลองทั้งแบบเฉพาะทางการแพทย์ และแบบ
  ร่วมสหสาขา( การซ้ อ มแผนสาธารณภัย ) โดย เน้น การประเมิ นผลเพื่ อ ปรับปรุง แผน
  และเสริมภาคผนวกของแผนเมื่อการซ้อมแผนนั้นมีความหลากหลาย ในหลักสูตรการ
  เผชิญเหตุสาธารณภัยเน้นให้เกิดการฝึกกิจกรรมต่อไปนี้ ให้ครบวงจรดังหัวข้อต่อไปนี้
12. EMS RALLY สู่สากล
     EMS RALLY อาเภอ               EMS RALLY จังหวัด




                 EMS RALLY ระดับภาค - ประเทศ
กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ (ต่อ)
2. การตอบสนองเมื่อมีการเกิดเหตุ หรือเมื่อมีการซ้อมแผนภัยพิบัติ

  1)  การรายงานเหตุและการกระจายคาสั่งการใช้แผน( Dispatch)
  2)  การควบคุมและสั่งการ (Command and Control) และการกาหนดพื้นที่ปฏิบัติงาน
  3)  การควบคุมความปลอดภัยของสถานการณ์และผู้ปฏิบัติงาน
  4)  การสื่อสารทั้งระดับตามแนวราบและแนวสายการบังคับบัญชา
  5)  การประเมินสถานการณ์และการรายงาน พร้อมกับการประสานทีม สอบสวนควบคุมโรค
     (SRRT)
  6) การคัดแยกผู้ปุวยตามความรุนแรงสู่พื้นที่ที่เตรียมไว้
  7) การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  8) การเคลื่อนย้ายและนาส่งสถานพยาบาล
  9) การจัดการรักษาพยาบาลตามแผนรับสาธารณภัยของแต่ละโรงพยาบาล
  10) ระบบชันสูตร และการตรวจสอบเฝูาระวังสิ่งแวดล้อม
  11) การรายงาน การสื่อประชาสัมพันธ์ต่อสาธารณ
  12) การดูแลสภาพจิตใจสาหรับผู้ปุวย ญาติ และมวลชน
การระดมสรรพกาลังจากทุกภาคส่วนในพืนที่และพืนที่ใกล้เคียง
    ตลอดจนขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานระดับชาติ
   เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนโดยทันที
เจ็บเมื่อไหร่กโทรมา
              ็                    1669
 หน่วยกู้ชีพ-กู้ภัย ใกล้บ้านท่าน

More Related Content

What's hot

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
Saranda Nim
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
Utai Sukviwatsirikul
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
Vai2eene K
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
nhs0
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
techno UCH
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
Pa'rig Prig
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
wichudaice
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
Pa'rig Prig
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ssuser66968f
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 

What's hot (20)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 

Viewers also liked

หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยPoramate Minsiri
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่taem
 
พรบ คุ้มครองแรงงาน
พรบ คุ้มครองแรงงานพรบ คุ้มครองแรงงาน
พรบ คุ้มครองแรงงานPremsak Hountam
 
กฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงานกฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงาน
Yosiri
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
taem
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
Pongsatorn Sirisakorn
 

Viewers also liked (8)

หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
 
พรบ คุ้มครองแรงงาน
พรบ คุ้มครองแรงงานพรบ คุ้มครองแรงงาน
พรบ คุ้มครองแรงงาน
 
กฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงานกฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงาน
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
 

Similar to TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ

การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
taem
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaAimmary
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
gel2onimal
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
Public Health Emergency Management
Public Health Emergency ManagementPublic Health Emergency Management
Public Health Emergency Management
Vongsakara Angkhakhummoola
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติPoramate Minsiri
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
yahapop
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Aimmary
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
viroonya vindubrahmanakul
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูนPoramate Minsiri
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยPoramate Minsiri
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557Poramate Minsiri
 
