SlideShare a Scribd company logo
นายวงศกร อังคะคามูล
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(PUBLIC HEALTH EMERGENCY MANAGEMENT: PHEM)
เอกสารประกอบการบรรยายโครงการจัดประชุมวิชาการสาธารณสุขครั้งที่ 1 “การเฝ้ าระวังภัยสุขภาพและการจัดการภาวะฉุกเฉิน”
วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
กรอบเนื้อหา
การจัดการภาวะฉุกเฉินของประเทศไทย
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
เป้ าหมายการปฏิบัติงานและความร่วมมือ
การจัดการภาวะฉุกเฉินในประเทศไทย
 พ.ร.บ.ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2550
 แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณ-
ภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558
สาธารณภัย คืออะไร?
หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรค
ระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัย
อื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาให้
เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน
หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่อ
วินาศกรรมด้วย”
(มาตรา 4 พ.ร.บ.ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550)
ขอบเขตสาธารณภัยตามแผน ปภ.ช.
ที่มา: แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558
ความเสียหายจากภัยพิบัติ (1)
 ศูนย์วิจัยการระบาดวิทยาของภัยพิบัติ (Centre for Research on the Epidemiology of Disasters :
CRED, UNISDR) รวบรวมสถิติ 100 ปี
ความเสียหายจากภัยพิบัติ (2)
สาธารณภัยในประเทศไทย
ที่มา: แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ. 2558
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์กรเอกชน
มูลนิธิ
ที่มา: แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ. 2558
การสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน
บทบาทผู้รับผิดชอบตามกฎหมายPrevention+Preparedness
การสร้างระบบประเมินความเสี่ยง
พัฒนาศักยภาพ
จัดทาแผนและซ้อมแผน
พัฒนาคลังข้อมูล
สารองทรัพยากร (คน เงิน ของ)
พัฒนาระบบเตือนภัย Response
แจ้งเตือนภัย
ระงับภัย
การตั้งศูนย์อานวยการฯ
การค้นหาและช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัย/ ทะเบียน
การประสานงาน/ การติดต่อสื่อสาร
การรายงาน/ประชาสัมพันธ์
การอพยพ/ ตั้งศูนย์พักพิง
การแพทย์ฉุกเฉิน
การรักษาความสงบฯ
Recovery
ประเมินความเสียหาย
และเยียวยา
ฟื้นฟูสุขภาพ (กาย/ ใจ)
ยกเลิกสถานการณ์
จัดการ ฟื้นฟูโครงสร้าง
ที่มา: แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ. 2558
บทบาทกระทรวงสาธารณสุข
(20.1) จัดเตรียมความพร้อมสถานพยาบาลทุกระดับรวมถึง
พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัคร
(20.2) จัดหาและจัดเตรียมสารองทรัพยากรทางการแพทย์และ
สาธารณสุข รวมถึงการพัฒนาทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการ
แพทย์ในภาวะฉุกเฉินในระดับต่างๆ ได้แก่ ทีม Mini MERT ทีม
MERT ทีม SRRT เป็ นต้น
(20.3) จัดให้มีและพัฒนาระบบสื่อสารเพื่อการประสานงานและ
สั่งการภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
(20.4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์และ
สาธารณสุข รวมทั้งเครื่องมือทางการแพทย์และเวชภัณฑ์
(20.5) เป็ นหน่วยงานหลักด้านการแพทย์และสาธารณสุข
รับผิดชอบในการตอบสนองต่อสาธารณภัย
(20.6) ประสานและสั่งการหน่วยงานสังกัดและหน่วยงานในกากับ
ของกระทรวงสาธารณสุข
(20.7) ประสานการระดมสรรพกาลังและทรัพยากรด้าน
การแพทย์และสาธารณสุขแบบบูรณาการ
(20.8) จัดให้มีการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care
System)
(20.9) จัดให้มีระบบฐานข้อมูลและความเสียหายทางด้าน
การแพทย์และสาธารณสุขและการรายงานผลอย่างถูกต้อง
และรวดเร็ว
(20.10) กากับให้มีการคงสภาพและประคับประคองระบบ
บริการ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
(20.11) ฟื้นฟูระบบการบริการด้านการแพทย์และ
สาธารณสุข
(20.12) จัดให้ความรู้แก่ประชาชนและชุมชนในด้านการ
ป้ องกัน การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การสุขาภิบาล และ
อนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อให้สามารถช่วยตนเองและผู้อื่นได้
(20.13) พัฒนาให้มีระบบการพยากรณ์โรค (Prognosis)
และการแจ้งเตือนภัย (Warning system)
(20.14) พัฒนาวิชาการและองค์ความรู้ ด้านเฝ้ าระวัง
ป้ องกัน ควบคุมโรค และเผยแพร่ให้ภาคีเครือข่าย
สาธารณภัยที่เป็นโรคระบาดในประเทศไทย ?
2547
„ ไข้หวัดนก
2551 - 2552
„ โรคไข้หวัด
ใหญ่สาย
พันธุ์ใหม่
2009 (H1N1)
„ โรคไข้ปวด
ข้อยุงลาย
2555
„ ไข้เลือดออก
(ระบาด
ต่อเนื่อง)
2556
„ MERS - CoV
2557
„ Ebola
2558
„ MERS
ที่มา: แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ. 2558 และสานักระบาดวิทยา
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ทุกจังหวัด
ต้องมีระบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางสาธารณสุข
• “ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” (Public Health Emergency)
• ถือเป็น “สาธารณภัย” ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต สร้างความเสียหายแก่
ทรัพย์สินของประชาชน และเกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม “ภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข” จึงหมายถึง เหตุการณ์การเกิดโรคและภัยคุกคามสุขภาพ
