SlideShare a Scribd company logo
L/O/G/O
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
อ.ประกรณ์ ตุ้ยศรี
1
โดย นางสาวสรารัตน์ ขวัญใจ 540610091
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Happy
Life
in
camping
เสนอ
057132
หมายถึง
2
หลักการปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือต่อผู้บาดเจ็บหรือผู้บาดเจ็บ
ณ.สถานที่เกิดเหตุ โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่หาได้ในขณะนั้น
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อช่วยชีวิต
2. เพื่อลดความรุนแรง ภาวะที่ไม่พึงประสงค์เพื่อป้องกันความพิการ
3. เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทรมาน ก่อนที่ผู้ได้รับบาดเจ็บจะได้รับการดูแลจากแพทย์
อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
4กรรไกรขนาดกลาง
5. พลาสเตอร์
1.สาลี
ผ้าก๊อสแผ่นชนิดฆ่าเชื้อ
2. ยา
8. ผ้ากอซพันแผลขนาดต่างๆ4
3. ผ้ายืดพันแก้เคล็ดขัดยอก ( Elsatic bandage)
6. แก้วล้างตา
7. คีบบ่งเสี้ยน
5
หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล
1.เมื่อพบผู้บาดเจ็บต้องรีบช่วยเหลือทันที
2.ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในกรณีที่จะมีอันตรายต่อชีวิตโดยรีบด่วนก่อน
3. เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทรมาน ก่อนที่ผู้ได้รับบาดเจ็บจะได้รับการดูแลจากแพทย์
3.อย่าให้มีคนมุง ทั้งนี้เพื่อให้มีอากาศปลอดโปร่ง
4.จัดให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่เหมาะสมในการปฐมพยาบาล
5. อย่าเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเกินความจาเป็นยู่ในท่าที่เหมาะสมในการปฐมพยาบาล
6.บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ เกี่ยวกับอาการของผู้บาดเจ็บ
1.ประเมินสถานการณ์อย่างรวดเร็ว และปลอดภัยขอความช่วยเหลือที่เหมาะสม
2.ประเมินการบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่ วยอย่างละเอียดที่สุด
3.ให้การรักษาเบื้องต้นอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
4.นาส่งโรงพยาบาล
5.ดูแลผู้ป่ วยจนถึงมือผู้ที่ให้การรักษาที่เหมาะสมได้
6.ทารายงานสิ่งที่ได้ปฏิบัติไปแล้วส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
6
ความรับผิดชอบของผู้ปฐมพยาบาล
1.ประเมินสถานการณ์
-ประเมินดูว่าเกิดอะไรขึ้นอย่างรวดเร็ว และไม่ตกใจ
-ดูว่ามีอันตรายต่อตัวคุณเอง หรือผู้บาดเจ็บอีก หรือไม่
7
2.ทาให้เกิดความปลอดภัย
-ป้ องกันผู้บาดเจ็บไม่ให้ได้รับอันตรายเพิ่มขึ้นอีก
-อย่าทาอะไรเกินความสามารถของตนเอง
3.ขอความช่วยเหลือ
ช่วยด้วย.. !!!
การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน
8
9
การปฐมพยาบาลผู้ที่เป็นลม( Syncope)
เป็นลม หมายถึง การหมดสติ
ชั่วขณะ(ประมาณ 2-3 นาที)
เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
และจะรู้สึกตัวเป็นปกติได้อย่างรวดเร็ว
ลมธรรมดา ลมแดด
การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ
หน้าซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา
กระวนกระวาย,กระสับกระส่าย,
ปวดหัว,วิงเวียน,ผิวหนังแดง+ร้อนจัด
ไม่มีเหงื่อ,หมดความรู้สึกชั่ววูบ
อาการ
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
10
11
- ให้นอนศีรษะต่ากว่าลาตัวเล็กน้อย ยกขาสูงเล็กน้อยแต่ในรายที่เป็นลมแดด ควรจัดให้
ศีรษะสูงกว่าลาตัวเล็กน้อย
- ถ้ามีเหงื่อมากให้เช็ดให้แห้ง กรณีเป็นลมแดด ควรเช็ดตัวด้วยน้าเย็น วางกระเป๋ า
น้าแข็งบนศีรษะเพื่อช่วยลดอุณหภูมิ
- คลายสิ่งรัดตัวออกให้หลวมสบาย
-ให้ดื่มเครื่องดื่มเย็นๆ ในรายที่สูญเสียเหงื่อมาก
ควรผสมเกลือแกงประมาณ ¼ - ½ ช้อนกาแฟ ต่อน้า1แก้ว
แต่ถ้ามีอาการคลื่นไส้ อาเจียนอยู่ ควรงดไว้ก่อน
กรณีที่ยังไม่หมดสติ
การปฐมพยาบาล
12
การปฐมพยาบาล
กรณีที่หมดสติ
-ปฐมพยาบาลเหมือนกับผู้ที่เป็นลมแต่ยังไม่หมดสติในข้อ1-4
-ตรวจสอบการหายใจว่ามี หรือไม่
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ หรือไม่
-ตรวจการไหลเวียนของเลือด และคลาชีพจร
-ถ้าอาการต่างๆ ไม่ดีขึ้น ให้นาส่งโรงพยาบาล
Shock
อาการที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอ
13
1.เสียเลือด เสียน้าจากร่างกายมาก
1.1 เสียเลือด มีทั้งเสียเลือดออก
นอกร่างกาย และเสียเลือดใน
ร่างกาย
1.2 เสียน้า เช่น อาเจียน อุจจาระ
ร่วง ปัสสาวะมาก
1.3 เสียน้าเหลือง เช่นบาดแผล
จากไฟไหม้น้าร้อนลวก
2.ขาดออกซิเจน เช่น
2.1 ทางเดินหายใจอุดตัน
2.2 การหายใจเข้าออกลาบาก ทิ่ม
ปอด ทาให้เกิดน้าในช่องปอดมาก
2.3 กล้ามเนื้อหัวใจล้มเหลว ไม่
สามารถสูบฉีดเลือดไปส่วนต่างๆ
ของร่างกายได้เพียงพอ
3.จากพิษของแบคทีเรีย
หรือเชื้อโรค
4.จากอารมณ์กลัว ตื่นเต้น
ตกใจมากๆ หรือเจ็บปวด
มากๆ
5.จากการแพ้ เช่น แพ้ยา พิษ
สาเหตุ
14
การปฐมพยาบาล
ถ้าหยุดหายใจ หรือหายใจ
ไม่สะดวก ให้เปิดทางเดิน
หายใจให้โล่ง กรณีหัวใจ
หยุดเต้น
ต้องกระตุ้น
หัวใจจาก
ภายนอก
ถ้ามีบาดแผล ต้องห้ามเลือด
ตามเทคนิควิธีที่ถูกต้อง
จัดให้บริเวณที่มีบาดแผล
ให้อยู่นิ่งๆ
รักษาตามอาการ ปวดมากก็
ให้ยาแก้ปวด โรงพยาบาล
จัดให้นอนราบไม่หนุนหมอน
15
การปฐมพยาบาลผู้ป่ วยเป็นลมหมดสติชัก และช็อค
เทคนิคการปฐมพยาบาล
เป็นการปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยต่างๆแล้ว
เกิดอาการเฉพาะขึ้น เช่น
อาการหยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
16
เทคนิคการปฐมพยาบาล
ในกรณีที่ประสบเหตุการณ์ และพบผู้บาดเจ็บหมดสติ จะต้อง
จัดพลิกตะแครงตัวผู้บาดเจ็บให้นอนหงาย
เพื่อที่จะได้ประเมินภาวะหยุดหายใจและ
หัวใจหยุดเต้นได้สะดวก
17
1.จัดแขนผู้บาดเจ็บด้านตรงข้ามกับ
ผู้เข้าช่วยเหลือ
ให้แขนแนบชิดกับลาตัว
แขนด้านที่ผู้ช่วยเหลือนั่งให้เหยียดตรง
เหนือศีรษะผู้บาดเจ็บ โดยแขนขนาน
กับ
ลาตัว
2. ผู้ช่วยเหลือจับ
ผู้บาดเจ็บตะแครงตัว
พลิกขึ้นมา
18
1
2
4.จัดผู้บาดเจ็บนอนหงาย และจัดแขนทั้ง 2 ข้างผู้บาดเจ็บแนบลาตัวผู้บาดเจ็บทั้ง 2 ข้าง
19
3
4
3.ผู้ช่วยเหลือจัดใบหน้าผู้บาดเจ็บให้ตรงและแหงนขึ้น
4.จัดผู้บาดเจ็บนอนหงาย และจัดแขนทั้ง 2 ข้างผู้บาดเจ็บแนบลาตัวผู้บาดเจ็บทั้ง 2 ข้าง
20
3
4
3.ผู้ช่วยเหลือจัดใบหน้าผู้บาดเจ็บให้ตรงและแหงนขึ้น
การห้ามเลือด มีวิธีการต่างๆ ดังนี้
21
การยกอวัยวะที่มีบาดแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ
ในการยกอวัยวะที่มีบาดแผลให้
สูงกว่าระดับหัวใจ เป็นการห้าม
เลือดโดยการลดแรงการไหลของ
เลือดให้ช้าลง ลดปริมาณการเสีย
เลือดของบาดแผล อย่างไรก็ตาม
เทคนิคนี้ควรใช้ควบคู่ไปกับ
เทคนิคอื่นๆเช่น การใช้แรงกด
การยกอวัยวะที่มีบาดแผลให้สูงขึ้นเพื่อห้ามเลือดนี้ ไม่ควรทาในกรณีที่กระดูก
แขน ขา หรือกระดูกสันหลังหัก เพราะจะเพิ่มอาการปวดมากขึ้น
การห้ามเลือด มีวิธีการต่างๆ ดังนี้
22
การกดบนบาดแผลโดยตรง
เป็นวิธีที่นิยมกันแพร่หลาย เนื่องจาก
สามารถระงับการไหลของเลือดออก
จากบาดแผลได้อย่างได้ผล ทาให้เกิด
ก้อนเลือดอุดตันการไหลของเลือดได้
ในการห้ามเลือดวิธีนี้ใช้นิ้วมือกดลง
โดยตรง หรือใช้ผ้าสะอาดปิดปากแผล
แน่นๆ
การใช้แรงกดบนเส้นเลือดแดงใหญ่
ในกรณีที่ห้ามเลือดโดยการใช้แรง
กดบนบาดแผลโดยตรง และยก
อวัยวะให้สูงแล้วไม่ได้ผล อาจใช้
แรงกดบนเส้นเลือดแดงใหญ่ ใน
ตาแหน่งระหว่างบาดแผลกับหัวใจ
การกดจะใช้แรงจากนิ้วมือกดลงบน
เส้นเลือดแดงกับกระดูก
23
การปฐมพยาบาลการห้ามเลือด มีวิธีการต่างๆ ดังนี้
ไฟไหม้ น้าร้อนลวก
24
เมื่อพบผู้ถูกไฟไหม้ น้าร้อนลวก ควรปฏิบัติ ดังนี้
1.ในกรณีที่ถูกไฟไหม้ ให้รีบดับไฟทันที โดยใช้ผ้าหนาๆ หรือผ้าชุบน้าสะอาดคลุมตัว
ผู้บาดเจ็บไว้
2.ใช้น้าเย็นราดบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ หรืออาจใช้ผ้าชุบน้าเย็นหรือใช้วุ้นของว่านหาง
จระเข้วางประคบบริเวณนั้นไว้
3.รีบถอดเสื้อผ้าเครื่องประดับต่างๆ ออกก่อนที่แผลจะบวม
ไฟไหม้ น้าร้อนลวก
25
เมื่อพบผู้ถูกไฟไหม้ น้าร้อนลวก ควรปฏิบัติ ดังนี้
4.ถ้ามีอาการ ช๊อคต้องรีบแก้ไขด่วน
5.ถ้าหยุดหายใจต้องช่วยผายปอด หรือถ้าหัวใจหยุดเต้นต้อง
ช่วยนวดหัวใจ