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Strategic Challenges
 
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
Thira Woratanarat
 
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนPoramate Minsiri
 

Similar to TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ (20)

การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantana
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
Public Health Emergency Management
Public Health Emergency ManagementPublic Health Emergency Management
Public Health Emergency Management
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
งานนำเสนองานป้องกันฯ ปี 61
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
 
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
 
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
 
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
taem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
taem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
taem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
taem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
taem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
taem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
taem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
taem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
taem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
taem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
taem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
taem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
taem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
taem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ

  • 3. นโยบายการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ (สมช.) แผนป้องกันประเทศ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (มท.) แผนผนึกกาลังและทรัพยากร เพื่อการป้องกันประเทศ แผนปฎิบัติการป้องกัน แผนป้องกันและบรรเทา และบรรเทาสาธารณภัย แผนบรรเทาสาธารณภัย แผนปฏิบัติการ สาธารณภัยจังหวัด แบบบูรณาการ กระทรวงกลาโหม ของหน่วยปฏิบัติ (ระดับกระทรวง) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข โครงสร้างความเชื่อมโยงของแผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ (ระดับกระทรวง) ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข กับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติและนโยบายการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ
  • 4. การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 1. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในสถานการณ์ฉุกเฉินอันเกิดจากสาธารณภัย กรมปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ และมี หน่วยงานองค์กร ของทุกภาคส่วน ได้ให้การสนับสนุนการดาเนินงาน ภายใต้แผนปูองกันฝุายพลเรือนแห่งชาติ ทั้งในระดับกระทรวง ระดับ จังหวัด และระดับท้องที่ ภายใต้ พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550 โดยให้ความสาคัญกับการจัดทา แผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณา การ 2. แผนป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ
  • 5. แผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ ระดับกระทรวง เพื่อเตรียมความพร้อมของกระทรวงในการป้องกัน บรรเทา และ แก้ ไ ขภั ยพิ บั ติ โดยความสาคั ญกั บ การก าหนดแนวทางการด าเนินงานที่ สัมพั นธ์กับ ระดับความรุ นแรงของภัย เป็นกรอบในการจัด ทาแผนระดั บ กระทรวงและให้กาหนดแนวทางเตรียมความพร้อม 3 ขั้นตอน คือ ก่อน เกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
  • 6. แผนปฏิบัติการการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ (17 ด้าน) การแจ้ง ต่าง พิสูจน์เอกลักษณ์ ฐานข้อมูลและ เตือน นา คมนาคม ประเทศ และนิติวิทยาศาสตร์ สารสนเทศ ภัย ทก. ทส. กต. สตช. คค. มท. (ศทช.) เชือเพลิงและ การ บริหารจัดการ การแพทย์ และ การ การประชาสัมพันธ์และ พลังงาน ศึกษา ภัยพิบัติ สาธารณสุข สื่อสาร การจัดการข่าวสาร พน. ศธ. สตช. สธ. ทก. นร. (กปส.) การ การ การ นิวเคลียร์ ความ บริจาค เกษตร ฟื้นฟู และรังสี มั่นคง นร. กษ. มท. วท. กห. (สปน.) (ปส.)
  • 7. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขมีการเตรียมการและ มีการดาเนินการเพื่อเตรียมพร้อมในการระดมอัตรากาลังทาง การแพทย์และการสาธารณสุขให้สามารถสนองความต้องการของ ประเทศได้ในสถานการณ์สาธารณภัย 2. เพื่อเตรียมบุคลากรและองค์กรด้านสาธารณสุข ให้มีความพร้อม รับสาธารณภัย 3. เพื่อลดความสูญเสียทรัพยากรในสถานการณ์สาธารณภัย 4. เพื่อการเชือมโยงกับหน่วยงานระดับกระทรวงในการขอการ ่ สนับสนุนการช่วยเหลือผูประสบภัย ้
  • 8. สภาพของชุมชนและท้องถิน ่ ตระหนักว่า “เสี่ยง” และหาว่าเสี่ยงแบบไหน รู้ชนิดและความชุกของความเสียงหรือภัยอันตราย ่ การปรับปรุงสภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อป้องกันและ ลดผลกระทบจากภัยพิบัติครั้งต่อไป วางแผน (1) ป้องกัน (2) รับมือและ (3) ฟื้นฟู การเตรียม ความพร้อม การประเมินและปรับปรุงแผนทั้ง 3 „ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผน „ป้องกันและลดผลกระทบ เกิดภัยพิบัติ แจ้งเตือนภัยทันกาล การดาเนิน ฟื้นฟู บูรณะสู่สภาพเดิม การดาเนินการ การตามแผน ตามแผนฟื้นฟู สู้ภัยพิบัติ หลังภัยพิบัติ หา-กู-นาออก ้ ของ ของหน่วยงาน หน่วยงาน ต่าง ๆรวมทั้ง ต่าง ๆ การแพทย์การ บรรเทาภัย) (การรักษาพยาบาล อาหาร รวมทั้ง สาธารณสุข สารวจความเสียหายและสิ่งที่ต้องการ น้า ท่าพักอาศัย ส้วม สุขภาพกาย-ใจ การแพทย์ ฯลฯ) และ สาธารณสุข
  • 9. อ้างถึง นโยบายเตรียมพร้อมแห่งชาติ พรบ. ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยพ.ศ.2550 แผนปูองกันภัยฝุายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ.2548 แผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 กระทรวงสาธารณสุข: ศูนย์ปฏิบัติการ รมต. ระดับชาติ ผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์(ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน) สถาบันการแพทย์ ปลัด สธ. / รองปลัด สธ. ฉุกเฉินแห่งชาติ กรมพัฒนา กรมควมคุม กรม สานักงานคณะกรรมการ กรมอนามัย กรมการแพทย์ สานักงานปลัด สธ. กรมสุขภาพจิต กรมวิทยาศาสตร์ฯ การแพทย์แผนไทยฯ โรค สนับสนุนฯ อาหารและยา ศูนย์อานวยการเตรียมความ พร้อมด้านการแพทย์และ สาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุข สภากาชาดไทย ศูนย์เตือนภัยพิบัติ ศูนย์สื่อสารสั่งการ นเรนทร แห่งชาติ หมายเลขโทรศัพท์ 1669 กรมปูองกันและบรรเทา ระบบวิทยุสื่อสาร VHF . SSB เหล่าทัพ สาธารณภัย
