SlideShare a Scribd company logo
1 of 282
Download to read offline
แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
       ้
            จังหวัดชุมพร
         พ.ศ. 2553-2557




            กองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร
                          ้
                โทรศัพท์ / โทรสาร 0 7750 3230 สป.มท. 66136
คํานํา
          สาธารณภั ย มี แ นวโน้ ม จะเกิด ขึ้ นอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น เนื่ อ งจากความแปรปรวน
ของภู มิ อ ากาศ การเพิ่ ม จํ า นวนประชากร ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ ป ระกอบกั บ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างสังคม จากสังคมชนบทไปสู่สังคมเมืองอย่างรวดเร็ว ประชาชนอาศัยอยู่ในพื้นที่
เสี่ยงภัยเพิ่มขึ้นส่งผลให้ ความเสียหายจากสาธารณภัยรุนแรงมากขึ้น ทั้งภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย
ภัยแล้ ง และภัยจากการกระทําของมนุ ษย์ เช่ น อัคคีภัย อุบัติภัย การรั่วไหลของสารเคมีอันตราย ซึ่งเป็ น
ภัยร้ า ยแรงสร้ า งความสูญ เสีย และเสีย หายแก่ ชีวิ ต ทรั พย์ สิน ของประชาชน สิ่ง สาธารณประโยชน์ และ
ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นอย่างมาก
          แผนการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย จัง หวัด ชุ ม พร พ.ศ. 2553-2557 จั ด ทํา ขึ้น เพื่ อ เป็ น
แนวทางในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย การเตรียมความพร้ อมในการป้ องกันและลดความสูญเสีย
ความเสียหายแก่ ชีวิต ทรั พย์สินของประชาชนและของรัฐได้ ด้วยความร่ วมมืออย่ างจริงจัง มุ่งมั่น ทุ่มเท
เสียสละของทุ ก ภาคส่ วน ทั้ง ภาครั ฐ องค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น รั ฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน มู ลนิ ธิ และ
อาสาสมัคร ในการปฏิบัติตามแผนฯ ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างเป็ นระบบและเป็ นเอกภาพ ทั้งนี้เพื่อ
ความปลอดภัยในชีวต ทรัพย์สน และประโยชน์สขของประชาชนเป็ นสําคัญ
                      ิ         ิ                    ุ




                                                  (นายไพโรจน์ แสงภู่วงษ์)
                                       รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร รักษาราชการแทน
                                                   ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
                                                       ผู้อานวยการจังหวัด
                                                           ํ




                                                                   รอง ผวจ. ......................./........./........../........
                                                                   หน.ปภ.........................../........./........../........
                                                                   หน.กลุ่มงาน..................../........./........../........
                                                                   หน.ฝ่ าย........................./........./........../.........
                                                                   ผู้ปฏิบัติ........................./........./........../.........
                                                                   พิมพ์ทาน......................./........./........../.........
I

                                          สารบัญ
                                                                                  หน้า
คํานํา
สารบัญ                                                                               I
คําย่อ                                                                              V
แผนทีจงหวัด
        ่ั                                                                        VIII
บทนํา                                                                              IX
ส่วนที่ 1 หลักการปองกันและบรรเทาภัย
                   ้
           บทที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานของจังหวัด                                         1
                     1.1 สภาพภูมสงคมิ ั                                             1
                     1.2 สถิติการเกิดสาธารณภัยของจังหวัด                            3
                     1.3 การประเมินความเสี่ยงภัยของจังหวัด                          4
           บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิสยทัศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ ใน
                                                     ั              ้               6
                     การปองกันและบรรเทาภัย
                         ้
                     2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้ อม (SWOT analysis)                   6
                     2.2 วิสยทัศน์ (Vision)
                             ั                                                      7
                     2.3 พันธกิจ (Mission)                                          7
                     2.4 เป้ าประสงค์ (Goals)                                       7
                     2.5 ขอบเขตสาธารณภัย                                            7
           บทที่ 3 แผนงานในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                        ้                                           9
                     3.1 ระยะก่อนเกิดภัย                                            9
                         3.1.1 มาตรการการป้ องกันและลดผลกระทบ                       9
                         3.1.2 มาตรการการเตรียมความพร้ อม                          10
                     3.2 ระยะขณะเกิดสาธารณภัย                                      12
                         3.2.1 มาตรการการบริหารจัดการในสภาวะฉุกเฉิน                12
                     3.3 ระยะหลังจากเกิดสาธารณภัย                                  16
                         3.3.1 มาตรการการจัดการหลังเกิดภัย                         16
           บทที่ 4 หลักการปฏิบติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
                                  ั         ้                                      17
                     4.1 วัตถุประสงค์                                              17
                     4.2 นิยามศัพท์                                                17
                     4.3 หลักการปฏิบติ    ั                                        18
                     4.4 ระดับความรุนแรงของสาธารณภัย                               19
                     4.5 อํานาจหน้ าที่ผ้ ูอานวยการแห่งพื้นที่
                                              ํ                                    19
                     4.6 แนวทางการปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับ    21
                         หน่วยทหาร
                     4.7 ความสอดคล้ องในการปฏิบติกบแผนอื่น
                                                    ั ั                            21
II

                             สารบัญ (ต่อ)
                                                                       หน้า
บทที่ 5 การจัดตั้งกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                   ้                                    27
        5.1 องค์กรปฏิบัติ                                               27
            5.1.1 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย                27
                     องค์การบริหารส่วนตําบล
            5.1.2 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล          27
            5.1.3 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ          27
            5.1.4 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด         27
        5.2 โครงสร้ างและหน้ าที่                                       27
        5.3 การบรรจุกาลังํ                                              29
บทที่ 6 การปฏิบติก่อนเกิดสาธารณภัย
                 ั                                                      31
        6.1 วัตถุประสงค์                                                31
        6.2 หลักการปฏิบติ  ั                                            31
        6.3 การป้ องกันและลดผลกระทบ                                     31
            6.3.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยของจังหวัด                   31
            6.3.2 การเตรียมการด้ านฐานข้ อมูลและระบบสารสนเทศ            31
            6.3.3 การส่งเสริมให้ ความรู้และสร้ างความตระหนักด้ านการ    31
                     ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
            6.3.4 การเตรียมการป้ องกันด้ านโครงสร้ างและเครื่องหมาย     32
                     สัญญาณเตือนภัย
        6.4 การเตรียมความพร้ อม                                         32
            6.4.1 ด้ านบุคลากร                                          32
            6.4.2 ด้ านการจัดระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน                      33
            6.4.3 ด้ านเครื่องจักรกล ยานพาหนะ วัสดุอปกรณ์ เครื่องมือ
                                                      ุ                 33
                     เครื่องใช้ และพลังงาน
บทที่ 7 การปฏิบติเมือเกิดสาธารณภัย
                   ั ่                                                  37
        7.1 วัตถุประสงค์                                                37
        7.2 หลักการปฏิบติ    ั                                          37
        7.3 การปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัย                                38
            7.3.1 การจัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ
                                     ํ                                  38
            7.3.2 การแจ้ งเตือนภัย                                      44
            7.3.3 การประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน             45
            7.3.4 การประสานการปฏิบัตกบองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
                                           ิ ั                          46
III

                                     สารบัญ (ต่อ)
                                                                              หน้า
                        7.3.5 การประสานการปฏิบัติกบองค์การสาธารณกุศล
                                                         ั                     47
                        7.3.6 การดําเนินการกรณีเกิดสาธารณภัยขนาดใหญ่           48
                        7.3.7 การพิสจน์เอกลักษณ์บุคคล
                                                 ู                             50
                        7.3.8 การสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน                          51
                        7.3.9 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน       55
          บทที่ 8 การอพยพ                                                      56
                   8.1 วัตถุประสงค์                                            56
                   8.2 การปฏิบัติ                                              56
                        8.2.1 การเตรียมการอพยพ                                 56
                        8.2.2 องค์กรหลักที่ดาเนินการอพยพ
                                                   ํ                           56
                        8.2.3 องค์กรสนับสนุนการปฏิบัติ                         56
                        8.2.4 ขั้นตอนการอพยพ                                   57
                        8.2.5 การอพยพส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น    59
          บทที่ 9 การปฏิบติหลังเกิดสาธารณภัย
                                           ั                                   60
                   9.1 วัตถุประสงค์                                            60
                   9.2 หลักการปฏิบติ           ั                               60
                   9.3 การปฏิบัติ                                              60
                        9.3.1 การฟื้ นฟูผ้ ูประสบภัย                           60
                        9.3.2 การฟื้ นฟูโครงสร้ างพื้นฐาน                      61
                        9.3.3 การให้ ความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน                62
                        9.3.4 การติดตามประเมินผล                               62
          บทที่ 10 บทบาท หน้าทีของหน่วยงานทีเกียวข้องกับการปองกันและบรรเทา
                                             ่       ่ ่       ้               63
                   สาธารณภัย
ส่วนที่ 2 กระบวนการปองกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัย
                      ้
          บทที่ 11 การปองกันและบรรเทาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม
                           ้                                                   71
          บทที่ 12 การปองกันและบรรเทาภัยจากพายุหมุนเขตร้อน
                             ้                                                 78
          บทที่ 13 การปองกันและบรรเทาภัยจากอัคคีภย
                               ้                           ั                   85
          บทที่ 14 การปองกันและบรรเทาภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย
                                   ้                             ั             91
          บทที่ 15 การปองกันและบรรเทาภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
                                     ้                                         99
          บทที่ 16 การปองกันและบรรเทาภัยแล้ง
                                       ้                                      105
          บทที่ 17 การปองกันและบรรเทาภัยจากอากาศหนาว
                                         ้                                    109
          บทที่ 18 การปองกันและบรรเทาภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน
                         ้                                                    113
          บทที่ 19 การปองกันและบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม
                                 ้                                            119
IV

                                       สารบัญ (ต่อ)
                                                                                    หน้า
          บทที่ 20 การปองกันและบรรเทาภัยจากคลืนสึนามิ
                                   ้                ่                               125
          บทที่ 21 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดในมนุษย์
                                 ้                                                  132
          บทที่ 22 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคแมลง สัตว์ ศัตรูพชระบาด
                                     ้                              ื               137
          บทที่ 23 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์น้ า
                               ้                                       ํ            142
          บทที่ 24 การปองกันและบรรเทาภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
                             ้                                                      148
ส่วนที่ 3 กระบวนการปองกันและบรรเทาภัยด้านความมันคง
                         ้                             ่
          บทที่ 25 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านความมั่นคง                           154
          บทที่ 26 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านวินาศกรรม                            163
          บทที่ 27 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านทุ่นระเบิด กับระเบิด                 168
          บทที่ 28 การป้ องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ                                  174
          บทที่ 29 การป้ องกันและระงับการชุมนุมประท้ วงและก่อการจราจล               180
ภาคผนวก
          - ผังการจัดองค์กรการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร
          - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
          - ข้ อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย
          - ข้ อมูลหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร ของหน่วยงานด้ านการป้ องกันและบรรเทา
             สาธารณภัย
          - ฐานข้ อมูลเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ของหน่วยงานด้ าน
             การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
          - บันทึกข้ อตกลงว่าด้ วย การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติ
             ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ระหว่างผู้อานวยการจังหวัดชุมพร
                                                                ํ
             กับ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกชุมพร
          - แผนปฏิบัตการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
                           ิ
          - คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานจัดทําแผนฯ
V