6.ถ้าเกิดแผลบริเวณหน้า ควรล้างตาให้สะอาดด้วยน้าเย็น แล้ว
ใช้ผ้าสะอาดปิดตาไว้เพื่อป้องกันฝุ่นละอองเข้าตา
7.ขณะนาส่งรพ.ควรใช้ผ้าสะอาดคลุมร่างกายไว้
26
การปฐมพยาบาลการแผลน้าร้อนลวก
การปฐมพยาบาลผู้ที่มีบาดแผล
27
ชนิดของบาดแผล
บาดแผลแบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ
- บาดแผลปิด
- บาดแผลเปิด
เป็นบาดแผลที่ไม่มีรอยแยกของผิวหนังปรากฏให้เห็น
เกิดจากแรงกระแทกของของแข็งที่ไม่มีคม แต่อาจมีการ
ฉีกขาดของเนื้อเยื่อและเส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนัง จึงทา
ให้มีเลือดออกคั่งเป็นก้อนใต้ผิวหนัง เรียกว่า แผลช้า
เป็นบาดแผลที่ทาให้เกิดรอยแยกของผิวหนัง
แบ่งออกเป็น 5 ชนิด
บาดแผลถลอก
เป็นแผลตื้นมีผิวหนังถลอก
และมีเลือดออกเล็กน้อย
แผลฉีกขาด
เป็นแผลที่เกิดจากวัสดุที่ไม่มีคม
แต่มีแรงพอที่จะทาให้ผิวหนัง
และเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังฉีกขาดได้
ขอบแผลมักขาดรุ่งริ่ง
บาดแผลตัด
เป็นแผลที่เกิดอาวุธ
หรือเครื่องมือที่มีคม
เรียบตัด เช่น มีด
ขวาน ปากแผลมัก
แคบ เรียบ
บาดแผลถูกแทง เป็นแผลที่เกิดจากวัตถุ
ปลายแหลมแทงเข้าไป
เช่น มีดปลายแหลม
การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดต่างๆ
28
ชนิดของแผล การปฐมพยาบาล
แผลช้า
ประคบด้วยความเย็นภายใน
24 ชั่วโมงแรก เพื่อไม่ให้เลือดออก
อีก และช่วยระงับความเจ็บปวด
หลัง 24 ชั่วโมง ควรประคบด้วย
ความร้อนในบริเวณที่เกิดรอยฟก
ช้า
การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดต่างๆ
29
ชนิดของแผล การปฐมพยาบาล
แผลถลอก ชะล้างแผลและทาความสะอาดรอบ
แผล ถ้าแผลสกปรกมากควรล้างแผล
ด้วยน้าสบู่ให้สะอาด ใช้ผ้าสะอาดซับ
แผล อาจใช้แอลกอฮอล์เช็ดรอบแผล
ทาแผลด้วยยาฆ่าเชื้ออ่อนเช่น ยาโพวี
ดีน
การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดต่างๆ
30
ทาความสะอาดแผลด้วยน้าและ
สบู่ เพื่อชะล้างสิ่งแปลกปลอมใน
แผล ถ้าฉีกขาดไม่มากอาจติดเอง
ภายหลัง เพียงใช้ผ้าปิดแผลและ
พันผ้าให้ขอบแผลติดกัน
ชนิดของแผล การปฐมพยาบาล
แผลฉีกขาด
การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดต่างๆ
31
ชนิดของแผล การปฐมพยาบาล
แผลตัดอวัยวะขาด ต้องห้ามเลือดก่อน ถ้าเป็นการขาด
บริเวณแขน ต้นขา ขา จะมีเลือด
ออกมา ต้องใช้ผ้าสะอาดหรือผ้า ก๊อซ
จานวนมากๆปิดแผลกดให้แน่น
เพื่อห้ามเลือด
การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดต่างๆ
32
ชนิดของแผล การปฐมพยาบาล
แผลถูกแทง ถ้ามีสิ่งหักคาห้ามดึงออก เพราะเลือด
จะไหลมากขึ้น ให้ผู้บาดเจ็บนอนนิ่งๆ
ใช้เปลหามส่งรพ.โดยเร็ว
ถ้าไม่มีสิ่งหักคาและแผลเล็ก ให้ชะล้าง
แผลธรรมดา ไม่ควรล้างเข้าไปในแผล
ควรห้ามเลือดก่อนส่งรพ.