  • 10. โครงสร้างการสั่งการและประสานการดาเนินงานด้านสาธารณภัย คณะกก.เตรียมพร้อมระดับชาติ ระดับชาติ ศูนย์ประสานงานเตรียมพร้อม แห่งชาติ คณะอนุกก.เตรียมพร้อม ด้านการแพทย์และสาธารณสุข สานักงานปลัด ระดับกระทรวง ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม กระทรวงสาธารณสุข ด้านการแพทย์และสาธารณสุข WAR ROOM ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม ระดับกรม ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรม.... ศูนย์ปฎิบัติการส่วนหน้า ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม ระดับพืนที่ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัด.... สายบังคับบัญชา ทีมเคลื่อนที่ สายการประสานงาน
  • 11. โครงสร้างคณะอนุกรรมการและศูนย์ปฏิบัติการฯ คณะอนุกก.เตรียมพร้อม ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่วนกลาง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน คณะอนุกรรมการ : คณะอนุกรรมการ : -ผู้แทนกระทรวงต่างๆ -ผู้แทนกรมใน สธ. -ผู้แทน 3 เหล่าทัพ ฯลฯ -ผู้แทนสานัก/กอง ต่างๆ ใน สธ. เลขานุการ : ผอ. สนย. สป. เลขานุการ : เลขาธิการ สพฉ. บทบาทหน้าที่ บทบาทหน้าที่ • กาหนดนโยบายและแผนแม่บทการเตรียมความ • ประเมินสถานการ์สาธารณภัย พร้อมด้านการแพทย์และการสาธารณสุข • จัดทาแผนปฏิบัติการรองรับสาธารณภัย • นาเสนอแผนปฏิบัติการต่อคณะอนุกรรมการฯ • ปฏิบัติการให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ • บริหารจัดการทรัพยากร • ประสานงานหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  • 12. โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฯ จังหวัด ศูนย์ปฎิบัติการเตรียมพร้อม ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัด Health Emergency Incident Commander System (HEICS) ผ่ายประสานงานและประชาสัมพันธ์ ผ่ายสื่อสาร ผ่ายปฏิบัติการ ผ่ายสนับสนุนและสวัสดิการ ผ่ายข้อมูล ประเมินผลและแผน Communication Operation Logistics&Finance MIS
  • 13. แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับจังหวัด ใช้ แผนป้ อ งกั น ภั ย ฝ่ า ยพลเรื อ นจั ง หวั ด โดยจะจั ด ท าแผน รองรั บ เฉพาะภั ย ที่ มี ค วามเสี่ ย งเกิ ด ขึ้ น ในจั ง หวั ด นั้ น ๆ และให้ หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงที่ ป ฏิ บั ติ ง านในจั ง หวั ด ได้ น ากรอบ แผนปฏิบัติการ ฯ ระดับกระทรวงไปประกอบการจัดทาแผนปฏิบัติ การ ฯ ระดับจังหวัด และให้จังหวัดได้มีการจัดทาแนวทาง คู่มือ การปฏิ บั ติ ง านที่ มี ก ารประสานและบู ร ณาการการท างานของ หน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ภายในจังหวัด