                                คําย่อ
กห. :   กระทรวงกลาโหม
        ศบภ.กห.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม
        สป.             :   สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
        ศบภ.สป.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
        ทท.             :   กองทัพไทย
        ศบภ.ทท.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพไทย
        บก.ทท.          :   กองบัญชาการกองทัพไทย
        ศบภ.บก.ทท.      :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย
        ศบท.บก.ทท.      :   ศูนย์บญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย
                                   ั
        ศบภ.ทบ.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพบก
        ศบภ.ทร.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ
        ศบภ.ทอ.         :   ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ
        ศปก.ทบ.         :   ศูนย์ปฏิบติการกองทัพบก
                                     ั
        ศปก.ทร.         :   ศูนย์ปฏิบติการกองทัพเรือ
                                         ั
        ศปก.ทอ.         :   ศูนย์ปฏิบติการกองทัพอากาศ
                                       ั
        ทบ.             :   กองทัพบก
        ทร.             :   กองทัพเรือ
        ทอ.             :   กองทัพอากาศ
        ทภ.             :   กองทัพภาค
        มทบ.            :   มณฑลทหารบก
        จทบ.            :   จังหวัดทหารบก
        นขต.            :   หน่วยขึ้นตรง
        นขต.ทบ.         :   หน่วยขึ้นตรงกองทัพบก
        นขต.ทร.         :   หน่วยขึ้นตรงกองทัพเรือ
        นขต.ทอ.         :   หน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ
        ทรภ.            :   ทัพเรือภาค
        ฐท.กท.          :   ฐานทัพเรือกรุงเทพ
        กปช.จต.         :   กองบัญชาการป้ องกันชายแดนจันทบุรีและตราด
        นรข.            :   หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้ อยตามลําแม่นาโขง
                                                                     ้ํ
        ฉก.นย.ภต.       :   หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินภาคใต้
        อศ.             :   กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ
VI

                                    คําย่อ (ต่อ)
คณะกรรมการแห่งชาติ
         กปภ.ช.                :    คณะกรรมการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
         กปอ.                  :    คณะกรรมการป้ องกันอุบัตภัยแห่งชาติ
                                                           ิ
กองอํานวยการต่าง ๆ
           กอ.รมน.             :    กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
           บก.ปภ.ช.            :    กองบัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
           กอ.ปภ.กทม.          :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                    กรุงเทพมหานคร
           กอ.ปภ.สนง.เขต       :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยสํานักงานเขต
           กอ.ปภ.จว.           :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
           กอ.ปภ.อ.            :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ
           กอ.ปภ.อบต.          :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหาร
                                    ส่วนตําบล
           กอ.ปภ.เทศบาล        :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล
           กอ.ปภ.เมืองพัทยา    :    กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเมืองพัทยา
รัฐมนตรี ผูบญชาการ และผูอํานวยการ
           ้ ั          ้
             รมว.มท.          :     รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
             รมว.กห.          :     รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
             ป.มท.            :     ปลัดกระทรวงมหาดไทย
             ผบ.ปภ.ช.         :     ผู้บัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
                                    (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย)
           ผอ.กลาง             :    ผู้อานวยการกลาง
                                                 ํ
                                    (อธิบดีกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย)
           ผอ.จว.              :    ผู้อานวยการจังหวัด
                                                   ํ
           รอง ผอ.จว.          :    รองผู้อานวยการจังหวัด (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด)
                                                     ํ
           ผอ.กทม.             :    ผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร
                                           ํ
           รอง ผอ.กทม.         :    รองผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (ปลัดกรุงเทพมหานคร)
                                                       ํ
           ผอ.อําเภอ           :    ผู้อานวยการอําเภอ
                                             ํ
           ผอ.ท้ องถิ่น        :    ผู้อานวยการท้ องถิ่น
                                         ํ
           ผช.ผอ.ท้ องถิ่น :   :    ผู้ช่วยผู้อานวยการท้ องถิ่น (ปลัดเทศบาล / ปลัดเมืองพัทยา /
                                                         ํ
                                    ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล)
           ผอ.เขต              :    ผู้อานวยการเขต
                                               ํ
           ผช.ผอ.กทม.          :    ผู้ช่วยผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ อานวยการเขต)
                                                           ํ               ํ
VII

                                 คําย่อ (ต่อ)

ปภ. :   กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
              ้
        ศูนย์ ปภ.เขต 11  :    ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 11 สุราษฎร์ธานี
        ปภ.จว.ชพ.        :    สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร




                    -------------------------------
VIII
IX

                                              บทนํา
          จากการศึกษาวัฏจักรสาธารณภัย พบว่าแนวโน้ มของการเกิดสาธารณภัยมีความถี่ความรุนแรง และ
ซับซ้ อนเพิ่มมากขึ้น ประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลายจึงได้ ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ โดย
มุ่งหวังให้ เกิดความสูญเสียจากสาธารณภัยน้ อยที่สด โดยมุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน ทําให้ การบริหารจัดการ
                                                ุ
สาธารณภัยของประเทศต่างๆ เปลี่ยนทิศทางจากเดิมที่เน้ นเรื่อง “บรรเทาและปฏิบัติการ (Relief and
Response)” ไปเป็ น “ลดผลกระทบและเตรียมพร้ อม (Mitigation and Preparedness)” การพัฒนาการ
บริหารจัดการ สาธารณภัยจึงปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิบัติการในเชิงรุก (proactive Approach) กล่าวคือ
จะต้ องปฏิบัติการอย่างครบวงจร โดยเน้ นไปที่การป้ องกัน/การลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation)
และการเตรียมความพร้ อม (Preparedness) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาก่อนการเกิดสาธารณภัยควบคู่ไปกับการ
จัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่างเกิดสาธารณภัย และการ
ฟื้ นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาหลังการเกิดสาธารณภัย สําหรับ
ขั้นตอนของการปฏิบัติการปรากฏตามวัฏจักรของสาธารณภัยในแผนภูมิท่ี 1


                                            ้
                                          ขันตอนการปฏิบตการ
                                                        ัิ
                                        ตามวัฏจักรของสาธารณภัย

                                                เกิดสาธารณภัย
                                              (Disaster Impact )

                                                                           3. การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
 2. การเตรียมความพร้อมรับภัย                                                (การจัดการในภาวะฉุกเฉิ น)
      (Preparedness)                         ระหว่างเกิดภัย
                                                                     (Response and Relief or Emergency
                          ก่อนเกิดภัย
                                                                   หลังเกิดงภัยดภัย
                                                                       หลั เกิ
     1. การป้ องกันและลดผลกระทบ
   (Prevention and Mitigation)                                     4. การฟื้ นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
                                                              (Rehabilitation and Reconstruction)


               แผนภูมิที่ 1 วัฏจักรการบริหารจัดการสาธารณภัย (Disaster Management Cycle)
       เมื่อพิจารณาวงจรการปฏิบัติการตามวัฏจักรของสาธารณภัย สามารถสรุปภารกิจในการบริ หาร
จัดการสาธารณภัยได้ เป็ น 3 กลุ่มภารกิจ คือ ภารกิจก่อนเกิดภัย ภารกิจระหว่างเกิดภัย และภารกิจหลังเกิด
X
ภัย โดยกิจกรรมในแต่ละกลุ่มภารกิจต้ องมีศักยภาพในการประสานความร่ วมมือปฏิบัติงานจากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้ องอย่างเป็ นขั้นตอนและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทุกกิจกรรมดังกล่าว ข้ างต้ นจะปรากฏตามแผนการป้ องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย ภายใต้ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ซึ่งกําหนดให้ มี
สาระสําคัญอย่างน้ อยในเรื่อง
            (1) แนวทาง มาตรการ และงบประมาณที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                                           ํ
อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง
            (2) แนวทางและวิธการในการให้ ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้ อนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้ า
                                ี
และระยะยาวเมื่ อ เกิด สาธารณภั ย รวมถึง การอพยพประชากร หน่ ว ยงานของรั ฐ และองค์ก รปกครอง
ส่วนท้ องถิ่น การสงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย การดูแลเกี่ยวกับการสาธารณสุขและการแก้ ไขปั ญหาเกี่ยวกับการ
สื่อสารและ การสาธารณูปโภค
             (3)       หน่ วยงานของรั ฐและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นที่รับผิดชอบ และวิธีการให้ ได้ มาซึ่ง
งบประมาณเพื่อการดําเนินงาน
             (4) แนวทางในการเตรียมพร้ อมด้ านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ และจัดระบบปฏิบัติการ
ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงการฝึ กบุคลากรและประชาชน
             (5) แนวทางในการซ่อมแซม บูรณะ ฟื้ นฟู และให้ ความช่วยเหลือประชาชนหลังสาธารณภัยสิ้นสุด

