SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
ภาคผนวก ก




แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   257
258   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
264
                                                                                                           ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การป้องกันและลดผลกระทบ
                                                                        มาตรการ                                  กิจกรรมหลัก                             หน่วยงานหลัก            หน่วยงานสนับสนุน หมายเหตุ
                                                                                               1.5.2 ปรับปรุงและบำรุงรักษาโครงข่ายทาง ทล./ทช.                                 สถ./อปท./ปภ./หน่วยงาน
                                                                                               เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย                                              ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
                                                                                               1.5.3 ก่ อ สร้ า งและปรั บ ปรุ ง แหล่ ง น้ ำ เพื ่ อ ทส./กษ./คค./ปภ.           อปท./หน่ ว ยงานภาครั ฐ
                                                                                               แก้ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง                                                      ที่เกี่ยวข้อง
                                                                                               1.5.4 ก่ อ สร้ า งฝายต้ น น้ ำ เพื ่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา อส./ปภ./อปท.             ทส./ภาคเอกชน
                                                                                               อุทกภัย ภัยแล้ง ดินถล่ม และรักษาระบบ
                                                                                               นิเวศ
                                                                                               1.5.5 ก่ อ สร้ า งกำแพง พนั ง หรื อ รอ เพื ่ อ ยผ./ทธ./อส.                     จังหวัด/อำเภอ/อปท.
                                                                                               ป้องกันน้ำกัดเซาะ




แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
                                                                                               1.5.6 ส่ ง เสริ ม และเพิ ่ ม พู น ความปลอดภั ย กฟผ./ชป.                                   —
                                                                                               ของเขื่อนและอ่างเก็บน้ำ
                                                                                               1.5.7 จัดหาและก่อสร้างสถานที่หลบภัย                   ปภ./จังหวัด              ยผ./อปท./มูลนิธิ
                                                           1.6 การป้ อ งกั น สาธารณภั ย โดยใช้ 1.6.1 ปลูกป่าเพื่อป้องกันอุทกภัย วาตภัย อส./ปม.                                สถ./กห./อปท./ภาค
                                                           ธรรมชาติหรือปรับปรุงระบบนิเวศ       และดินถล่ม                                                                     เอกชน
                                                                                               1.6.2 ปลูกป่าชายเลนเพื่อป้องกันคลื่นและ ทช./อปท.                               ปภ./สถ./กห./ภาคเอกชน
                                                                                               การกัดเซาะชายฝั่ง
                                                           1.7 การวิจัยและพัฒนาเพื่อลดความ 1.7.1 วิจัยและพัฒนาเพื่อการป้องกันและ ศ ธ . / ส ก ว . / ว ช . / ป ภ . /            หน่วยงานภาครัฐ
                                                           เสี่ยงจากสาธารณภัย                  บรรเทาสาธารณภัยประเภทต่างๆ                            สถาบั น การศึก ษาระดับ   ที่เกี่ยวข้อง
                                                                                                                                                     อุดมศึกษา
                                                           1.8 การถ่ายเทความเสี่ยงจากสาธารณภัย 1.8.1 จั ด ทำแนวทางและมาตรการในการ ปภ./พณ.                                     หน่วยงานภาครัฐ
                                                                                               ถ่ายเทความเสี่ยงจากสาธารณภัย                                                   ที่เกี่ยวข้อง/ภาคเอกชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเตรียมความพร้อม
                                                                        มาตรการ                                        กิจกรรมหลัก                                หน่วยงานหลัก      หน่วยงานสนับสนุน            หมายเหตุ
                                                           2.1 การจั ด ทำแผนการป้ อ งกั น และ        2.1.1 จั ด ทำแผนการป้ อ งกั น และบรรเทา ปภ./จังหวัด/กทม./อปท.               หน่วยงานภาครัฐ
                                                           บรรเทาสาธารณภั ย ทุ ก ระดั บ ตั ้ ง แต่   สาธารณภัย ทุกระดับตั้งแต่ระดับประเทศถึง                                     ที่เกี่ยวข้อง
                                                           ระดับประเทศถึงระดับชุมชน                  ระดับชุมชน
                                                                                                     2.1.2 เชื่อมโยงแผนการป้องกันและบรรเทา ปภ./จังหวัด/อำเภอ/อปท.                สมช./กห./หน่วยงานภาครัฐ
                                                                                                     สาธารณภั ย เข้ า กั บ แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารของ                                ที่เกี่ยวข้อง/ภาคเอกชน
                                                                                                     ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัย
                                                           2.2 การพัฒนาระบบการพยากรณ์และ             2.2.1 พั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารพยากรณ์ แ ละ ทก./ปภ./อต./ศภช./อศ./               สถ./จังหวัด/อำเภอ/อปท.
                                                           การแจ้งเตือนภัย ตั้งแต่ระดับประเทศ        แจ้งเตือนภัย ทุกระดับ                                    ชป./ทน.
                                                           ถึงระดับท้องถิ่น                          2.2.2 เชื่อมโยงระบบการแจ้งเตือนภัยและ ทก./ศภช./อต./ทน./อศ./                 ชป./ทก./ปชส./จั ง หวั ด /
                                                                                                     กระจายข่ า วสารสาธารณภั ย ระหว่ า ง กทช./ปภ. /ทธ.                           อำเภอ/อปท.
                                                                                                     หน่ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งทุ ก ภาคส่ ว น ตั ้ ง แต่
                                                                                                     ระดับชาติถึงระดับท้องถิ่น
                                                           2.3 การพั ฒ นาศั ก ยภาพของระบบ            2.3.1 ส่งเสริมและพัฒนาการใช้ภูมิปัญญา ปภ./สถ./ทธ.                           อปท./จั ง หวั ด /อำเภอ/
                                                           สื่อสาร                                   ท้องถิ่นในการแจ้งเตือนภัย                                                   สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น /
                                                                                                                                                                                 NGOs
                                                                                                     2.3.2 วางระบบสื่อสารหลักและสื่อสารรอง ทก./ปภ./สธ./มท./อต.                   กห./ปค./จังหวัด/อำเภอ/
                                                                                                     เพื่อการจัดการภัยพิบัติ                                                     สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น /
                                                                                                                                                                                 ภาคเอกชน
                                                                                                     2.3.3 จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์สื่อสารหลัก ทก./ปภ./สธ./มท./อต.                กห./ปค./จังหวัด/อำเภอ/
                                                                                                     และสื่อสารสำรอง                                                             สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น /




แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
                                                                                                                                                                                 ภาคเอกชน




265
ภาคผนวก ข




แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   275
276   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
เครือข่ายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                      หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน
                           หน่วยงาน                                          หมายเลขโทรศัพท์
สายด่วนนิรภัย (ปภ.)                                                  1784
ศูนย์ดำรงธรรม                                                        1567
ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม                                                   1356
ศูนย์กรุงเทพมหานคร                                                   1555
กรมอุตุนิยมวิทยา                                                     1182
ศู น ย์ ว ิ ท ยุ ส ื ่ อ สาร สำนั ก ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย   199
กรุงเทพมหานคร
กรมควบคุมมลพิษ                                                       1650 , 0-2298-2404-7
สายด่วนบริการข้อมูลสารเคมี                                           1564
ส่วนควบคุมไฟป่า                                                      1362
ศูนย์ประสานงานฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง                                     0-2226-4444
ศูนย์รับแจ้งเด็กหาย                                                  0-2282-1815
ศูนย์วิทยุกรุงธน                                                     0-2451-7227
สถานีวิทยุ สวพ.91                                                    1644
สายด่วนผู้บริโภค อย.                                                 1556
Hot – Line คลายเครียด (กรมสุขภาพจิต)                                 1667
Health – Line สายด่วนเพื่อสุขภาพ                                     0-2714-3333
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ศูนย์นเรนทร)                          1669
ศูนย์วิทยุรามา                                                       0-2246-0999
หน่วยแพทย์กู้ชีวิตวชิรพยาบาล                                         1554
ศูนย์ส่งกลับฯ และรถพยาบาลตำรวจ                                       1691 , 0-2255-1134-6
แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย                                                 191
ตำรวจท่องเที่ยว                                                      1155
ศูนย์ควบคุมการจราจร                                                  1197
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน                                         1190
ร่วมด้วยช่วยกัน                                                      1677
จส. 100                                                              1137 , 0-2711-9151-8
ศูนย์วิทยุสื่อสาร สภากาชาดไทย                                        0-2251-7853-6 ต่อ 2209,2210
ศูนย์ปฏิบัติการธรณีพิบัติภัย                                         0-2621-9701-5
ชลประทาน บริการประชาชน                                               1460

                                                  แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   277
แนวทางการจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย

                 การวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มีความเหมาะสมกับสภาพแต่ละท้องที่ต้องมีการ
      คาดคะเน หรือประเมินว่าในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบมีความเสี่ยงต่อภัยประเภทใด และจัดทำเป็นฐานข้อมูล
      เพื่อใช้ในการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยตามลำดับความสำคัญเร่งด่วน โดยทำการสำรวจ
      รวบรวมสถิ ต ิ ข ้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ พ ื ้ น ที ่ ท ั ้ ง ด้ า นกายภาพและด้ า นสั ง คม หรื อ ความเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด
      สาธารณภัยแยกตามประเภทของภัย โดยระบุรายละเอียดของพื้นที่และจัดทำแผนที่ประกอบ ตามแนวทาง
      ดังนี้
                 1. จัดทำแบบสำรวจข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแต่ละประเภท
                 2. สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบพื้นฐานของความเสี่ยงภัย ได้แก่
                    2.1 ลักษณะกายภาพ เช่น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง พื้นที่ ทิศทางการไหลของน้ำ
      อาณาเขตติดต่อ ที่ราบ ที่ลุ่ม ฯลฯ
                    2.2 ลักษณะภูมิอากาศ เช่น ปริมาณน้ำฝนต่อเดือนต่อปี อุณหภูมิตามฤดูกาลต่างๆ
                    2.3 สิ่งก่อสร้างหรือสถานที่ที่อาจเกิดอันตราย เช่น โรงแรม อาคารสูง โรงภาพยนตร์
      โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
                 3. ตรวจสอบสถิติการเกิดภัยและประเภทของภัยของแต่ละพื้นที่ และเปรียบเทียบข้อมูลกับ
      หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                 4. รวบรวมรายละเอียดข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ความรุนแรงของภัย เช่น ชื่อหมู่บ้าน
      ตำบล จำนวนประชากร จำนวนครัวเรือน สถานที่ตั้ง ลักษณะของอันตรายที่จะเกิด ความเสียหายที่อาจได้รับ
      พื้นที่ปลอดภัย
                 5. กำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัย โดยพิจารณาจากเกณฑ์เบื้องต้น คือ
                    5.1 เป็นพื้นที่ที่เคยเกิดภัยนั้นๆ เป็นประจำ
                    5.2 เป็ น พื ้ น ที ่ ท ี ่ ห ากเกิ ด ภั ย แล้ ว จะมี ค วามเสี ย หายสู ง เช่ น ชุ ม ชนแออั ด อาคารสู ง
      สถานบันเทิง สถานพยาบาล สถานศึกษา พื้นที่ท้ายเขื่อน โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
                 6. จัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัย โดยระบุที่ตั้งชุมชน ที่ตั้งสถานที่สำคัญอื่นๆ เส้นทางคมนาคม
      เส้นทางอพยพ เป็นต้น
                 7. วิเคราะห์ผลกระทบในภาพรวมที่อาจส่งผลต่อพื้นที่ข้างเคียง
                 8. ตรวจสอบซ้ำเป็นประจำทุกปี