  • 14. นายกรัฐมนตรี/รอง นรม.ที่ ได้รับมอบหมาย ศูนย์อานวยการเตรียมความพร้อม ควบคุมและกากับ ผู้บัญชาการฯ แห่งชาติ รมว.กสธ. (รมว.มท.) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข การปภ.ทั่วราชอาณาจักร (ม. 13,14) รองผู้บัญชาการ (ปมท.) ปลัด กสธ. ศูนย์ปฏิบัติการ ประเทศ รับผิดชอบการช่วยเหลือ ปภ.ทั่วราชอาณาจักร ผู้อานวยการกลาง (อปภ.) ผู้ตรวจราชการฯ ทั่วราชอาณาจักร (ม. 14) เขต ผอ.จังหวัด (ผวจ.) รับผิดชอบการช่วยเหลือ ปภ.ในเขตจังหวัด นพ.สสจ. ศูนย์ปฏิบัติการ จังหวัด รอง.ผอ.จังหวัด (นายก อบจ.) กู้ชีพในจังหวัด (ม. 15,18) ผอ.กทม. (ผู้ว่า กทม.) ผอ.สานัก ศูนย์เอราวัณ รับผิดชอบการช่วยเหลือ ปภ.ในเขตกทม. กู้ชีพในกทม. (ม. 32,35,36) รอง.ผอ.กทม. (ปลัด กทม.) การแพทย์ กทม. (Erawan CCC) ผช.ผอ.กทม. (ผอ.เขต) ปภ.ในเขตอาเภอ ผอ.อาเภอ (นายอาเภอ) รับผิดชอบการช่วยเหลือ (ม. 19) นพ.สสจ. ศูนย์ปฏิบัติการ จังหวัด กู้ชีพในจังหวัด ผอ.ท้องถิ่น ปภ.ในเขตท้องถิ่น (นายก อบต./นายกเทศมนตรี/ EMS (ม. 20) นายกเมืองพัทยา) EMS Commander Command & Control ศูนย์อานวยการเตรียมความพร้อม ผช.ผอ.ท้องถิ่น Center ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ระดับจังหวัด (ปลัด:-เทศบาล/เมืองพัทยา/อบต.)
  • 15. แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระดับการสั่งการและประสานงาน หน่วยปฏิบัติการ การแพทย์ฉุกเฉิน (ภูมิภาค) ศูนย์อานวยการ รายงาน/สั่งการ เตรียมความพร้อม ผู้ตรวจราชการฯ เขต หน่วยงานอืนๆ นอก ่ ด้านการแพทย์และ กสธ. สาธารณสุข ประสานงาน ประสานงาน ประสานงาน กระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการ สพฉ. สั่งการ ศูนย์อานวยการฯ ระดับ สั่งการ รายงาน จังหวัด ศูนย์สื่อสารสั่งการ นเรนทร ประสานงาน อธิบดี กรม.... นพ.สสจ. นพ.สสจ. นพ.สสจ. ร้องขอ สั่งการ สั่งการ สั่งการ รายงาน/สั่งการ ศูนย์ปฏิบัติการ กรม... ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดอืน ่ ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดอืน ่ ศูนย์ปฏิบีติการ จังหวัด นอกเขต ในเขต รายงาน/สั่งการ รายงาน/สั่งการ หน่วยปฏิบัติการ EMS หน่วยปฏิบัติการ EMS หน่วยปฏิบัติการ EMS หน่วยปฏิบัติการ EMS หน่วย Mobile Team หน่วยปฏิบัติการ EMS FR BLS BLS1 (ILS) ALS พืนที่ประสบภัย
  • 16. การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ Planning จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการด้าน การแพทย์และการสาธารณสุข (เสร็จเรียบร้อย) รวบรวมแผนเตรียมพร้อมรับ สาธารณภัยทุกจังหวัด Equipment จั ด ท าแบบส ารวจความพร้ อ ม (search capacity) ของจั ง หวั ด ประกอบด้วย เครื่องมืออุปกรณ์ แพทย์ผู้เชียวชาญ แบบฟอร์มอยู่ระหว่างการ จั ด ทาและให้ จั ง หวั ด ที่ ม าอบรมครู ก. การบริ ห ารจั ด การทางการแพทย์ แ ละ เตรี ย มพร้ อมรั บ สถานการณ์ สาธารณภั ย (พพภ.) ทดลองทา จั ด ทาแบบ ประเมินตนเองระดับจังหวัด (Self Assessment)
  • 17. การเตรียมการรับสถานการณ์ภัยพิบัติ (ต่อ) Training จัดทาโครงการฝึกอบรมวิทยากรคูร ก. หลักสตูรการบริหารจัดการทางการแพทย์ และเตรียมพร้อมรับสถานการณ์สาธารณภัย (พพภ.) อบรบผู้ปฏิบัติงาน EMS และการ เตรียมพร้อมรับสาธารณภัย 4 รุ่น 400 คน เสร็จสิ้น กรกฎาคม 2552 การฝึกซ้อมแผน ระหว่างหน่วยงาน C-MEX 07, 08, 09 (การฝึกซ้อมการบริหารวิกฤตการณ์ด้านสาธารณภัย) SAREX 07, 08, 09 (การฝึกซ้อมแผนการช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัย) การฝึกซ้อมแผนการช่วยเหลืออากาศยานและเรือที่ประสบภัยจากทุ่นระเบิดระหว่างหน่วย กู้ชีพและหน่วยฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ การซ้อมแผนการสื่อสารในภาวะวิกฤติ ฯลฯ ภายในหน่วยงาน ซ้อมแผนในโรงพยาบาลจังหวัด