ซึ่งมีลักษณะเข้าได้กับเกณฑ์อย่างน้อย 2 ใน 4 ประการ
 ทาให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพอย่างรุนแรง
 เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน
 มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น
 ต้องจากัดการเคลื่อนที่ของผู้คนหรือสินค้า
ที่มา: คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขฯ. กรมควบคุมโรค. P14.
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ที่มา: คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขฯ. กรมควบคุมโรค.P15.
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข “2P2R”
ที่มา: คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขฯ. กรมควบคุมโรค.P17
ความเชื่อมโยงการจัดระดับความรุนแรง
ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ระบบการบริหารจัดการที่ใช้เพื่อการบังคับบัญชา สั่งการ ควบคุม
และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในสถานการณ์เฉพาะ
ระบบดังกล่าวเป็นระบบปฏิบัติการเพื่อการระดมทรัพยากรไปยังที่เกิด
เหตุ เพื่อบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินให้สามารถปกป้ องชีวิต ทรัพย์สิน
และสิ่งแวดล้อมได้อย่างบรรลุเป้ าหมายและมีประสิทธิภาพ
ช่วยในการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของระบบบัญชาการเหตุการณ์
เพื่อหยุดยั้งและ/ หรือลดผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินหรือสถานการณ์รุนแรงจากโรค
และภัยสุขภาพ และเพื่อให้เหตุการณ์กลับสู่สภาวะปกติในระยะเวลาที่สั้นที่สุด
ให้มีความปลอดภัยทั้งผู้ปฏิบัติงานและผู้เสี่ยงต่อภัยสุขภาพ
เพื่อระดมทรัพยากร และบริหารจัดการอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของระบบบัญชาการเหตุการณ์
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ สามารถจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ทุกโรค
และภัยสุขภาพดีกว่าการใช้ระบบการทางานแบบปกติตอบโต้
เหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็น
ระบบและรวดเร็ว ภายใต้การบัญชาการเหตุการณ์อย่างเป็นเอกภาพ
(Unity of Command) โดยหลักว่าผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนจะรับคาสั่งจาก
หัวหน้าโดยตรงเพียงคนเดียว
ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ผู้บัญชาการเหตุการณ์
•เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
•เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัย
•เจ้าหน้าที่ประสานงาน
กลุ่มปฏิบัติการ กลุ่มแผนงาน กลุ่มสนับสนุน กลุ่มบริหาร
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กรมควบคุมโรค
situation
SA & ยุทธศาสตร์
สื่อสารความเสี่ยง Case ManagementOperation PoE
• ภารกิจ
• แนวทางการปฏิบัติ
• การสั่งการ
หน่วยสนับสนุน
Stockpiling | กฎหมาย | การเงินและงบประมาณ | กาลังคน
ผู้บัญชาการเหตุการณ์ผู้บัญชาการ
ฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
ผู้ปฏิบัติ
Liaison
ข้อมูล
สถานการณ์ที่สามารถนาระบบบัญชาการเหตุการณ์มาใช้ได้
ที่มา: คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขฯ. กรมควบคุมโรค.
เป้ าหมาย และ ความร่วมมือ
26
ลด
การบาดเจ็บ
การเสียชีวิต
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
รพ. (ER/ EMS) /SRRT/ PHER
ปภ./ ท้องถิ่น
คพ.
มูลนิธิ เอกชน
ประชาชน
สื่อสารมวลชน
ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
หลังเกิดเหตุ
ที่มา: คู่มือหลักสูตรด้านตอบโต้ฯ . 2559.
Public Health Emergency Management

More Related Content

What's hot

RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
krisdika
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
Utai Sukviwatsirikul
 
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
ผอ.รพ.สต.พะเยา รุ่นหนึ่ง
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
krunueng1
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
Sahatchai
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
Utai Sukviwatsirikul
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
yahapop
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 

What's hot (20)

RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 

Similar to Public Health Emergency Management

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
gel2onimal
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaAimmary
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
BAINIDA
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
Narong Jaiharn
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
taem
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
Tassanee Lerksuthirat
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 

Similar to Public Health Emergency Management (10)

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
งานนำเสนองานป้องกันฯ 26 05- 60
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantana
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 

Public Health Emergency Management