278    แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
ปัจจุบันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัยได้จัดทำฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย
และจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยของสาธารณภัยประเภทภัยต่างๆ ดังนี้
                                           ข้อมูลพื้นที่    แผนที่
        ประเภทภัย                                                                        หน่วยงาน
                                             เสี่ยงภัย     เสี่ยงภัย
                                                 3
            3
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
อุทกภัยและโคลนถล่ม
                                                 3
            3
       กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรน้ำ
                                                 3
            3
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
คลื่นสึนามิ
                                                 7
            3
       กรมทรัพยากรธรณี ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
พื ้ น ที ่ ท ี ่ เ ป็ น ที ่ ต ั ้ ง ระบบ       3
            7
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เตือนภัยสาธารณะ                                  3
            7
       ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
                                                 3
            3
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ภัยแล้ง
                                                 7
            3
       กรมทรัพยากรน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน
                                                 3
            3
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แผ่นดินไหว
                                                 3
            3
       กรมทรัพยากรธรณี กรมอุตุนิยมวิทยา
                                                 3
            7
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
วาตภัย
                                                 7
            3
       กรมอุตุนิยมวิทยา
                                                 3
            7
       กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ภัยจากสารเคมี
                                                 3
            7
       กรมโรงงานอุตสาหกรรม
                                                 3
            3
       กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ไฟป่า                                            7
            3
       สำนั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและ
                                                                        ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
ภัยหนาว                                      3
              7
         กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                                             3
              3
         กรมควบคุมโรค
โรคไข้หวัดนก
                                             7
              3
         กรมปศุสัตว์




                                                              แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   279
280   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
(ตัวอย่าง)
                  บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
               ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด........กับ (ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร)
                                ...............................................................
            โดยที่มาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กำหนด
ให้การดำเนินการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ ภายในเขตทหาร
หรือที่เกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร ให้เป็นไปตามความตกลงเป็นหนังสือร่วมกัน
ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด และผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นกรณีการสั่งการ
ของนายกรัฐมนตรีหรือ รองนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๓๑
            ดั ง นั ้ น เพื ่ อ ประโยชน์ ใ นการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ของประเทศ ผู ้ อ ำนวยการ
จังหวัด.................. และ (ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร) จึงทำบันทึก
ข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้
            ข้อ ๑ บันทึกข้อตกลงนี้ เรียกว่า “บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตาม
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด..................กับ
(ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร)” ทำขึ้น ณ..................เมื่อวันที่..................
เดือน.................. พ.ศ...................
            ข้อ ๒ บันทึกข้อตกลงนี้ ให้ใช้บังคับนับตั้งแต่วันที่ลงนามร่วมกันเป็นต้นไป
            ข้อ ๓ ในบันทึกข้อตกลงนี้
                  “เขตทหาร” หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรือบริเวณซึ่งมีหน่วยทหารตั้งอยู่
                  “กิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร” หมายความว่า กิจการ เจ้าหน้าที่ หรือ
ทรัพย์สิน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่จังหวัด..................
                                               หมวด ๑
                       การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยภายในเขตทหาร
                   หรือที่เกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร
           ข้อ ๔ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตทหาร และจำเป็นต้องได้รับความช่วย
เหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น แจ้งขอความช่วย
เหลือจากผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น โดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใด
โดยแจ้งเส้นทางเข้าไปในเขตทหารให้ทราบ พร้อมทั้งจัดเจ้าหน้าที่ไปรอรับและนำทาง
                  ในกรณีเป็นการจำเป็นเร่งด่วน ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอหรือผู้อำนวยการ
ท้องถิ่น เห็นว่า หากมิได้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดแล้ว สาธารณภัยที่เกิดขึ้นอาจมีอันตรายอย่างยิ่ง ให้แจ้ง
ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้นทราบเหตุก่อน แล้วจึงจะดำเนินการตามขั้นตอนของบันทึกข้อตกลงนี้
ต่อไป
                                                                                     /ข้อ ๕ เมื่อ.............