                          ------------------------------------
ส่วนที่ 1

หลักการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1

                                            บทที่ 1
                               ข้อมูลพื้ นฐานของจังหวัดชุมพร
1.1 สภาพภูมสงคม ิ ั
       1.1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์
                จังหวัดชุมพร ตั้งอยู่ตอนบนสุดของภาคใต้ ระหว่างเส้ นละติจูดที่ 10 องศา 29 ลิปดาเหนือ
และเส้ นลองติจูดที่ 99 องศา 11 ลิปดาตะวันออก สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดมีลักษณะยาวและ
แคบ ทิศตะวันตกมีลักษณะเป็ นที่สงมีเทือกเขาตะนาวศรีและเทือกเขาภูเก็ต เป็ นแนวกั้นเขตแดนธรรมชาติ
                                    ู
บริเวณตอนกลางเป็ นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ ทิศตะวันออกของจังหวัดมีลักษณะเป็ นที่ราบตามแนวชายฝั่ง
ทะเลของอ่าวไทย โดยมีชายฝั่งทะเลยาวถึง 222 กิโลเมตร ความกว้ างของจังหวัดโดยเฉลี่ย 36 กิโลเมตร
มีเนื้อที่ 6,010.849 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 3.75 ล้ านไร่ มีพ้ ืนที่มากเป็ นอันดับ 4 ของภาคใต้ อยู่
ห่างจากกรุงเทพมหานครตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (เพชรเกษม) 463 กิโลเมตร และมีอาณาเขต
ติดต่อกับจังหวัดใกล้ เคียง ดังนี้
                ทิศเหนือ              ติดต่อกับจังหวัดประจวบคีรีขนธ์  ั
                ทิศใต้                ติดต่อกับจังหวัดสุราษฎร์ธานี
                ทิศตะวันตก            ติดต่อกับจังหวัดระนอง และประเทศเมียนม่าร์
                ทิศตะวันออก           ติดต่อกับอ่าวไทย
       1.1.2 ลักษณะทางการปกครอง
                (1) การปกครองท้องที่
                       จังหวัดชุมพร แบ่งตามเขตลักษณะการปกครองท้ องที่ จํานวน 8 อําเภอ แบ่งเป็ นตําบล
จํานวน 70 ตําบล แบ่งเป็ นหมู่บ้าน จํานวน 743 หมู่บ้าน ดังนี้
                       (1.1) อําเภอเมืองชุมพร มีตาบลจํานวน 17 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 161 หมู่บ้าน
                                                                ํ
                       (1.2) อําเภอท่าแซะ          มีตาบลจํานวน 10 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 116 หมู่บ้าน
                                                            ํ
                       (1.3) อําเภอปะทิว           มีตาบลจํานวน 7 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 75 หมู่บ้าน
                                                                    ํ
                       (1.4) อําเภอสวี             มีตาบลจํานวน 11 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 115 หมู่บ้าน
                                                                  ํ
                       (1.5) อําเภอทุ่งตะโก มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 35 หมู่บ้าน
                                                          ํ
                       (1.6) อําเภอหลังสวน มีตาบลจํานวน 13 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 148 หมู่บ้าน
                                                              ํ
                       (1.7) อําเภอละแม            มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 47 หมู่บ้าน
                                                        ํ
                       (1.8) อําเภอพะโต๊ะ          มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 46 หมู่บ้าน
                                                      ํ
                (2) การปกครองท้องถิน มีหน่วยการปกครอง ดังนี้
                                          ่
                       (2.1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด                 จํานวน 1 แห่ง
                       (2.2) เทศบาลเมือง                              จํานวน 2 แห่ง
                       (2.3) เทศบาลตําบล                              จํานวน 23 แห่ง
                       (2.4) องค์การบริหารส่วนตําบล                   จํานวน 53 แห่ง
2
(3) ประชากร (จํานวนแยกตามเพศ จํานวนครัวเรือน)
    จังหวัดชุมพร มีจานวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 183,384 ครัวเรือน
                    ํ
    มีประชากรรวมทั้งสิ้น                จํานวน 484,722 คน
    เป็ นเพศชาย                         จํานวน 241,801 คน
    เป็ นเพศหญิง                        จํานวน 242,921 คน
    (3.1) อําเภอเมืองชุมพร มีประชากรจํานวน 142,842 คน จํานวน 34,735 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 70,408 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 72,424 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 28,127 คน/สตรี จํานวน 47,416 คน/คนชรา
            จํานวน 17,947 คน)
    (3.2) อําเภอท่าแซะ มีประชากรจํานวน 79,637 คน จํานวน 27,762 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 40,156 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 39,481 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 17,272 คน/สตรี จํานวน 25,472 คน/คนชรา
            จํานวน 8,728 คน)
    (3.3) อําเภอปะทิว มีประชากรจํานวน 45,899 คน จํานวน 14,183 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 22,956 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 22,943 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 9,735 คน/สตรี จํานวน 15,036 คน/คนชรา
            จํานวน 5,299 คน)
    (3.4) อําเภอสวี มีประชากรจํานวน 69,880 คน จํานวน 26,044 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 34,944 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 34,936 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 14,854 คน/สตรี จํานวน 22,652 คน/คนชรา
            จํานวน 8,343 คน)
    (3.5) อําเภอทุ่งตะโก มีประชากรจํานวน 24,345 คน จํานวน 7,509 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 12,217 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 12,128 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 4,967 คน/สตรี จํานวน 8,027 คน/คนชรา
            จํานวน 2,910 คน)
    (3.6) อําเภอหลังสวน มีประชากรจํานวน 71,371 คน จํานวน 18,496 ครัวเรือน
            เป็ นเพศชาย                 จํานวน 35,179 คน
            เป็ นเพศหญิง                จํานวน 36,192 คน
            (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 13,786 คน/สตรี จํานวน 23,702 คน/คนชรา
            จํานวน 9,806 คน)
3
                     (3.7) อําเภอละแม มีประชากรจํานวน 28,115 คน จํานวน 9,414 ครัวเรือน
                           เป็ นเพศชาย                จํานวน 14,178 คน
                           เป็ นเพศหญิง               จํานวน 13,937 คน
                           (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 6,370 คน/สตรี จํานวน 9,185 คน/คนชรา
                           จํานวน 2,962 คน)
                     (3.8) อําเภอพะโต๊ะ มีประชากรจํานวน 22,633 คน จํานวน 8,866 ครัวเรือน
                           เป็ นเพศชาย                จํานวน 11,763 คน
                           เป็ นเพศหญิง               จํานวน 10,870 คน
                           (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 4,786 คน/สตรี จํานวน 7,454 คน/คนชรา
                           จํานวน 2,133 คน)
      (ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้ อมูล ณ วันที่ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551)
    1.1.3 ลักษณะการประกอบอาชีพ
1.2 สถิติการเกิดสาธารณภัยของจังหวัดชุมพร
    1.2.1 อุทกภัย/ดินโคลนถล่ม
     จํานวนครั้งที่เกิด   จํานวนครัวเรือนที่
 ปี                                              พื้นที่ประสบภัย    เสียชีวิต    บาดเจ็บ     มูลค่าความเสียหาย
           ภัย                ประสบภัย
พ.ศ.                                                 (อําเภอ)        (คน)         (คน)           (ล้ านบาท)
          (ครั้ ง)           (ครัวเรือน)
2550        2                  21,608                   7              1             -           202.4596
2551        6                  30,820                   8              -             -           318.2030
2552        6                  39,526                   7              2             -           179.7882

       1.2.2 ภัยแล้ง
                                                                                จํานวนสัตว์ท่ี
     จํานวนครั้งที่เกิด                 จํานวนครัวเรือนที่ พื้นที่การเกษตร
 ปี                     พื้นที่ประสบภัย                                             ได้ รับ    มูลค่าความเสียหาย
           ภัย                              ประสบภัย           เสียหาย
พ.ศ.                        (อําเภอ)                                             ผลกระทบ           (ล้ านบาท)
          (ครั้ ง)                         (ครัวเรือน)            (ไร่)
                                                                                    (ตัว)
2550          1                8               22,649                -                -                  -
2551          -                -                  -                  -                -                  -
2552          1                8               39,027              96,994             -             14.5144

       1.2.3 อัคคีภย
                   ั
 ปี จํานวนครั้งที่เกิดภัย พื้นที่ประสบภัย      จํานวนบ้ านเรือนเสียหาย เสียชีวิต บาดเจ็บ มูลค่าความเสียหาย
พ.ศ.      (ครั้ ง)            (อําเภอ)                  (หลัง)          (คน)      (คน)       (ล้ านบาท)
2550       20                     6                       20               -        -          4.2001
2551       37                     8                       37               -        -          7.9766
2552       23                     8                       26               -        -          2.8308
4
        1.2.4 ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
   ปี         จํานวนครั้งที่เกิดอุบัติเหตุ         เสียชีวิต              บาดเจ็บ              มูลค่าความเสียหาย
  พ.ศ.                (ครั้ ง)                      (คน)                   (คน)                    (ล้ านบาท)
  2550                   540                         150                    77                       17.401
  2551                   498                         175                   287                       19.360
  2552                   350                         142                    74                       28.181
        1.2.5 ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน
                                                               จํานวนบ้ านเรือน     จํานวนบ้ านเรือน
  ปี      จํานวนครั้งที่เกิดอุบัติภัย    พื้นที่ประสบภัย                                             มูลค่าความเสียหาย
                                                                เสียหายทั้งหลัง     เสียหายบางส่วน
 พ.ศ.            (ครั้ ง)                    (อําเภอ)                                                    (ล้ านบาท)
                                                                    (หลัง)               (หลัง)
2550                 12                        4                      -                   20               0.3699
2551                 31                        8                      12                 1091              1.7010
2552                 16                        8                      -                   55               0.4927
(ที่มา : สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร)
1.3 การประเมินความเสียงของจังหวัด
                             ่
          จากสถิติการเกิด อุทภัย ภัยแล้ ง อัคคีภัย ภัยจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน วาตภัย ในพื้นที่จังหวัด
ชุมพร ซึ่งมีโอกาสเกิดบ่อยครั้งและรุนแรงมากยิ่งขึ้น ประกอบกับลักษณะภูมิประเทศมีลักษณะยาวและแคบ
ทิศตะวันตกเป็ นที่สงมีเทือกเขา บริเวณตอนกลางเป็ นที่ราบลุ่ม และทิศตะวันออกเป็ นที่ราบตามแนวชายฝั่ง
                     ู
ทะเลของอ่ า วไทย ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ และลมมรสุ ม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําให้ ฝนตกชุ ก ในช่ วง ปี 2545-2550 ปริ มาณนํ้าฝนโดยเฉลี่ย 1,553-2,306
มิลลิเมตร ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัย ดังนี้
       1.3.1 อุทกภัยและดินโคลนถล่ม
       1.3.2 ภัยแล้ ง
       1.3.3 อัคคีภัย
       1.3.4 ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
       1.3.5 ภัยจากพายุหมุนเขตร้ อน
       1.3.6 ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย ั
       1.3.7 ภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน
       1.3.8 ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์
       1.3.9 ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด
       1.3.10 ภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์นา      ํ้
       1.3.11 ภัยจากอากาศหนาว
       1.3.12 ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม
       1.3.13 ภัยจากคลื่นสึนามิ
       1.3.14 ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
          จากความเสี่ยงต่อสาธารณภัย ดังกล่าวข้ างต้ น ส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สนของประชาชนและของรัฐ
                                                                                  ิ
ดังนั้น จังหวัดชุมพร จึงจัดทําแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร ประจําปี พ.ศ. 2553-2557
5
                                   ปฏิทินสาธารณภัยประจํ าปี 2553
  ประเภทภัย         ชนิดของภัย                           ระยะเวลา (เดือน)       เกณฑ์การพิจารณา
ภัยธรรมชาติ ‐ ภัยหนาว                                       ต.ค. – ม.ค.      อุณหภูมิต่ากว่า 15 องศา
                                                                                       ํ
                                                                             ติดต่อกัน เกิน 3 วัน
                ‐ ภัยแล้ ง                                 ม.ค. – พ.ค.

                ‐    ไฟป่ า                                มี.ค. - พ.ค.
                ‐    พายุฤดูร้อน พายุฝนฟ้ าคะนอง           มี.ค. - พ.ค.
                ‐    อุทกภัย                               พ.ค. - ม.ค.
                ‐    ดินโคลนถล่ม                           พ.ค. - ม.ค.

                 ‐   พายุหมุนเขตร้ อน คลื่นพายุซัดฝั่ง       ต.ค. - ธ.ค.
                 ‐   แผ่นดินไหว                           เฝ้ าระวังตลอดปี
ภัยจากมนุษย์ ‐       อุบัติเหตุทางถนน                     เฝ้ าระวังตลอดปี
                 ‐   สารเคมีและวัตถุอนตราย
                                       ั                  เฝ้ าระวังตลอดปี
                 ‐   อัคคีภัย                             เฝ้ าระวังตลอดปี
                 ‐   ความปลอดภัยในการใช้ ไฟฟ้ า           เฝ้ าระวังตลอดปี
ภัยที่เกิดขึ้นใน ‐   ภัยวันลอยกระทง                              พ.ย.
ช่วงเวลาหรือ
เทศกาลต่าง ๆ
                 ‐   ภัยในช่วงเทศกาลปี ใหม่            ธ.ค. - ม.ค.
                 ‐   ภัยในช่วงวันเด็ก              สัปดาห์ท่ี 2 ของ ม.ค.
                 ‐   อุบัตภัยในช่วงเทศกาล
                           ิ
                                     o ตรุษจีน         ม.ค. – ก.พ.
                                     o เชงเม้ ง    สัปดาห์แรกของ เม.ย.
                ‐    อุบัตภัยช่วงเทศกาลสงกรานต์
                             ิ                             เม.ย.
                ‐    อุบัตภัยในช่วงปิ ดภาคเรียน
                               ิ                   ต.ค. และ มี.ค.-พ.ค.
                ‐    อุบัตภัยในช่วงเปิ ดภาคเรียน พ.ย.-ก.พ. และ มิ.ย.-ก.ย.
                                 ิ
                ‐    อุบัตภัยในช่วงเทศกาล
                                   ิ                       ก.ค.
                     เข้ าพรรษา
6