  • 18. กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ PRINCIPLES for 3 Phase Management Preparedness Response Recovery P-E-T Reconstruct. Dispatch Rehabilitation Plan Equipment Training 1 Command and Control 2 Safety 3 Communication Command Protection Education 4 Assessment Control Identification Exercise 5 Triage Co-ordination Medical 6 Treatment Capacity Communication 7 Transport Hospital Care 1. การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ก่อนเกิดสาธารณภัย 1.1 การจัดทาแผนพร้อมรับสาธารณภัย ร่วมกับแผนพร้อมรับสาธารณภัยของแต่ละพื้นที่ 1) การประสานสังการ (Command and Control) ่ 2) การสื่อแผน (Co-ordination) 3) กาหนดศักยภาพของแผน (Capacity)
  • 19. กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ (ต่อ) 1. การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ก่อนเกิดสาธารณภัย (ต่อ) 1.2 การจัดหาอุปกรณ์เพื่อพร้อมรับสาธารณภัย ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ - อุปกรณ์ปูองกันตัว และชุดพร้อมรับเหตุต่าง ๆ รวมถึงอุปกรณ์เตือนภัย - สัญลักษณ์แสดงตาแหน่งหน้าที่ (อาจรวมถึง Job Action Sheet) - ชุดอุปกรณ์การแพทย์เพื่อออกเหตุสาธารณภัย - อุปกรณ์สื่อสาร 1.3 การจัดอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อม บุคลากร ทั้งระดับ Incident Command System และระดับ Field Command System โดยมีหลัก สูตร ทั้งอบรมPrinciple และหลัก สูตรปฏิบัติก าร ทั้งการฝึก สื่อ สารสั่งการ Table Top Exercise การฝึกสถานการณ์จาลองทั้งแบบเฉพาะทางการแพทย์ และแบบ ร่วมสหสาขา( การซ้ อ มแผนสาธารณภัย ) โดย เน้น การประเมิ นผลเพื่ อ ปรับปรุง แผน และเสริมภาคผนวกของแผนเมื่อการซ้อมแผนนั้นมีความหลากหลาย ในหลักสูตรการ เผชิญเหตุสาธารณภัยเน้นให้เกิดการฝึกกิจกรรมต่อไปนี้ ให้ครบวงจรดังหัวข้อต่อไปนี้
  • 20.
  • 21. 12. EMS RALLY สู่สากล EMS RALLY อาเภอ EMS RALLY จังหวัด EMS RALLY ระดับภาค - ประเทศ
  • 22. กรอบแนวคิดของวงจรการตอบสนองสาธารณภัย 3 ระยะ (ต่อ) 2. การตอบสนองเมื่อมีการเกิดเหตุ หรือเมื่อมีการซ้อมแผนภัยพิบัติ 1) การรายงานเหตุและการกระจายคาสั่งการใช้แผน( Dispatch) 2) การควบคุมและสั่งการ (Command and Control) และการกาหนดพื้นที่ปฏิบัติงาน 3) การควบคุมความปลอดภัยของสถานการณ์และผู้ปฏิบัติงาน 4) การสื่อสารทั้งระดับตามแนวราบและแนวสายการบังคับบัญชา 5) การประเมินสถานการณ์และการรายงาน พร้อมกับการประสานทีม สอบสวนควบคุมโรค (SRRT) 6) การคัดแยกผู้ปุวยตามความรุนแรงสู่พื้นที่ที่เตรียมไว้ 7) การรักษาพยาบาลเบื้องต้น 8) การเคลื่อนย้ายและนาส่งสถานพยาบาล 9) การจัดการรักษาพยาบาลตามแผนรับสาธารณภัยของแต่ละโรงพยาบาล 10) ระบบชันสูตร และการตรวจสอบเฝูาระวังสิ่งแวดล้อม 11) การรายงาน การสื่อประชาสัมพันธ์ต่อสาธารณ 12) การดูแลสภาพจิตใจสาหรับผู้ปุวย ญาติ และมวลชน
  • 23. การระดมสรรพกาลังจากทุกภาคส่วนในพืนที่และพืนที่ใกล้เคียง ตลอดจนขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานระดับชาติ เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนโดยทันที
  • 24.
  • 25. เจ็บเมื่อไหร่กโทรมา ็ 1669 หน่วยกู้ชีพ-กู้ภัย ใกล้บ้านท่าน