                                                     แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557      281
-๒-

                 ข้อ ๕ เมื่อผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น ได้รับแจ้งขอความ
      ช่วยเหลือ ให้จัดเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อและประสานงานกับผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น หรือผู้ซึ่งได้
      รับมอบหมาย พร้อมทั้งแจ้งชื่อ ตำแหน่งของบุคคลดังกล่าวตามช่องทางการติดต่อสื่อสารให้ผู้บังคับบัญชา
      ของทหารในเขตพื้นที่ทราบ และนำเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
      ไปยังเขตทหารตามเส้นทางที่ได้รับแจ้ง ตามข้อ ๔ โดยการนำของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารซึ่งได้รับมอบหมาย
                 ข้อ ๖ การดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นอำนาจของผู้อำนวยการจังหวัด
      ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น โดยให้ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น หรือผู้ที่ได้รับ
      มอบหมาย ให้คำแนะนำ อำนวยความสะดวกและสนับสนุน
                 ข้อ ๗ กรณีที่เกิดสาธารณภัยและภยันตรายจากสาธารณภัยนั้นใกล้จะถึง ผู้อำนวยการจังหวัด
      ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้เจ้าพนักงานดัดแปลง ทำลาย หรือเคลื่อนย้าย
      สิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือทรัพย์สินของบุคคลใดที่เป็นอุปสรรคแก่การบำบัดปัดป้องภยันตรายได้ ทั้งนี้ เฉพาะ
      เท่าที่จำเป็นแก่การยับยั้งหรือแก้ไขความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากสาธารณภัยนั้น
                        กรณีที่จำเป็นต้องมีการดัดแปลง ทำลาย หรือเคลื่อนย้ายสิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือทรัพย์สินซึ่ง
      จะมีผลทำให้เกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่อื่นหรือก่อให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นแก่เขตพื้นที่อื่น ให้เป็น
      อำนาจของผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ สำหรับกรณีที่เป็นการดำเนินการของผู้อำนวยการท้องถิ่น
      ต้องได้รับความเห็นชอบของผู้อำนวยการจังหวัด
                 ข้อ ๘ เมื่อเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่ทหาร และการที่ผู้ใดอยู่อาศัยในพื้นที่นั้นจะ
      ก่อให้เกิดภยันตรายหรือกีดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน จำเป็นต้องมีการสั่งอพยพประชาชน
      ให้เป็นอำนาจของผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อำนวยการ และเจ้าพนักงานซึ่งได้รับมอบหมาย
                 ข้อ ๙ เมื่อเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่ทหาร และการอยู่อาศัยหรือดำเนินกิจการ
      ใดๆ ในพื้นที่นั้นจะเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง จำเป็นต้องมีการประกาศห้ามมิให้บุคคลใดๆ เข้าไปอยู่อาศัย
      หรือดำเนินกิจการใดในพื้นที่ดังกล่าว ให้เป็นอำนาจของผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อำนวยการกลาง
      ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ สำหรับกรณีที่เป็นการดำเนินการของผู้อำนวยการท้องถิ่นต้อง
      ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการอำเภอ
                 ข้อ ๑๐ การดำเนินการตามข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และ ข้อ ๙ ต้องได้รับความเห็นชอบจาก(ระบุ
      ตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาของทหารในจังหวัด)




                                                                                            /หมวด ๒...............


282    แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
-๓-

                                                   หมวด ๒
                             การดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยนอกเขตทหาร
            ข้อ ๑๑ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตจังหวัด ซึ่งอยู่นอกเขตทหาร และจำเป็น
ต้องได้รับความช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากฝ่ายทหารในการใช้เจ้าหน้าที่ อาคาร
สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสาร หรือสิ่งอื่นใดที่อยู่ในการควบคุมดูแลของทหารในเขตพื้นที่ ให้
ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย แจ้งขอความช่วยเหลือจากฝ่ายทหารใน
เขตพื้นที่นั้นโดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใด และให้ยืนยันเป็นหนังสือในภายหลังโดยเร็วที่สุด
            ข้อ ๑๒ เมื่อผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่ได้รับแจ้งขอความช่วยเหลือจากผู้อำนวยการ
จังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมายพิจารณาให้ความช่วยเหลือตามขีดความสามารถ
ข้อจำกัดของทรัพยากรและตามความจำเป็น โดยให้แจ้งตอบรับการให้ความช่วยเหลือ หรือข้อขัดข้อง
โดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใดโดยเร็วนับตั้งแต่ได้รับแจ้ง และให้แจ้งเป็นหนังสือในภายหลัง
                    กรณีที่ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น สามารถให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ให้
ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น จัดเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อและประสานความร่วมมือกับผู้อำนวยการ
จังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งแจ้งยศ ชื่อ ตำแหน่งของบุคคลดังกล่าวตาม
ช่องทางการติดต่อสื่อสารให้ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย
            ข้อ ๑๓ กรณีที่หน่วยทหารตั้งอยู่ในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ ให้ผู้อำนวยการ
ท้องถิ่นสามารถขอรับความช่วยเหลือจากผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้นได้ โดยดำเนินการตาม
ขั้นตอนของ ข้อ ๑๑ และ ข้อ ๑๒ โดยอนุโลม
            ข้อ ๑๔ การดำเนินการเกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหารตามข้อ ๑๒
และข้อ ๑๓ ให้อยู่ภายใต้การอำนวยการและแบ่งมอบภารกิจของผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ
หรือผู้ได้รับมอบหมายแล้วแต่กรณี
            ข้อ ๑๕ การดำเนินการอื่นนอกเหนือจากบันทึกข้อตกลงฯ นี้ให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติที่
กำหนดไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด โดยอาจมีการตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ตามความเห็นชอบของผู้อำนวยการจังหวัด............................และ(ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาของทหาร
ในจังหวัด)


  ลงชื่อ...............................................................           ลงชื่อ...............................................................
        (.............................................................)                 (.............................................................)
       ผู้ว่าราชการจังหวัด...........................                         ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ




                                                                          แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557                        283
-๔-



      ลงชื่อ.......................................................พยาน         ลงชื่อ.......................................................พยาน
            (......................................................)                  (......................................................)

      ลงชื่อ.......................................................พยาน         ลงชื่อ.......................................................พยาน
            (......................................................)                  (......................................................)