                                    บทที่ 2
       วิสยทัศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
          ั                   ้              ้
2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT analysis)
          สถานการณ์ของการเกิดสาธารณภัย ส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ทั้งทางภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ภาคบริการ ถือได้ ว่าสร้ างความเสียหายอย่ างยิ่งต่ อส่วนรวม จึงจําเป็ นต้ อง
สนั บ สนุ น การจั ด การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยมีระบบบริ หารจัด การให้ ทันสมั ยและประยุ กต์ใ ช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้ านการจัดการสาธารณภัยอย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
เพิ่มขีดความสามารถด้ านการป้ องกันและลดผลกระทบ โดยการเตรียมความพร้ อม การบริหารจัดการในภาวะ
ฉุกเฉิน และการฟื้ นฟูและบูรณะ เพื่อเสริมสร้ างความมั่นคงของจังหวัด เพื่อการปฏิบัติการและประสานการ
บู ร ณาการของทุ ก ภาคส่ ว น ทั้ง ภาครั ฐ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น รั ฐ วิ ส าหกิจ ภาคเอกชน มู ล นิ ธิ และ
อาสาสมัคร ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้ เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย
        การวิเคราะห์สภาพแวดล้ อมและขีดสมรรถนะ (SWOT analysis) ของจังหวัดชุมพร ดังนี้
        จุดแข็ง                         จุดอ่อน                          โอกาส                    อุปสรรค/อันตราย
1. มีแหล่งท่องเที่ยวทาง      1. ทรัพยากรธรรมชาติ                1. จังหวัดให้ ความสําคัญ      1. ระบบการเตือนภัย
ทะเล แหล่งดํานํา   ้         ถูกทําลายและเสื่อมโทรม             ในการบูรณาการหน่วยงาน         ไม่ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงภัย
2. ที่ต้ังของจังหวัดอยู่     2. โครงสร้ างพื้นฐานหลัก           ทุกภาคส่วนด้ านการป้ องกัน    2. สาธารณภัยเกิดนอกเหนือ
บริเวณเชื่อมต่อ 2 ฝั่ง       ไม่เพียงพอ เช่น ระบบ               และบรรเทาสาธารณภัย            การควบคุมทําให้ ยากต่อ
มหาสมุทรและมีระบบ            ชลประทาน ระบบระบายนํา    ้         2. ภาคีเครือข่ายในการ         การจัดการ
คมนาคมขนส่งทั้งทางถนน        แหล่งกักเก็บนํา และระบบการ
                                            ้                   ป้ องกันและบรรเทาสาธารณ       3. การเชื่อมโยงระบบงาน
รถไฟ ทางนํา    ้             คมนาคมขนส่ง                        ภัย มีส่วนร่วมและ             ในแต่ละหน่วยงานไม่ท่วถึง
                                                                                                                     ั
3. มีเครือข่ายสนับสนุนให้    3. ขาดอุปกรณ์และเครื่องมือ         เห็นความสําคัญในการป้ องกัน   4. สภาพภูมิประเทศเป็ นภูเขา
ความร่วมมือในการป้ องกัน     ที่ทนสมัย เครื่องจักรกล รถกู้ภัย
                                 ั                              และบรรเทาสาธารณภัย            สูงชัน แม่นา และเป็ นร่องมรสุม
                                                                                                         ํ้
และบรรเทาสาธารณภัย           และอุปกรณ์อยู่ในสภาพเก่า           3. มีกฎหมายเป็ นหลักในการ     พาดผ่านทําให้ เกิดอุทกภัยและ
จํานวนมาก                    4. ขาดระบบฐานข้ อมูลในการ          ทํางาน                        ดินโคลนถล่มได้ ง่าย
4. มีงบประมาณเกี่ยวกับ       เตือนภัย และเครื่องมือ             4. หน่วยงานภาครัฐ องค์กร      5. สังคมขาดวัฒนธรรม
สาธารณภัยระดับจังหวัดใน      เทคโนโลยีในการเตือนภัย             ปกครองส่วนท้ องถิ่น มูลนิธิ   ความปลอดภัย
อํานาจผู้ว่าราชการจังหวัด                                       สมาคม อาสาสมัคร และ
ตามระเบียบ กค.ว่าด้ วยเงิน                                      ประชาชน เป็ นเครือข่าย
ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ                                       ทํางานด้ านการป้ องกันและ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณี                                           บรรเทาสาธารณภัย
ฉุกเฉิน พ.ศ.2546 และ                                            ครอบคลุมในทุกพื้นที่
ที่แก้ ไขเพิ่มเติม
7
2.2 วิสยทัศน์ (Vision)
             ั
             “บู ร ณาการหน่ ว ยงานทุ ก ภาคส่ ว นในการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย อย่ า งเป็ นระบบ และ
มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ จังหวัดชุมพร เป็ นเมืองปลอดภัย น่าอยู่”
2.3 พันธกิจ (Mission)
       2.3.1 วางแผน เฝ้ าระวัง ป้ องกัน และเตือนภัย จัดทําแผนด้ านการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
วางระบบมาตรการและกํากับดูแลความปลอดภัยด้ านการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พัฒนาระบบการ
เฝ้ าระวังและการแจ้ งเตือนภัย ก่อสร้ างและปรังปรุงโครงสร้ างพื้นฐานเพื่อการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ส่งเสริมการมีส่วนร่ วมของประชาชน เตรียมเครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ กู้ชีพ/กู้ ภัย เตรียม
บุคลากร และอาสาสมัคร จัดให้ มีการฝึ กอบรม ฝึ กซ้ อมและฝึ กปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
       2.3.2 ปฏิบัติการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประเมินสถานการณ์ ประเมินความต้ องการ รายงาน
สถานการณ์ อํานวยการปฏิบัติการฉุ กเฉิ นอพยพและช่ วยเหลือประชาชนในพื้ นที่เสี่ยงภัยและประสานการ
ปฏิบัติการสนับสนุนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
       2.3.3 ช่วยเหลือ สงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย และบรรเทาเหตุเบื้องต้ นแก่ผ้ ูประสบภัย พัฒนาระบบการให้
ความช่วยเหลือและสงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย
       2.3.4 ฟื้ นฟูพ้ ืนที่ประสบภัย จัดทําโครงการฟื้ นฟูสภาพพื้นที่และโครงสร้ างพื้นฐานที่ได้ รับความเสียหาย
จากสาธารณภัย และฟื้ นฟูสภาพจิตใจ รวมทั้งอาชีพของผู้ประสบภัย
2.4 เปาประสงค์ (Goals)
           ้
       2.4.1 ป้ องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยทั้งเชิงโครงสร้ างและไม่ใช่โครงสร้ าง
       2.4.2 ลดความเสี่ยงของประชาชนจากภัยพิบัติ
       2.4.3 สร้ างความพร้ อมการบริหารจัดการสาธารณภัย
       2.4.4 บริหารจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ
       2.4.5 ประชาชนได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ และฟื้ นฟู ห ลั ง เกิ ด ภั ย พิ บั ติ อ ย่ า งเป็ นธรรมทั่ ว ถึ ง และ
                    มีประสิทธิภาพ
       2.4.6 โครงสร้ างพื้นฐานที่เสียหายได้ รับการปรับปรุงและซ่อมบํารุงให้ สามารถใช้ งานได้
       2.4.7 ประชาชนผู้ประสบภัยและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียมีความพึงพอใจในการให้ บริการ
       2.4.8 พัฒนาองค์กรให้ มีขดสมรรถนะสูง
                                      ี
2.5 ขอบเขตสาธารณภัย
             สาธารณภั ย หมายถึ ง อั ค คี ภั ย วาตภั ย อุ ท กภั ย ภั ย แล้ ง โรคระบาดในมนุ ษ ย์ โรคระบาดสั ต ว์
โรคระบาดสัตว์นํ้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่ อสาธารณชน ไม่ ว่าเกิดจาก
ธรรมชาติ มีผ้ ูทาให้ เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่นใด ซึ่งก่อให้ เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่ างกายของประชาชน หรือ
                    ํ                              ื
ความเสียหายแก่ทรั พย์สินของประชาชน หรื อของรัฐ และให้ หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่ อ
วินาศกรรมด้ วย
             ภัยทางอากาศ หมายถึง ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ
             การก่อวินาศกรรม หมายถึง การกระทําใดๆ อันเป็ นการมุ่งทําลายทรัพย์สนของประชาชนหรือของรัฐ
                                                                                      ิ
หรื อ สิ่ง อัน เป็ นสาธารณูป โภค หรื อ การรบกวนขั ด ขวาง หน่ ว งเหนี่ ย วระบบการปฏิบั ติ ง านใดๆ ตลอดจน
การประทุษร้ ายต่อบุคคลอันเป็ นการก่อให้ เกิดความปั่นป่ วนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดย
8
มุ่งหมายที่จะก่อให้ เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ
        การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร พ.ศ.
2553-2557 กําหนดขอบเขตสาธารณภัยไว้ ดังนี้
      2.5.1 ด้านสาธารณภัย
               (1) อุทกภัยและดินโคลนถล่ม
               (2) ภัยจากพายุหมุนเขตร้ อน
               (3) ภัยจากอัคคีภย  ั
               (4) ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย
                                           ั
               (5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
               (6) ภัยแล้ ง
               (7) ภัยจากอากาศหนาว
               (8) ภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน
               (9) ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม
               (10) ภัยจากคลื่นสึนามิ
               (11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์
               (12) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด
               (13) ภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์นา ํ้
               (14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
      2.5.2 ภัยด้านความมันคง   ่
               (1) ภัยจากการก่อวินาศกรรม
               (2) ภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด
               (3) ภัยทางอากาศ
               (4) ภัยจากการชุมนุมประท้ วงและก่อการจลาจล
9

                                      บทที่ 3
                        แผนงานในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                    ้
          ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัด จะดําเนินการอย่างครบวงจรวัฏจักรของสาธารณภัย
ในแนวทางการปฏิบัติการในเชิงรุก (Proactive Approch) ซึ่งจะเป็ นการป้ องกันและลดผลกระทบ การเตรียม
ความพร้ อม การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการฟื้ นฟูบูรณะ โดยมีแนวทางและกิจกรรมที่สาคัญให้ สอดรับกับ
                                                                                            ํ
พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น พ.ศ.2550 แผนปฏิบั ติ ร าชการ 4 ปี พระราชบั ญ ญั ติ
งบประมาณ และระเบียบว่าด้ วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 โดยแผนงานในการป้ องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยเป็ นแผนงานระยะ 5 ปี มีการแบ่งกระบวนการออกเป็ น 3 ระยะของการจัดการสาธารณภัย ดังนี้
3.1 ระยะก่อนเกิดสาธารณภัย
        3.1.1 มาตรการการปองกันและลดผลกระทบ เป็ นการปรับระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยให้ มี
                                 ้
ขีดความสามารถในการเตรียมการเผชิญสาธารณภัยต่างๆ ไว้ ล่วงหน้ าก่อนเกิดภัยเป็ นการลดความรุนแรงและ
ลดความสูญเสียจากสาธารณภัยที่มต่อประชาชนในพื้นที่ให้ มีความเสี่ยงให้ มีน้อยที่สด ได้ แก่
                                     ี                                              ุ
                    (1) การประเมินความเสี่ยงภัย โดยการประเมินภัยและความล่ อแหลม เพื่อประเมินโอกาส
หรือความไปได้ ท่ีจะเกิดสาธารณภัยและผลกระทบที่อาจเป็ นอันตรายต่อสาธารณชน เพื่อกําหนดมาตรการที่
เหมาะสมในการป้ องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยที่อาจจะเกิดขึ้น
                    (2) การปองกันสาธารณภัยโดยใช้มาตรการด้านโครงสร้าง การป้ องกันโดยใช้ โครงสร้ าง
                              ้
หมายถึง การใช้ ส่ิงก่อสร้ างที่มนุ ษย์สร้ างขึ้น เช่ น อาคาร เขื่อน กําแพง อ่างเก็บนํา ฝาย เหมือง การขุดลอก
                                                                                      ้
คลองระบายนํา เส้ นทางคมนาคมเพื่อส่งกําลังบํารุง ป้ ายสัญญาณ ฯลฯ เพื่อการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                  ้
ซึ่งจะต้ องพิจารณาให้ สอดคล้ องกับสภาพพื้นที่ว่าควรใช้ การป้ องกันแบบใดจึงจะเหมาะสมกับสภาพพื้นที่เสี่ยง
ภัยนั้นๆ ประกอบด้ วย
                        (2.1) จัดหาพื้นที่รองรับนําและกักเก็บนํา เช่น อ่างเก็บนํา เขื่อน สระนํา ทํานบ เหมือง
                                                      ้            ้              ้             ้
ฝาย รวมทั้ง การขุ ด ลอกคู ค ลอง แหล่ ง นํ้า สาธารณะที่ต้ ื นเขิ น คลองส่ ง นํ้า และคลองระบายนํ้า เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพการกักเก็บนําไว้ ใช้ ในฤดูแล้ งและการระบายในฤดูฝน
                            ้
                        (2.2) ก่อสร้ างกําแพง ผนัง หรือรอดักตะกอน เพื่อป้ องกันการเอ่อล้ นหรือสูญเสียพื้นดิน
จากการกัดเซาะชายฝั่งของทะเลและแม่นา        ํ้
                        (2.3) สร้ างอาคารหรือสถานที่เพื่อเป็ นสถานที่หลบภัย สําหรับพื้นที่ท่การหนีภัยทําได้
                                                                                              ี
ยาก หรือไม่มพ้ ืนที่หลบภัยที่เหมาะสม
                ี
                        (2.4) กรณีการก่อสร้ างอาคารและสิ่งปลูกสร้ างในพื้นที่เสี่ยงภัยต้ องให้ มีความมั่นคง
แข็งแรงและมีระบบความปลอดภัยสําหรับผู้ใช้ อาคาร ทั้งนี้ให้ เป็ นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.
2522 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม รวมทั้งข้ อกําหนดและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้ อง
                        (2.5) ก่อสร้ าง/ปรับปรุงเส้ นทางเพื่อการส่งกําลังบํารุง หรือเส้ นทางไปสถานที่หลบภัย
ให้ ใช้ การได้ ตลอดเวลา
                    (3) การจั ด การระบบข้อ มู ล สารสนเทศด้า นการบริ ห ารจั ด การสาธารณภัย เพื่ อ จั ด ทํา
ฐานข้ อมูลด้ านสาธารณภัยให้ สมบูรณ์ ทันสมัย สามารถเชื่อมต่ อระบบข้ อมูลได้ ระหว่างหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง
ตั้งแต่ระดับจังหวัดถึงระดับท้ องถิ่น
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน

More Related Content

What's hot

หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557Poramate Minsiri
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019Kasem Boonlaor
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 filePeachy Man
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSPongsatorn Sirisakorn
 
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15Issara Thainsri
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022Kasem Boonlaor
 

What's hot (15)

หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
Flood tistr
Flood tistrFlood tistr
Flood tistr
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พศ2553 – 2557
 
Po345 (final)
Po345 (final)Po345 (final)
Po345 (final)
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 file
 
ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
 
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15
560213-เตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 56 ในเขต สชป.15
 
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
 
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
 
รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
 

More from Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน

  • 1. แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2553-2557 กองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร ้ โทรศัพท์ / โทรสาร 0 7750 3230 สป.มท. 66136
  • 2. คํานํา สาธารณภั ย มี แ นวโน้ ม จะเกิด ขึ้ นอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น เนื่ อ งจากความแปรปรวน ของภู มิ อ ากาศ การเพิ่ ม จํ า นวนประชากร ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ ป ระกอบกั บ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างสังคม จากสังคมชนบทไปสู่สังคมเมืองอย่างรวดเร็ว ประชาชนอาศัยอยู่ในพื้นที่ เสี่ยงภัยเพิ่มขึ้นส่งผลให้ ความเสียหายจากสาธารณภัยรุนแรงมากขึ้น ทั้งภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ ง และภัยจากการกระทําของมนุ ษย์ เช่ น อัคคีภัย อุบัติภัย การรั่วไหลของสารเคมีอันตราย ซึ่งเป็ น ภัยร้ า ยแรงสร้ า งความสูญ เสีย และเสีย หายแก่ ชีวิ ต ทรั พย์ สิน ของประชาชน สิ่ง สาธารณประโยชน์ และ ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นอย่างมาก แผนการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย จัง หวัด ชุ ม พร พ.ศ. 2553-2557 จั ด ทํา ขึ้น เพื่ อ เป็ น แนวทางในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย การเตรียมความพร้ อมในการป้ องกันและลดความสูญเสีย ความเสียหายแก่ ชีวิต ทรั พย์สินของประชาชนและของรัฐได้ ด้วยความร่ วมมืออย่ างจริงจัง มุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละของทุ ก ภาคส่ วน ทั้ง ภาครั ฐ องค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น รั ฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน มู ลนิ ธิ และ อาสาสมัคร ในการปฏิบัติตามแผนฯ ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างเป็ นระบบและเป็ นเอกภาพ ทั้งนี้เพื่อ ความปลอดภัยในชีวต ทรัพย์สน และประโยชน์สขของประชาชนเป็ นสําคัญ ิ ิ ุ (นายไพโรจน์ แสงภู่วงษ์) รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร รักษาราชการแทน ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ผู้อานวยการจังหวัด ํ รอง ผวจ. ......................./........./........../........ หน.ปภ.........................../........./........../........ หน.กลุ่มงาน..................../........./........../........ หน.ฝ่ าย........................./........./........../......... ผู้ปฏิบัติ........................./........./........../......... พิมพ์ทาน......................./........./........../.........
  • 3. I สารบัญ หน้า คํานํา สารบัญ I คําย่อ V แผนทีจงหวัด ่ั VIII บทนํา IX ส่วนที่ 1 หลักการปองกันและบรรเทาภัย ้ บทที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานของจังหวัด 1 1.1 สภาพภูมสงคมิ ั 1 1.2 สถิติการเกิดสาธารณภัยของจังหวัด 3 1.3 การประเมินความเสี่ยงภัยของจังหวัด 4 บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิสยทัศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ ใน ั ้ 6 การปองกันและบรรเทาภัย ้ 2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้ อม (SWOT analysis) 6 2.2 วิสยทัศน์ (Vision) ั 7 2.3 พันธกิจ (Mission) 7 2.4 เป้ าประสงค์ (Goals) 7 2.5 ขอบเขตสาธารณภัย 7 บทที่ 3 แผนงานในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ 9 3.1 ระยะก่อนเกิดภัย 9 3.1.1 มาตรการการป้ องกันและลดผลกระทบ 9 3.1.2 มาตรการการเตรียมความพร้ อม 10 3.2 ระยะขณะเกิดสาธารณภัย 12 3.2.1 มาตรการการบริหารจัดการในสภาวะฉุกเฉิน 12 3.3 ระยะหลังจากเกิดสาธารณภัย 16 3.3.1 มาตรการการจัดการหลังเกิดภัย 16 บทที่ 4 หลักการปฏิบติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ั ้ 17 4.1 วัตถุประสงค์ 17 4.2 นิยามศัพท์ 17 4.3 หลักการปฏิบติ ั 18 4.4 ระดับความรุนแรงของสาธารณภัย 19 4.5 อํานาจหน้ าที่ผ้ ูอานวยการแห่งพื้นที่ ํ 19 4.6 แนวทางการปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับ 21 หน่วยทหาร 4.7 ความสอดคล้ องในการปฏิบติกบแผนอื่น ั ั 21
  • 4. II สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 5 การจัดตั้งกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ 27 5.1 องค์กรปฏิบัติ 27 5.1.1 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย 27 องค์การบริหารส่วนตําบล 5.1.2 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล 27 5.1.3 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ 27 5.1.4 กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 27 5.2 โครงสร้ างและหน้ าที่ 27 5.3 การบรรจุกาลังํ 29 บทที่ 6 การปฏิบติก่อนเกิดสาธารณภัย ั 31 6.1 วัตถุประสงค์ 31 6.2 หลักการปฏิบติ ั 31 6.3 การป้ องกันและลดผลกระทบ 31 6.3.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยของจังหวัด 31 6.3.2 การเตรียมการด้ านฐานข้ อมูลและระบบสารสนเทศ 31 6.3.3 การส่งเสริมให้ ความรู้และสร้ างความตระหนักด้ านการ 31 ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย 6.3.4 การเตรียมการป้ องกันด้ านโครงสร้ างและเครื่องหมาย 32 สัญญาณเตือนภัย 6.4 การเตรียมความพร้ อม 32 6.4.1 ด้ านบุคลากร 32 6.4.2 ด้ านการจัดระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน 33 6.4.3 ด้ านเครื่องจักรกล ยานพาหนะ วัสดุอปกรณ์ เครื่องมือ ุ 33 เครื่องใช้ และพลังงาน บทที่ 7 การปฏิบติเมือเกิดสาธารณภัย ั ่ 37 7.1 วัตถุประสงค์ 37 7.2 หลักการปฏิบติ ั 37 7.3 การปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัย 38 7.3.1 การจัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ ํ 38 7.3.2 การแจ้ งเตือนภัย 44 7.3.3 การประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน 45 7.3.4 การประสานการปฏิบัตกบองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ิ ั 46
  • 5. III สารบัญ (ต่อ) หน้า 7.3.5 การประสานการปฏิบัติกบองค์การสาธารณกุศล ั 47 7.3.6 การดําเนินการกรณีเกิดสาธารณภัยขนาดใหญ่ 48 7.3.7 การพิสจน์เอกลักษณ์บุคคล ู 50 7.3.8 การสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน 51 7.3.9 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน 55 บทที่ 8 การอพยพ 56 8.1 วัตถุประสงค์ 56 8.2 การปฏิบัติ 56 8.2.1 การเตรียมการอพยพ 56 8.2.2 องค์กรหลักที่ดาเนินการอพยพ ํ 56 8.2.3 องค์กรสนับสนุนการปฏิบัติ 56 8.2.4 ขั้นตอนการอพยพ 57 8.2.5 การอพยพส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น 59 บทที่ 9 การปฏิบติหลังเกิดสาธารณภัย ั 60 9.1 วัตถุประสงค์ 60 9.2 หลักการปฏิบติ ั 60 9.3 การปฏิบัติ 60 9.3.1 การฟื้ นฟูผ้ ูประสบภัย 60 9.3.2 การฟื้ นฟูโครงสร้ างพื้นฐาน 61 9.3.3 การให้ ความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน 62 9.3.4 การติดตามประเมินผล 62 บทที่ 10 บทบาท หน้าทีของหน่วยงานทีเกียวข้องกับการปองกันและบรรเทา ่ ่ ่ ้ 63 สาธารณภัย ส่วนที่ 2 กระบวนการปองกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัย ้ บทที่ 11 การปองกันและบรรเทาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม ้ 71 บทที่ 12 การปองกันและบรรเทาภัยจากพายุหมุนเขตร้อน ้ 78 บทที่ 13 การปองกันและบรรเทาภัยจากอัคคีภย ้ ั 85 บทที่ 14 การปองกันและบรรเทาภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย ้ ั 91 บทที่ 15 การปองกันและบรรเทาภัยจากการคมนาคมและขนส่ง ้ 99 บทที่ 16 การปองกันและบรรเทาภัยแล้ง ้ 105 บทที่ 17 การปองกันและบรรเทาภัยจากอากาศหนาว ้ 109 บทที่ 18 การปองกันและบรรเทาภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน ้ 113 บทที่ 19 การปองกันและบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ้ 119
  • 6. IV สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 20 การปองกันและบรรเทาภัยจากคลืนสึนามิ ้ ่ 125 บทที่ 21 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ ้ 132 บทที่ 22 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคแมลง สัตว์ ศัตรูพชระบาด ้ ื 137 บทที่ 23 การปองกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์น้ า ้ ํ 142 บทที่ 24 การปองกันและบรรเทาภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ้ 148 ส่วนที่ 3 กระบวนการปองกันและบรรเทาภัยด้านความมันคง ้ ่ บทที่ 25 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านความมั่นคง 154 บทที่ 26 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านวินาศกรรม 163 บทที่ 27 การป้ องกันและบรรเทาภัยด้ านทุ่นระเบิด กับระเบิด 168 บทที่ 28 การป้ องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 174 บทที่ 29 การป้ องกันและระงับการชุมนุมประท้ วงและก่อการจราจล 180 ภาคผนวก - ผังการจัดองค์กรการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย - ข้ อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย - ข้ อมูลหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร ของหน่วยงานด้ านการป้ องกันและบรรเทา สาธารณภัย - ฐานข้ อมูลเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ของหน่วยงานด้ าน การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย - บันทึกข้ อตกลงว่าด้ วย การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติ ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ระหว่างผู้อานวยการจังหวัดชุมพร ํ กับ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกชุมพร - แผนปฏิบัตการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ิ - คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานจัดทําแผนฯ
  • 7. V คําย่อ กห. : กระทรวงกลาโหม ศบภ.กห. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม สป. : สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ศบภ.สป. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ทท. : กองทัพไทย ศบภ.ทท. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพไทย บก.ทท. : กองบัญชาการกองทัพไทย ศบภ.บก.ทท. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ศบท.บก.ทท. : ศูนย์บญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ั ศบภ.ทบ. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพบก ศบภ.ทร. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ ศบภ.ทอ. : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ ศปก.ทบ. : ศูนย์ปฏิบติการกองทัพบก ั ศปก.ทร. : ศูนย์ปฏิบติการกองทัพเรือ ั ศปก.ทอ. : ศูนย์ปฏิบติการกองทัพอากาศ ั ทบ. : กองทัพบก ทร. : กองทัพเรือ ทอ. : กองทัพอากาศ ทภ. : กองทัพภาค มทบ. : มณฑลทหารบก จทบ. : จังหวัดทหารบก นขต. : หน่วยขึ้นตรง นขต.ทบ. : หน่วยขึ้นตรงกองทัพบก นขต.ทร. : หน่วยขึ้นตรงกองทัพเรือ นขต.ทอ. : หน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ ทรภ. : ทัพเรือภาค ฐท.กท. : ฐานทัพเรือกรุงเทพ กปช.จต. : กองบัญชาการป้ องกันชายแดนจันทบุรีและตราด นรข. : หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้ อยตามลําแม่นาโขง ้ํ ฉก.นย.ภต. : หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินภาคใต้ อศ. : กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ
  • 8. VI คําย่อ (ต่อ) คณะกรรมการแห่งชาติ กปภ.ช. : คณะกรรมการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กปอ. : คณะกรรมการป้ องกันอุบัตภัยแห่งชาติ ิ กองอํานวยการต่าง ๆ กอ.รมน. : กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร บก.ปภ.ช. : กองบัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กอ.ปภ.กทม. : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กอ.ปภ.สนง.เขต : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยสํานักงานเขต กอ.ปภ.จว. : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กอ.ปภ.อ. : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ กอ.ปภ.อบต. : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหาร ส่วนตําบล กอ.ปภ.เทศบาล : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล กอ.ปภ.เมืองพัทยา : กองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยเมืองพัทยา รัฐมนตรี ผูบญชาการ และผูอํานวยการ ้ ั ้ รมว.มท. : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รมว.กห. : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ป.มท. : ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผบ.ปภ.ช. : ผู้บัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) ผอ.กลาง : ผู้อานวยการกลาง ํ (อธิบดีกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ผอ.จว. : ผู้อานวยการจังหวัด ํ รอง ผอ.จว. : รองผู้อานวยการจังหวัด (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด) ํ ผอ.กทม. : ผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร ํ รอง ผอ.กทม. : รองผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (ปลัดกรุงเทพมหานคร) ํ ผอ.อําเภอ : ผู้อานวยการอําเภอ ํ ผอ.ท้ องถิ่น : ผู้อานวยการท้ องถิ่น ํ ผช.ผอ.ท้ องถิ่น : : ผู้ช่วยผู้อานวยการท้ องถิ่น (ปลัดเทศบาล / ปลัดเมืองพัทยา / ํ ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล) ผอ.เขต : ผู้อานวยการเขต ํ ผช.ผอ.กทม. : ผู้ช่วยผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ อานวยการเขต) ํ ํ
  • 9. VII คําย่อ (ต่อ) ปภ. : กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ ศูนย์ ปภ.เขต 11 : ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 11 สุราษฎร์ธานี ปภ.จว.ชพ. : สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร -------------------------------
  • 10. VIII
  • 11. IX บทนํา จากการศึกษาวัฏจักรสาธารณภัย พบว่าแนวโน้ มของการเกิดสาธารณภัยมีความถี่ความรุนแรง และ ซับซ้ อนเพิ่มมากขึ้น ประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลายจึงได้ ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ โดย มุ่งหวังให้ เกิดความสูญเสียจากสาธารณภัยน้ อยที่สด โดยมุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน ทําให้ การบริหารจัดการ ุ สาธารณภัยของประเทศต่างๆ เปลี่ยนทิศทางจากเดิมที่เน้ นเรื่อง “บรรเทาและปฏิบัติการ (Relief and Response)” ไปเป็ น “ลดผลกระทบและเตรียมพร้ อม (Mitigation and Preparedness)” การพัฒนาการ บริหารจัดการ สาธารณภัยจึงปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิบัติการในเชิงรุก (proactive Approach) กล่าวคือ จะต้ องปฏิบัติการอย่างครบวงจร โดยเน้ นไปที่การป้ องกัน/การลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) และการเตรียมความพร้ อม (Preparedness) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาก่อนการเกิดสาธารณภัยควบคู่ไปกับการ จัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่างเกิดสาธารณภัย และการ ฟื้ นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction) ซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาหลังการเกิดสาธารณภัย สําหรับ ขั้นตอนของการปฏิบัติการปรากฏตามวัฏจักรของสาธารณภัยในแผนภูมิท่ี 1 ้ ขันตอนการปฏิบตการ ัิ ตามวัฏจักรของสาธารณภัย เกิดสาธารณภัย (Disaster Impact ) 3. การตอบโต้และบรรเทาทุกข์ 2. การเตรียมความพร้อมรับภัย (การจัดการในภาวะฉุกเฉิ น) (Preparedness) ระหว่างเกิดภัย (Response and Relief or Emergency ก่อนเกิดภัย หลังเกิดงภัยดภัย หลั เกิ 1. การป้ องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) 4. การฟื้ นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่ (Rehabilitation and Reconstruction) แผนภูมิที่ 1 วัฏจักรการบริหารจัดการสาธารณภัย (Disaster Management Cycle) เมื่อพิจารณาวงจรการปฏิบัติการตามวัฏจักรของสาธารณภัย สามารถสรุปภารกิจในการบริ หาร จัดการสาธารณภัยได้ เป็ น 3 กลุ่มภารกิจ คือ ภารกิจก่อนเกิดภัย ภารกิจระหว่างเกิดภัย และภารกิจหลังเกิด
  • 12. X ภัย โดยกิจกรรมในแต่ละกลุ่มภารกิจต้ องมีศักยภาพในการประสานความร่ วมมือปฏิบัติงานจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้ องอย่างเป็ นขั้นตอนและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทุกกิจกรรมดังกล่าว ข้ างต้ นจะปรากฏตามแผนการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ภายใต้ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ซึ่งกําหนดให้ มี สาระสําคัญอย่างน้ อยในเรื่อง (1) แนวทาง มาตรการ และงบประมาณที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ํ อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง (2) แนวทางและวิธการในการให้ ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้ อนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้ า ี และระยะยาวเมื่ อ เกิด สาธารณภั ย รวมถึง การอพยพประชากร หน่ ว ยงานของรั ฐ และองค์ก รปกครอง ส่วนท้ องถิ่น การสงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย การดูแลเกี่ยวกับการสาธารณสุขและการแก้ ไขปั ญหาเกี่ยวกับการ สื่อสารและ การสาธารณูปโภค (3) หน่ วยงานของรั ฐและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นที่รับผิดชอบ และวิธีการให้ ได้ มาซึ่ง งบประมาณเพื่อการดําเนินงาน (4) แนวทางในการเตรียมพร้ อมด้ านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ และจัดระบบปฏิบัติการ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงการฝึ กบุคลากรและประชาชน (5) แนวทางในการซ่อมแซม บูรณะ ฟื้ นฟู และให้ ความช่วยเหลือประชาชนหลังสาธารณภัยสิ้นสุด ------------------------------------