      หมายเหตุ ๑. ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยให้หน่วยทหารแต่ละหน่วยจัดทำ
                  บันทึกข้อตกลงกับผู้อำนายการจังหวัดเป็นการเฉพาะหน่วย
               ๒. ควรมีผู้แทนของผู้อำนวยการท้องถิ่นตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรร่วมเป็นพยาน
                  ด้วยอย่างน้อย ๑ คน




284    แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   285
286   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   287
288   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
ภาคผนวก ค




แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   289
290   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   291
292   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   293
นายจรัลธาดา กรรณสูต
          นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม




          นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ
          พลตำรวจจเอก ปทีป ตันประเสริฐ รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
          พลเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์




294   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   295
296   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   297
298   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   299
300   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   301
302   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   303
304   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   305
306   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557   307
308   แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557

More Related Content

What's hot

ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019Kasem Boonlaor
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่taem
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019Kasem Boonlaor
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติtaem
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 filePeachy Man
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. Pongsatorn Sirisakorn
 
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032Kasem Boonlaor
 
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022Kasem Boonlaor
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยPongsatorn Sirisakorn
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศPongsatorn Sirisakorn
 
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...Strategic Challenges
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSPongsatorn Sirisakorn
 

What's hot (16)

ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
 
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
TAEM11: การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2 สค22019
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 file
 
ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
 
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032
 
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
 
แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
 
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
Royal Thai Army (RTA) in preparing and implementing National Disaster Relief ...
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
 
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
นส.ประชาสัมพันธ์8หลักสูตร รอบแรก ไตรมาสที่ 1.2
 