  • 14. 1 บทที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานของจังหวัดชุมพร 1.1 สภาพภูมสงคม ิ ั 1.1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ จังหวัดชุมพร ตั้งอยู่ตอนบนสุดของภาคใต้ ระหว่างเส้ นละติจูดที่ 10 องศา 29 ลิปดาเหนือ และเส้ นลองติจูดที่ 99 องศา 11 ลิปดาตะวันออก สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดมีลักษณะยาวและ แคบ ทิศตะวันตกมีลักษณะเป็ นที่สงมีเทือกเขาตะนาวศรีและเทือกเขาภูเก็ต เป็ นแนวกั้นเขตแดนธรรมชาติ ู บริเวณตอนกลางเป็ นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ ทิศตะวันออกของจังหวัดมีลักษณะเป็ นที่ราบตามแนวชายฝั่ง ทะเลของอ่าวไทย โดยมีชายฝั่งทะเลยาวถึง 222 กิโลเมตร ความกว้ างของจังหวัดโดยเฉลี่ย 36 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 6,010.849 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 3.75 ล้ านไร่ มีพ้ ืนที่มากเป็ นอันดับ 4 ของภาคใต้ อยู่ ห่างจากกรุงเทพมหานครตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (เพชรเกษม) 463 กิโลเมตร และมีอาณาเขต ติดต่อกับจังหวัดใกล้ เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดประจวบคีรีขนธ์ ั ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดระนอง และประเทศเมียนม่าร์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทย 1.1.2 ลักษณะทางการปกครอง (1) การปกครองท้องที่ จังหวัดชุมพร แบ่งตามเขตลักษณะการปกครองท้ องที่ จํานวน 8 อําเภอ แบ่งเป็ นตําบล จํานวน 70 ตําบล แบ่งเป็ นหมู่บ้าน จํานวน 743 หมู่บ้าน ดังนี้ (1.1) อําเภอเมืองชุมพร มีตาบลจํานวน 17 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 161 หมู่บ้าน ํ (1.2) อําเภอท่าแซะ มีตาบลจํานวน 10 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 116 หมู่บ้าน ํ (1.3) อําเภอปะทิว มีตาบลจํานวน 7 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 75 หมู่บ้าน ํ (1.4) อําเภอสวี มีตาบลจํานวน 11 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 115 หมู่บ้าน ํ (1.5) อําเภอทุ่งตะโก มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 35 หมู่บ้าน ํ (1.6) อําเภอหลังสวน มีตาบลจํานวน 13 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 148 หมู่บ้าน ํ (1.7) อําเภอละแม มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 47 หมู่บ้าน ํ (1.8) อําเภอพะโต๊ะ มีตาบลจํานวน 4 ตําบล มีหมู่บ้านจํานวน 46 หมู่บ้าน ํ (2) การปกครองท้องถิน มีหน่วยการปกครอง ดังนี้ ่ (2.1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด จํานวน 1 แห่ง (2.2) เทศบาลเมือง จํานวน 2 แห่ง (2.3) เทศบาลตําบล จํานวน 23 แห่ง (2.4) องค์การบริหารส่วนตําบล จํานวน 53 แห่ง
  • 15. 2 (3) ประชากร (จํานวนแยกตามเพศ จํานวนครัวเรือน) จังหวัดชุมพร มีจานวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 183,384 ครัวเรือน ํ มีประชากรรวมทั้งสิ้น จํานวน 484,722 คน เป็ นเพศชาย จํานวน 241,801 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 242,921 คน (3.1) อําเภอเมืองชุมพร มีประชากรจํานวน 142,842 คน จํานวน 34,735 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 70,408 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 72,424 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 28,127 คน/สตรี จํานวน 47,416 คน/คนชรา จํานวน 17,947 คน) (3.2) อําเภอท่าแซะ มีประชากรจํานวน 79,637 คน จํานวน 27,762 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 40,156 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 39,481 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 17,272 คน/สตรี จํานวน 25,472 คน/คนชรา จํานวน 8,728 คน) (3.3) อําเภอปะทิว มีประชากรจํานวน 45,899 คน จํานวน 14,183 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 22,956 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 22,943 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 9,735 คน/สตรี จํานวน 15,036 คน/คนชรา จํานวน 5,299 คน) (3.4) อําเภอสวี มีประชากรจํานวน 69,880 คน จํานวน 26,044 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 34,944 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 34,936 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 14,854 คน/สตรี จํานวน 22,652 คน/คนชรา จํานวน 8,343 คน) (3.5) อําเภอทุ่งตะโก มีประชากรจํานวน 24,345 คน จํานวน 7,509 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 12,217 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 12,128 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 4,967 คน/สตรี จํานวน 8,027 คน/คนชรา จํานวน 2,910 คน) (3.6) อําเภอหลังสวน มีประชากรจํานวน 71,371 คน จํานวน 18,496 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 35,179 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 36,192 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 13,786 คน/สตรี จํานวน 23,702 คน/คนชรา จํานวน 9,806 คน)
  • 16. 3 (3.7) อําเภอละแม มีประชากรจํานวน 28,115 คน จํานวน 9,414 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 14,178 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 13,937 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 6,370 คน/สตรี จํานวน 9,185 คน/คนชรา จํานวน 2,962 คน) (3.8) อําเภอพะโต๊ะ มีประชากรจํานวน 22,633 คน จํานวน 8,866 ครัวเรือน เป็ นเพศชาย จํานวน 11,763 คน เป็ นเพศหญิง จํานวน 10,870 คน (ประกอบด้ วย : เด็ก จํานวน 4,786 คน/สตรี จํานวน 7,454 คน/คนชรา จํานวน 2,133 คน) (ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้ อมูล ณ วันที่ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551) 1.1.3 ลักษณะการประกอบอาชีพ 1.2 สถิติการเกิดสาธารณภัยของจังหวัดชุมพร 1.2.1 อุทกภัย/ดินโคลนถล่ม จํานวนครั้งที่เกิด จํานวนครัวเรือนที่ ปี พื้นที่ประสบภัย เสียชีวิต บาดเจ็บ มูลค่าความเสียหาย ภัย ประสบภัย พ.ศ. (อําเภอ) (คน) (คน) (ล้ านบาท) (ครั้ ง) (ครัวเรือน) 2550 2 21,608 7 1 - 202.4596 2551 6 30,820 8 - - 318.2030 2552 6 39,526 7 2 - 179.7882 1.2.2 ภัยแล้ง จํานวนสัตว์ท่ี จํานวนครั้งที่เกิด จํานวนครัวเรือนที่ พื้นที่การเกษตร ปี พื้นที่ประสบภัย ได้ รับ มูลค่าความเสียหาย ภัย ประสบภัย เสียหาย พ.ศ. (อําเภอ) ผลกระทบ (ล้ านบาท) (ครั้ ง) (ครัวเรือน) (ไร่) (ตัว) 2550 1 8 22,649 - - - 2551 - - - - - - 2552 1 8 39,027 96,994 - 14.5144 1.2.3 อัคคีภย ั ปี จํานวนครั้งที่เกิดภัย พื้นที่ประสบภัย จํานวนบ้ านเรือนเสียหาย เสียชีวิต บาดเจ็บ มูลค่าความเสียหาย พ.ศ. (ครั้ ง) (อําเภอ) (หลัง) (คน) (คน) (ล้ านบาท) 2550 20 6 20 - - 4.2001 2551 37 8 37 - - 7.9766 2552 23 8 26 - - 2.8308
  • 17. 4 1.2.4 ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง ปี จํานวนครั้งที่เกิดอุบัติเหตุ เสียชีวิต บาดเจ็บ มูลค่าความเสียหาย พ.ศ. (ครั้ ง) (คน) (คน) (ล้ านบาท) 2550 540 150 77 17.401 2551 498 175 287 19.360 2552 350 142 74 28.181 1.2.5 ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน จํานวนบ้ านเรือน จํานวนบ้ านเรือน ปี จํานวนครั้งที่เกิดอุบัติภัย พื้นที่ประสบภัย มูลค่าความเสียหาย เสียหายทั้งหลัง เสียหายบางส่วน พ.ศ. (ครั้ ง) (อําเภอ) (ล้ านบาท) (หลัง) (หลัง) 2550 12 4 - 20 0.3699 2551 31 8 12 1091 1.7010 2552 16 8 - 55 0.4927 (ที่มา : สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร) 1.3 การประเมินความเสียงของจังหวัด ่ จากสถิติการเกิด อุทภัย ภัยแล้ ง อัคคีภัย ภัยจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน วาตภัย ในพื้นที่จังหวัด ชุมพร ซึ่งมีโอกาสเกิดบ่อยครั้งและรุนแรงมากยิ่งขึ้น ประกอบกับลักษณะภูมิประเทศมีลักษณะยาวและแคบ ทิศตะวันตกเป็ นที่สงมีเทือกเขา บริเวณตอนกลางเป็ นที่ราบลุ่ม และทิศตะวันออกเป็ นที่ราบตามแนวชายฝั่ง ู ทะเลของอ่ า วไทย ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ และลมมรสุ ม ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําให้ ฝนตกชุ ก ในช่ วง ปี 2545-2550 ปริ มาณนํ้าฝนโดยเฉลี่ย 1,553-2,306 มิลลิเมตร ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัย ดังนี้ 1.3.1 อุทกภัยและดินโคลนถล่ม 1.3.2 ภัยแล้ ง 1.3.3 อัคคีภัย 1.3.4 ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง 1.3.5 ภัยจากพายุหมุนเขตร้ อน 1.3.6 ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย ั 1.3.7 ภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน 1.3.8 ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ 1.3.9 ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด 1.3.10 ภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์นา ํ้ 1.3.11 ภัยจากอากาศหนาว 1.3.12 ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม 1.3.13 ภัยจากคลื่นสึนามิ 1.3.14 ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จากความเสี่ยงต่อสาธารณภัย ดังกล่าวข้ างต้ น ส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สนของประชาชนและของรัฐ ิ ดังนั้น จังหวัดชุมพร จึงจัดทําแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร ประจําปี พ.ศ. 2553-2557
  • 18. 5 ปฏิทินสาธารณภัยประจํ าปี 2553 ประเภทภัย ชนิดของภัย ระยะเวลา (เดือน) เกณฑ์การพิจารณา ภัยธรรมชาติ ‐ ภัยหนาว ต.ค. – ม.ค. อุณหภูมิต่ากว่า 15 องศา ํ ติดต่อกัน เกิน 3 วัน ‐ ภัยแล้ ง ม.ค. – พ.ค. ‐ ไฟป่ า มี.ค. - พ.ค. ‐ พายุฤดูร้อน พายุฝนฟ้ าคะนอง มี.ค. - พ.ค. ‐ อุทกภัย พ.ค. - ม.ค. ‐ ดินโคลนถล่ม พ.ค. - ม.ค. ‐ พายุหมุนเขตร้ อน คลื่นพายุซัดฝั่ง ต.ค. - ธ.ค. ‐ แผ่นดินไหว เฝ้ าระวังตลอดปี ภัยจากมนุษย์ ‐ อุบัติเหตุทางถนน เฝ้ าระวังตลอดปี ‐ สารเคมีและวัตถุอนตราย ั เฝ้ าระวังตลอดปี ‐ อัคคีภัย เฝ้ าระวังตลอดปี ‐ ความปลอดภัยในการใช้ ไฟฟ้ า เฝ้ าระวังตลอดปี ภัยที่เกิดขึ้นใน ‐ ภัยวันลอยกระทง พ.ย. ช่วงเวลาหรือ เทศกาลต่าง ๆ ‐ ภัยในช่วงเทศกาลปี ใหม่ ธ.ค. - ม.ค. ‐ ภัยในช่วงวันเด็ก สัปดาห์ท่ี 2 ของ ม.ค. ‐ อุบัตภัยในช่วงเทศกาล ิ o ตรุษจีน ม.ค. – ก.พ. o เชงเม้ ง สัปดาห์แรกของ เม.ย. ‐ อุบัตภัยช่วงเทศกาลสงกรานต์ ิ เม.ย. ‐ อุบัตภัยในช่วงปิ ดภาคเรียน ิ ต.ค. และ มี.ค.-พ.ค. ‐ อุบัตภัยในช่วงเปิ ดภาคเรียน พ.ย.-ก.พ. และ มิ.ย.-ก.ย. ิ ‐ อุบัตภัยในช่วงเทศกาล ิ ก.ค. เข้ าพรรษา
  • 19. 6 บทที่ 2 วิสยทัศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ั ้ ้ 2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT analysis) สถานการณ์ของการเกิดสาธารณภัย ส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ทั้งทางภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ภาคบริการ ถือได้ ว่าสร้ างความเสียหายอย่ างยิ่งต่ อส่วนรวม จึงจําเป็ นต้ อง สนั บ สนุ น การจั ด การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยมีระบบบริ หารจัด การให้ ทันสมั ยและประยุ กต์ใ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้ านการจัดการสาธารณภัยอย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง เพิ่มขีดความสามารถด้ านการป้ องกันและลดผลกระทบ โดยการเตรียมความพร้ อม การบริหารจัดการในภาวะ ฉุกเฉิน และการฟื้ นฟูและบูรณะ เพื่อเสริมสร้ างความมั่นคงของจังหวัด เพื่อการปฏิบัติการและประสานการ บู ร ณาการของทุ ก ภาคส่ ว น ทั้ง ภาครั ฐ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น รั ฐ วิ ส าหกิจ ภาคเอกชน มู ล นิ ธิ และ อาสาสมัคร ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้ เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย การวิเคราะห์สภาพแวดล้ อมและขีดสมรรถนะ (SWOT analysis) ของจังหวัดชุมพร ดังนี้ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค/อันตราย 1. มีแหล่งท่องเที่ยวทาง 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. จังหวัดให้ ความสําคัญ 1. ระบบการเตือนภัย ทะเล แหล่งดํานํา ้ ถูกทําลายและเสื่อมโทรม ในการบูรณาการหน่วยงาน ไม่ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงภัย 2. ที่ต้ังของจังหวัดอยู่ 2. โครงสร้ างพื้นฐานหลัก ทุกภาคส่วนด้ านการป้ องกัน 2. สาธารณภัยเกิดนอกเหนือ บริเวณเชื่อมต่อ 2 ฝั่ง ไม่เพียงพอ เช่น ระบบ และบรรเทาสาธารณภัย การควบคุมทําให้ ยากต่อ มหาสมุทรและมีระบบ ชลประทาน ระบบระบายนํา ้ 2. ภาคีเครือข่ายในการ การจัดการ คมนาคมขนส่งทั้งทางถนน แหล่งกักเก็บนํา และระบบการ ้ ป้ องกันและบรรเทาสาธารณ 3. การเชื่อมโยงระบบงาน รถไฟ ทางนํา ้ คมนาคมขนส่ง ภัย มีส่วนร่วมและ ในแต่ละหน่วยงานไม่ท่วถึง ั 3. มีเครือข่ายสนับสนุนให้ 3. ขาดอุปกรณ์และเครื่องมือ เห็นความสําคัญในการป้ องกัน 4. สภาพภูมิประเทศเป็ นภูเขา ความร่วมมือในการป้ องกัน ที่ทนสมัย เครื่องจักรกล รถกู้ภัย ั และบรรเทาสาธารณภัย สูงชัน แม่นา และเป็ นร่องมรสุม ํ้ และบรรเทาสาธารณภัย และอุปกรณ์อยู่ในสภาพเก่า 3. มีกฎหมายเป็ นหลักในการ พาดผ่านทําให้ เกิดอุทกภัยและ จํานวนมาก 4. ขาดระบบฐานข้ อมูลในการ ทํางาน ดินโคลนถล่มได้ ง่าย 4. มีงบประมาณเกี่ยวกับ เตือนภัย และเครื่องมือ 4. หน่วยงานภาครัฐ องค์กร 5. สังคมขาดวัฒนธรรม สาธารณภัยระดับจังหวัดใน เทคโนโลยีในการเตือนภัย ปกครองส่วนท้ องถิ่น มูลนิธิ ความปลอดภัย อํานาจผู้ว่าราชการจังหวัด สมาคม อาสาสมัคร และ ตามระเบียบ กค.ว่าด้ วยเงิน ประชาชน เป็ นเครือข่าย ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ ทํางานด้ านการป้ องกันและ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณี บรรเทาสาธารณภัย ฉุกเฉิน พ.ศ.2546 และ ครอบคลุมในทุกพื้นที่ ที่แก้ ไขเพิ่มเติม
  • 20. 7 2.2 วิสยทัศน์ (Vision) ั “บู ร ณาการหน่ ว ยงานทุ ก ภาคส่ ว นในการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย อย่ า งเป็ นระบบ และ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ จังหวัดชุมพร เป็ นเมืองปลอดภัย น่าอยู่” 2.3 พันธกิจ (Mission) 2.3.1 วางแผน เฝ้ าระวัง ป้ องกัน และเตือนภัย จัดทําแผนด้ านการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย วางระบบมาตรการและกํากับดูแลความปลอดภัยด้ านการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พัฒนาระบบการ เฝ้ าระวังและการแจ้ งเตือนภัย ก่อสร้ างและปรังปรุงโครงสร้ างพื้นฐานเพื่อการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่งเสริมการมีส่วนร่ วมของประชาชน เตรียมเครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ กู้ชีพ/กู้ ภัย เตรียม บุคลากร และอาสาสมัคร จัดให้ มีการฝึ กอบรม ฝึ กซ้ อมและฝึ กปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2.3.2 ปฏิบัติการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประเมินสถานการณ์ ประเมินความต้ องการ รายงาน สถานการณ์ อํานวยการปฏิบัติการฉุ กเฉิ นอพยพและช่ วยเหลือประชาชนในพื้ นที่เสี่ยงภัยและประสานการ ปฏิบัติการสนับสนุนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2.3.3 ช่วยเหลือ สงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย และบรรเทาเหตุเบื้องต้ นแก่ผ้ ูประสบภัย พัฒนาระบบการให้ ความช่วยเหลือและสงเคราะห์ผ้ ูประสบภัย 2.3.4 ฟื้ นฟูพ้ ืนที่ประสบภัย จัดทําโครงการฟื้ นฟูสภาพพื้นที่และโครงสร้ างพื้นฐานที่ได้ รับความเสียหาย จากสาธารณภัย และฟื้ นฟูสภาพจิตใจ รวมทั้งอาชีพของผู้ประสบภัย 2.4 เปาประสงค์ (Goals) ้ 2.4.1 ป้ องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยทั้งเชิงโครงสร้ างและไม่ใช่โครงสร้ าง 2.4.2 ลดความเสี่ยงของประชาชนจากภัยพิบัติ 2.4.3 สร้ างความพร้ อมการบริหารจัดการสาธารณภัย 2.4.4 บริหารจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ 2.4.5 ประชาชนได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ และฟื้ นฟู ห ลั ง เกิ ด ภั ย พิ บั ติ อ ย่ า งเป็ นธรรมทั่ ว ถึ ง และ มีประสิทธิภาพ 2.4.6 โครงสร้ างพื้นฐานที่เสียหายได้ รับการปรับปรุงและซ่อมบํารุงให้ สามารถใช้ งานได้ 2.4.7 ประชาชนผู้ประสบภัยและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียมีความพึงพอใจในการให้ บริการ 2.4.8 พัฒนาองค์กรให้ มีขดสมรรถนะสูง ี 2.5 ขอบเขตสาธารณภัย สาธารณภั ย หมายถึ ง อั ค คี ภั ย วาตภั ย อุ ท กภั ย ภั ย แล้ ง โรคระบาดในมนุ ษ ย์ โรคระบาดสั ต ว์ โรคระบาดสัตว์นํ้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่ อสาธารณชน ไม่ ว่าเกิดจาก ธรรมชาติ มีผ้ ูทาให้ เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่นใด ซึ่งก่อให้ เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่ างกายของประชาชน หรือ ํ ื ความเสียหายแก่ทรั พย์สินของประชาชน หรื อของรัฐ และให้ หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่ อ วินาศกรรมด้ วย ภัยทางอากาศ หมายถึง ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ การก่อวินาศกรรม หมายถึง การกระทําใดๆ อันเป็ นการมุ่งทําลายทรัพย์สนของประชาชนหรือของรัฐ ิ หรื อ สิ่ง อัน เป็ นสาธารณูป โภค หรื อ การรบกวนขั ด ขวาง หน่ ว งเหนี่ ย วระบบการปฏิบั ติ ง านใดๆ ตลอดจน การประทุษร้ ายต่อบุคคลอันเป็ นการก่อให้ เกิดความปั่นป่ วนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดย
  • 21. 8 มุ่งหมายที่จะก่อให้ เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2553-2557 กําหนดขอบเขตสาธารณภัยไว้ ดังนี้ 2.5.1 ด้านสาธารณภัย (1) อุทกภัยและดินโคลนถล่ม (2) ภัยจากพายุหมุนเขตร้ อน (3) ภัยจากอัคคีภย ั (4) ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนตราย ั (5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง (6) ภัยแล้ ง (7) ภัยจากอากาศหนาว (8) ภัยจากไฟป่ าและหมอกควัน (9) ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม (10) ภัยจากคลื่นสึนามิ (11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ (12) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด (13) ภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์นา ํ้ (14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.2 ภัยด้านความมันคง ่ (1) ภัยจากการก่อวินาศกรรม (2) ภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด (3) ภัยทางอากาศ (4) ภัยจากการชุมนุมประท้ วงและก่อการจลาจล
  • 22. 9 บทที่ 3 แผนงานในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัด จะดําเนินการอย่างครบวงจรวัฏจักรของสาธารณภัย ในแนวทางการปฏิบัติการในเชิงรุก (Proactive Approch) ซึ่งจะเป็ นการป้ องกันและลดผลกระทบ การเตรียม ความพร้ อม การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการฟื้ นฟูบูรณะ โดยมีแนวทางและกิจกรรมที่สาคัญให้ สอดรับกับ ํ พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น พ.ศ.2550 แผนปฏิบั ติ ร าชการ 4 ปี พระราชบั ญ ญั ติ งบประมาณ และระเบียบว่าด้ วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 โดยแผนงานในการป้ องกันและบรรเทาสา ธารณภัยเป็ นแผนงานระยะ 5 ปี มีการแบ่งกระบวนการออกเป็ น 3 ระยะของการจัดการสาธารณภัย ดังนี้ 3.1 ระยะก่อนเกิดสาธารณภัย 3.1.1 มาตรการการปองกันและลดผลกระทบ เป็ นการปรับระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยให้ มี ้ ขีดความสามารถในการเตรียมการเผชิญสาธารณภัยต่างๆ ไว้ ล่วงหน้ าก่อนเกิดภัยเป็ นการลดความรุนแรงและ ลดความสูญเสียจากสาธารณภัยที่มต่อประชาชนในพื้นที่ให้ มีความเสี่ยงให้ มีน้อยที่สด ได้ แก่ ี ุ (1) การประเมินความเสี่ยงภัย โดยการประเมินภัยและความล่ อแหลม เพื่อประเมินโอกาส หรือความไปได้ ท่ีจะเกิดสาธารณภัยและผลกระทบที่อาจเป็ นอันตรายต่อสาธารณชน เพื่อกําหนดมาตรการที่ เหมาะสมในการป้ องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยที่อาจจะเกิดขึ้น (2) การปองกันสาธารณภัยโดยใช้มาตรการด้านโครงสร้าง การป้ องกันโดยใช้ โครงสร้ าง ้ หมายถึง การใช้ ส่ิงก่อสร้ างที่มนุ ษย์สร้ างขึ้น เช่ น อาคาร เขื่อน กําแพง อ่างเก็บนํา ฝาย เหมือง การขุดลอก ้ คลองระบายนํา เส้ นทางคมนาคมเพื่อส่งกําลังบํารุง ป้ ายสัญญาณ ฯลฯ เพื่อการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ้ ซึ่งจะต้ องพิจารณาให้ สอดคล้ องกับสภาพพื้นที่ว่าควรใช้ การป้ องกันแบบใดจึงจะเหมาะสมกับสภาพพื้นที่เสี่ยง ภัยนั้นๆ ประกอบด้ วย (2.1) จัดหาพื้นที่รองรับนําและกักเก็บนํา เช่น อ่างเก็บนํา เขื่อน สระนํา ทํานบ เหมือง ้ ้ ้ ้ ฝาย รวมทั้ง การขุ ด ลอกคู ค ลอง แหล่ ง นํ้า สาธารณะที่ต้ ื นเขิ น คลองส่ ง นํ้า และคลองระบายนํ้า เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการกักเก็บนําไว้ ใช้ ในฤดูแล้ งและการระบายในฤดูฝน ้ (2.2) ก่อสร้ างกําแพง ผนัง หรือรอดักตะกอน เพื่อป้ องกันการเอ่อล้ นหรือสูญเสียพื้นดิน จากการกัดเซาะชายฝั่งของทะเลและแม่นา ํ้ (2.3) สร้ างอาคารหรือสถานที่เพื่อเป็ นสถานที่หลบภัย สําหรับพื้นที่ท่การหนีภัยทําได้ ี ยาก หรือไม่มพ้ ืนที่หลบภัยที่เหมาะสม ี (2.4) กรณีการก่อสร้ างอาคารและสิ่งปลูกสร้ างในพื้นที่เสี่ยงภัยต้ องให้ มีความมั่นคง แข็งแรงและมีระบบความปลอดภัยสําหรับผู้ใช้ อาคาร ทั้งนี้ให้ เป็ นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม รวมทั้งข้ อกําหนดและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้ อง (2.5) ก่อสร้ าง/ปรับปรุงเส้ นทางเพื่อการส่งกําลังบํารุง หรือเส้ นทางไปสถานที่หลบภัย ให้ ใช้ การได้ ตลอดเวลา (3) การจั ด การระบบข้อ มู ล สารสนเทศด้า นการบริ ห ารจั ด การสาธารณภัย เพื่ อ จั ด ทํา ฐานข้ อมูลด้ านสาธารณภัยให้ สมบูรณ์ ทันสมัย สามารถเชื่อมต่ อระบบข้ อมูลได้ ระหว่างหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง ตั้งแต่ระดับจังหวัดถึงระดับท้ องถิ่น