More from Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 

ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ

  • 2. 258 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. 264 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การป้องกันและลดผลกระทบ มาตรการ กิจกรรมหลัก หน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน หมายเหตุ 1.5.2 ปรับปรุงและบำรุงรักษาโครงข่ายทาง ทล./ทช. สถ./อปท./ปภ./หน่วยงาน เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง 1.5.3 ก่ อ สร้ า งและปรั บ ปรุ ง แหล่ ง น้ ำ เพื ่ อ ทส./กษ./คค./ปภ. อปท./หน่ ว ยงานภาครั ฐ แก้ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ที่เกี่ยวข้อง 1.5.4 ก่ อ สร้ า งฝายต้ น น้ ำ เพื ่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา อส./ปภ./อปท. ทส./ภาคเอกชน อุทกภัย ภัยแล้ง ดินถล่ม และรักษาระบบ นิเวศ 1.5.5 ก่ อ สร้ า งกำแพง พนั ง หรื อ รอ เพื ่ อ ยผ./ทธ./อส. จังหวัด/อำเภอ/อปท. ป้องกันน้ำกัดเซาะ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 1.5.6 ส่ ง เสริ ม และเพิ ่ ม พู น ความปลอดภั ย กฟผ./ชป. — ของเขื่อนและอ่างเก็บน้ำ 1.5.7 จัดหาและก่อสร้างสถานที่หลบภัย ปภ./จังหวัด ยผ./อปท./มูลนิธิ 1.6 การป้ อ งกั น สาธารณภั ย โดยใช้ 1.6.1 ปลูกป่าเพื่อป้องกันอุทกภัย วาตภัย อส./ปม. สถ./กห./อปท./ภาค ธรรมชาติหรือปรับปรุงระบบนิเวศ และดินถล่ม เอกชน 1.6.2 ปลูกป่าชายเลนเพื่อป้องกันคลื่นและ ทช./อปท. ปภ./สถ./กห./ภาคเอกชน การกัดเซาะชายฝั่ง 1.7 การวิจัยและพัฒนาเพื่อลดความ 1.7.1 วิจัยและพัฒนาเพื่อการป้องกันและ ศ ธ . / ส ก ว . / ว ช . / ป ภ . / หน่วยงานภาครัฐ เสี่ยงจากสาธารณภัย บรรเทาสาธารณภัยประเภทต่างๆ สถาบั น การศึก ษาระดับ ที่เกี่ยวข้อง อุดมศึกษา 1.8 การถ่ายเทความเสี่ยงจากสาธารณภัย 1.8.1 จั ด ทำแนวทางและมาตรการในการ ปภ./พณ. หน่วยงานภาครัฐ ถ่ายเทความเสี่ยงจากสาธารณภัย ที่เกี่ยวข้อง/ภาคเอกชน
  • 9. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเตรียมความพร้อม มาตรการ กิจกรรมหลัก หน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน หมายเหตุ 2.1 การจั ด ทำแผนการป้ อ งกั น และ 2.1.1 จั ด ทำแผนการป้ อ งกั น และบรรเทา ปภ./จังหวัด/กทม./อปท. หน่วยงานภาครัฐ บรรเทาสาธารณภั ย ทุ ก ระดั บ ตั ้ ง แต่ สาธารณภัย ทุกระดับตั้งแต่ระดับประเทศถึง ที่เกี่ยวข้อง ระดับประเทศถึงระดับชุมชน ระดับชุมชน 2.1.2 เชื่อมโยงแผนการป้องกันและบรรเทา ปภ./จังหวัด/อำเภอ/อปท. สมช./กห./หน่วยงานภาครัฐ สาธารณภั ย เข้ า กั บ แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารของ ที่เกี่ยวข้อง/ภาคเอกชน ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัย 2.2 การพัฒนาระบบการพยากรณ์และ 2.2.1 พั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารพยากรณ์ แ ละ ทก./ปภ./อต./ศภช./อศ./ สถ./จังหวัด/อำเภอ/อปท. การแจ้งเตือนภัย ตั้งแต่ระดับประเทศ แจ้งเตือนภัย ทุกระดับ ชป./ทน. ถึงระดับท้องถิ่น 2.2.2 เชื่อมโยงระบบการแจ้งเตือนภัยและ ทก./ศภช./อต./ทน./อศ./ ชป./ทก./ปชส./จั ง หวั ด / กระจายข่ า วสารสาธารณภั ย ระหว่ า ง กทช./ปภ. /ทธ. อำเภอ/อปท. หน่ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งทุ ก ภาคส่ ว น ตั ้ ง แต่ ระดับชาติถึงระดับท้องถิ่น 2.3 การพั ฒ นาศั ก ยภาพของระบบ 2.3.1 ส่งเสริมและพัฒนาการใช้ภูมิปัญญา ปภ./สถ./ทธ. อปท./จั ง หวั ด /อำเภอ/ สื่อสาร ท้องถิ่นในการแจ้งเตือนภัย สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น / NGOs 2.3.2 วางระบบสื่อสารหลักและสื่อสารรอง ทก./ปภ./สธ./มท./อต. กห./ปค./จังหวัด/อำเภอ/ เพื่อการจัดการภัยพิบัติ สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น / ภาคเอกชน 2.3.3 จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์สื่อสารหลัก ทก./ปภ./สธ./มท./อต. กห./ปค./จังหวัด/อำเภอ/ และสื่อสารสำรอง สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น / แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 ภาคเอกชน 265
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20. 276 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 21. เครือข่ายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ สายด่วนนิรภัย (ปภ.) 1784 ศูนย์ดำรงธรรม 1567 ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม 1356 ศูนย์กรุงเทพมหานคร 1555 กรมอุตุนิยมวิทยา 1182 ศู น ย์ ว ิ ท ยุ ส ื ่ อ สาร สำนั ก ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย 199 กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมมลพิษ 1650 , 0-2298-2404-7 สายด่วนบริการข้อมูลสารเคมี 1564 ส่วนควบคุมไฟป่า 1362 ศูนย์ประสานงานฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง 0-2226-4444 ศูนย์รับแจ้งเด็กหาย 0-2282-1815 ศูนย์วิทยุกรุงธน 0-2451-7227 สถานีวิทยุ สวพ.91 1644 สายด่วนผู้บริโภค อย. 1556 Hot – Line คลายเครียด (กรมสุขภาพจิต) 1667 Health – Line สายด่วนเพื่อสุขภาพ 0-2714-3333 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ศูนย์นเรนทร) 1669 ศูนย์วิทยุรามา 0-2246-0999 หน่วยแพทย์กู้ชีวิตวชิรพยาบาล 1554 ศูนย์ส่งกลับฯ และรถพยาบาลตำรวจ 1691 , 0-2255-1134-6 แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย 191 ตำรวจท่องเที่ยว 1155 ศูนย์ควบคุมการจราจร 1197 กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 1190 ร่วมด้วยช่วยกัน 1677 จส. 100 1137 , 0-2711-9151-8 ศูนย์วิทยุสื่อสาร สภากาชาดไทย 0-2251-7853-6 ต่อ 2209,2210 ศูนย์ปฏิบัติการธรณีพิบัติภัย 0-2621-9701-5 ชลประทาน บริการประชาชน 1460 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 277
  • 22. แนวทางการจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย การวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มีความเหมาะสมกับสภาพแต่ละท้องที่ต้องมีการ คาดคะเน หรือประเมินว่าในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบมีความเสี่ยงต่อภัยประเภทใด และจัดทำเป็นฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยตามลำดับความสำคัญเร่งด่วน โดยทำการสำรวจ รวบรวมสถิ ต ิ ข ้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ พ ื ้ น ที ่ ท ั ้ ง ด้ า นกายภาพและด้ า นสั ง คม หรื อ ความเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด สาธารณภัยแยกตามประเภทของภัย โดยระบุรายละเอียดของพื้นที่และจัดทำแผนที่ประกอบ ตามแนวทาง ดังนี้ 1. จัดทำแบบสำรวจข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแต่ละประเภท 2. สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบพื้นฐานของความเสี่ยงภัย ได้แก่ 2.1 ลักษณะกายภาพ เช่น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง พื้นที่ ทิศทางการไหลของน้ำ อาณาเขตติดต่อ ที่ราบ ที่ลุ่ม ฯลฯ 2.2 ลักษณะภูมิอากาศ เช่น ปริมาณน้ำฝนต่อเดือนต่อปี อุณหภูมิตามฤดูกาลต่างๆ 2.3 สิ่งก่อสร้างหรือสถานที่ที่อาจเกิดอันตราย เช่น โรงแรม อาคารสูง โรงภาพยนตร์ โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น 3. ตรวจสอบสถิติการเกิดภัยและประเภทของภัยของแต่ละพื้นที่ และเปรียบเทียบข้อมูลกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. รวบรวมรายละเอียดข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ความรุนแรงของภัย เช่น ชื่อหมู่บ้าน ตำบล จำนวนประชากร จำนวนครัวเรือน สถานที่ตั้ง ลักษณะของอันตรายที่จะเกิด ความเสียหายที่อาจได้รับ พื้นที่ปลอดภัย 5. กำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัย โดยพิจารณาจากเกณฑ์เบื้องต้น คือ 5.1 เป็นพื้นที่ที่เคยเกิดภัยนั้นๆ เป็นประจำ 5.2 เป็ น พื ้ น ที ่ ท ี ่ ห ากเกิ ด ภั ย แล้ ว จะมี ค วามเสี ย หายสู ง เช่ น ชุ ม ชนแออั ด อาคารสู ง สถานบันเทิง สถานพยาบาล สถานศึกษา พื้นที่ท้ายเขื่อน โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น 6. จัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัย โดยระบุที่ตั้งชุมชน ที่ตั้งสถานที่สำคัญอื่นๆ เส้นทางคมนาคม เส้นทางอพยพ เป็นต้น 7. วิเคราะห์ผลกระทบในภาพรวมที่อาจส่งผลต่อพื้นที่ข้างเคียง 8. ตรวจสอบซ้ำเป็นประจำทุกปี 278 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 23. ปัจจุบันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัยได้จัดทำฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย และจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยของสาธารณภัยประเภทภัยต่างๆ ดังนี้ ข้อมูลพื้นที่ แผนที่ ประเภทภัย หน่วยงาน เสี่ยงภัย เสี่ยงภัย 3 3 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อุทกภัยและโคลนถล่ม 3 3 กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรน้ำ 3 3 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คลื่นสึนามิ 7 3 กรมทรัพยากรธรณี ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พื ้ น ที ่ ท ี ่ เ ป็ น ที ่ ต ั ้ ง ระบบ 3 7 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เตือนภัยสาธารณะ 3 7 ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ 3 3 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภัยแล้ง 7 3 กรมทรัพยากรน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน 3 3 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แผ่นดินไหว 3 3 กรมทรัพยากรธรณี กรมอุตุนิยมวิทยา 3 7 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วาตภัย 7 3 กรมอุตุนิยมวิทยา 3 7 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภัยจากสารเคมี 3 7 กรมโรงงานอุตสาหกรรม 3 3 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ไฟป่า 7 3 สำนั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ภัยหนาว 3 7 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3 3 กรมควบคุมโรค โรคไข้หวัดนก 7 3 กรมปศุสัตว์ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 279
  • 24. 280 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 25. (ตัวอย่าง) บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด........กับ (ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร) ............................................................... โดยที่มาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กำหนด ให้การดำเนินการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ ภายในเขตทหาร หรือที่เกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร ให้เป็นไปตามความตกลงเป็นหนังสือร่วมกัน ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด และผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นกรณีการสั่งการ ของนายกรัฐมนตรีหรือ รองนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๓๑ ดั ง นั ้ น เพื ่ อ ประโยชน์ ใ นการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ของประเทศ ผู ้ อ ำนวยการ จังหวัด.................. และ (ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร) จึงทำบันทึก ข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้ ข้อ ๑ บันทึกข้อตกลงนี้ เรียกว่า “บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตาม พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ระหว่างผู้อำนวยการจังหวัด..................กับ (ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจปกครองหน่วยทหาร)” ทำขึ้น ณ..................เมื่อวันที่.................. เดือน.................. พ.ศ................... ข้อ ๒ บันทึกข้อตกลงนี้ ให้ใช้บังคับนับตั้งแต่วันที่ลงนามร่วมกันเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในบันทึกข้อตกลงนี้ “เขตทหาร” หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรือบริเวณซึ่งมีหน่วยทหารตั้งอยู่ “กิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร” หมายความว่า กิจการ เจ้าหน้าที่ หรือ ทรัพย์สิน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่จังหวัด.................. หมวด ๑ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยภายในเขตทหาร หรือที่เกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหาร ข้อ ๔ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตทหาร และจำเป็นต้องได้รับความช่วย เหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น แจ้งขอความช่วย เหลือจากผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น โดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใด โดยแจ้งเส้นทางเข้าไปในเขตทหารให้ทราบ พร้อมทั้งจัดเจ้าหน้าที่ไปรอรับและนำทาง ในกรณีเป็นการจำเป็นเร่งด่วน ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอหรือผู้อำนวยการ ท้องถิ่น เห็นว่า หากมิได้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดแล้ว สาธารณภัยที่เกิดขึ้นอาจมีอันตรายอย่างยิ่ง ให้แจ้ง ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้นทราบเหตุก่อน แล้วจึงจะดำเนินการตามขั้นตอนของบันทึกข้อตกลงนี้ ต่อไป /ข้อ ๕ เมื่อ............. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 281
  • 26. -๒- ข้อ ๕ เมื่อผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น ได้รับแจ้งขอความ ช่วยเหลือ ให้จัดเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อและประสานงานกับผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น หรือผู้ซึ่งได้ รับมอบหมาย พร้อมทั้งแจ้งชื่อ ตำแหน่งของบุคคลดังกล่าวตามช่องทางการติดต่อสื่อสารให้ผู้บังคับบัญชา ของทหารในเขตพื้นที่ทราบ และนำเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไปยังเขตทหารตามเส้นทางที่ได้รับแจ้ง ตามข้อ ๔ โดยการนำของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารซึ่งได้รับมอบหมาย ข้อ ๖ การดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นอำนาจของผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น โดยให้ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมาย ให้คำแนะนำ อำนวยความสะดวกและสนับสนุน ข้อ ๗ กรณีที่เกิดสาธารณภัยและภยันตรายจากสาธารณภัยนั้นใกล้จะถึง ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้อำนวยการท้องถิ่น มีอำนาจสั่งให้เจ้าพนักงานดัดแปลง ทำลาย หรือเคลื่อนย้าย สิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือทรัพย์สินของบุคคลใดที่เป็นอุปสรรคแก่การบำบัดปัดป้องภยันตรายได้ ทั้งนี้ เฉพาะ เท่าที่จำเป็นแก่การยับยั้งหรือแก้ไขความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากสาธารณภัยนั้น กรณีที่จำเป็นต้องมีการดัดแปลง ทำลาย หรือเคลื่อนย้ายสิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือทรัพย์สินซึ่ง จะมีผลทำให้เกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่อื่นหรือก่อให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นแก่เขตพื้นที่อื่น ให้เป็น อำนาจของผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ สำหรับกรณีที่เป็นการดำเนินการของผู้อำนวยการท้องถิ่น ต้องได้รับความเห็นชอบของผู้อำนวยการจังหวัด ข้อ ๘ เมื่อเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่ทหาร และการที่ผู้ใดอยู่อาศัยในพื้นที่นั้นจะ ก่อให้เกิดภยันตรายหรือกีดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน จำเป็นต้องมีการสั่งอพยพประชาชน ให้เป็นอำนาจของผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อำนวยการ และเจ้าพนักงานซึ่งได้รับมอบหมาย ข้อ ๙ เมื่อเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่ทหาร และการอยู่อาศัยหรือดำเนินกิจการ ใดๆ ในพื้นที่นั้นจะเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง จำเป็นต้องมีการประกาศห้ามมิให้บุคคลใดๆ เข้าไปอยู่อาศัย หรือดำเนินกิจการใดในพื้นที่ดังกล่าว ให้เป็นอำนาจของผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อำนวยการกลาง ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ สำหรับกรณีที่เป็นการดำเนินการของผู้อำนวยการท้องถิ่นต้อง ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการอำเภอ ข้อ ๑๐ การดำเนินการตามข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และ ข้อ ๙ ต้องได้รับความเห็นชอบจาก(ระบุ ตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาของทหารในจังหวัด) /หมวด ๒............... 282 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 27. -๓- หมวด ๒ การดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยนอกเขตทหาร ข้อ ๑๑ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตจังหวัด ซึ่งอยู่นอกเขตทหาร และจำเป็น ต้องได้รับความช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากฝ่ายทหารในการใช้เจ้าหน้าที่ อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสาร หรือสิ่งอื่นใดที่อยู่ในการควบคุมดูแลของทหารในเขตพื้นที่ ให้ ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย แจ้งขอความช่วยเหลือจากฝ่ายทหารใน เขตพื้นที่นั้นโดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใด และให้ยืนยันเป็นหนังสือในภายหลังโดยเร็วที่สุด ข้อ ๑๒ เมื่อผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่ได้รับแจ้งขอความช่วยเหลือจากผู้อำนวยการ จังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมายพิจารณาให้ความช่วยเหลือตามขีดความสามารถ ข้อจำกัดของทรัพยากรและตามความจำเป็น โดยให้แจ้งตอบรับการให้ความช่วยเหลือ หรือข้อขัดข้อง โดยระบบสื่อสาร หรือวิธีอื่นใดโดยเร็วนับตั้งแต่ได้รับแจ้ง และให้แจ้งเป็นหนังสือในภายหลัง กรณีที่ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น สามารถให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ให้ ผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้น จัดเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อและประสานความร่วมมือกับผู้อำนวยการ จังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งแจ้งยศ ชื่อ ตำแหน่งของบุคคลดังกล่าวตาม ช่องทางการติดต่อสื่อสารให้ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมาย ข้อ ๑๓ กรณีที่หน่วยทหารตั้งอยู่ในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ ให้ผู้อำนวยการ ท้องถิ่นสามารถขอรับความช่วยเหลือจากผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพื้นที่นั้นได้ โดยดำเนินการตาม ขั้นตอนของ ข้อ ๑๑ และ ข้อ ๑๒ โดยอนุโลม ข้อ ๑๔ การดำเนินการเกี่ยวกับกิจการ เจ้าหน้าที่ หรือทรัพย์สินในราชการทหารตามข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓ ให้อยู่ภายใต้การอำนวยการและแบ่งมอบภารกิจของผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ได้รับมอบหมายแล้วแต่กรณี ข้อ ๑๕ การดำเนินการอื่นนอกเหนือจากบันทึกข้อตกลงฯ นี้ให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติที่ กำหนดไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด โดยอาจมีการตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณา ตามความเห็นชอบของผู้อำนวยการจังหวัด............................และ(ระบุตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาของทหาร ในจังหวัด) ลงชื่อ............................................................... ลงชื่อ............................................................... (.............................................................) (.............................................................) ผู้ว่าราชการจังหวัด........................... ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 283
  • 28. -๔- ลงชื่อ.......................................................พยาน ลงชื่อ.......................................................พยาน (......................................................) (......................................................) ลงชื่อ.......................................................พยาน ลงชื่อ.......................................................พยาน (......................................................) (......................................................) หมายเหตุ ๑. ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยให้หน่วยทหารแต่ละหน่วยจัดทำ บันทึกข้อตกลงกับผู้อำนายการจังหวัดเป็นการเฉพาะหน่วย ๒. ควรมีผู้แทนของผู้อำนวยการท้องถิ่นตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรร่วมเป็นพยาน ด้วยอย่างน้อย ๑ คน 284 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 30. 286 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 32. 288 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 34. 290 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 36. 292 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 38. นายจรัลธาดา กรรณสูต นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ พลตำรวจจเอก ปทีป ตันประเสริฐ รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พลเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ 294 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 40. 296 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 42. 298 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 44. 300 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 46. 302 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 48. 304 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 50. 306 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
  • 52. 308 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557