การปฐมพยาบาลเมื่อมีแมลงและสัตว์มีพิษกัดต่อย
33
1. แมลง
แมลงหลายชนิดมีเหล็กใน เช่น ผึ้ง ต่อ แตน เมื่อต่อยแล้วมักจะทิ้งเหล็กในไว้ภายใน
เหล็กในจะมีพิษของแมลงพวกนี้มักมีฤทธิ์ที่เป็นกรด บริเวณที่ถูกต่อยจะบวมแดง คันและ
ปวด อาการปวดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับบริเวณที่ต่อยและสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล
วิธีปฐมพยาบาล
1. พยายามเอาเหล็กในออกให้หมด โดยใช้วัตถุที่มีรู เช่น ลูกกุญแจ กดลงไปตรงรอยที่ถูก
ต่อย เหล็กในจะโผล่ขึ้นมาให้คีบออกได้
2. ใช้ผ้าชุบน้ายาที่ฤทธิ์ด่างอ่อน เช่น น้าแอมโมเนีย น้าโซดาไบคาบอร์เนต น้าปูนใส ทา
บริเวณแผลให้ทั่วเพื่อฆ่าฤทธิ์กรดที่ค้างอยู่ในแผล
3. อาจมีน้าแข็งประคบบริเวณที่ถูกต่อยถ้าแผลบวมมาก
4. ถ้ามีอาการปวดให้รับประทานยาแก้ปวด ถ้าคันหรือผิวหนังมีผื่นขึ้นให้รับประทานยาแก้แพ้
5. ถ้าอาการไม่ทุเลาลง ควรไปพบแพทย์
การปฐมพยาบาลเมื่อมีแมลงและสัตว์มีพิษกัดต่อย
34
วิธีปฐมพยาบาล
1. ใช้สายรัดหรือขันชเนาะเหนือบริเวณเหนือบาดแผล เพื่อป้องกันไม่ให้พิษแพร่กระจาย
ออกไป
2. พยายามทาให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากที่สุด อาจทาได้หลายวิธี เช่น เอามือ
บีบ เอาวัตถุที่มีรูกดให้แผลอยู่ตรงกลางรูพอดี เลือดจะได้พาเอาพิษออกมาด้วย
3. ใช้แอมโมเนียหอมหรือทิงเจอร์ไอโอดี 2.5% ทาบริเวณแผลให้ทั่ว
4. ถ้ามีอาการบวม อักเสบและปวดมาก ใช้ก้อนน้าแข็งประคบบริเวณแผล เพื่อช่วยบรรเทา
ความเจ็บปวดด้วย
5. ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ต้องรีบนาส่งแพทย์
2. แมงป่ องหรือตะขาบ
ผู้ที่ถูกแมงป่องต่อยหรือตะขาบกัด จะมีอาการเจ็บปวดมากกว่าแมลงชนิดอื่น เพราะแมงป่อง
และตะขาบมีพิษมากกว่า บางคนที่แพ้สัตว์ประเภทนี้อาจมีอาการปวดและบวมมาก มีไข้
สูง คลื่นไส้ บางคนมีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อและมีอาการชักด้วย
การปฐมพยาบาลเมื่อมีแมลงและสัตว์มีพิษกัดต่อย
35
วิธีการปฐมพยาบาล
1. ใช้ผ้าเช็ดตัวหรือทรายขัดถูบริเวณที่ถูกพิษแมงกะพรุนไฟ เพื่อเอาพิษที่ค้างอยู่ออกหรือใช้
ผักบุ้งทะเลซึ่งหาง่ายและมีอยู่บริเวณชายทะเล โดยนามาล้างให้สะอาด ตาปิดบริเวณแผลไว้
2. ใช้น้ายาที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น แอมโมเนียหรือน้าปูนใส ชุบสาลีปิดบริเวณผิวหนังส่วนนั้น
นานๆ เพื่อฆ่าฤทธิ์กรดจากพิษของแมงกะพรุน
3. ให้รับประทานยาแก้ปวด
4. ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ให้รีบนาส่งแพทย์โดยเร็ว
3. แมงกะพรุนไฟ
แมงกะพรุนไฟเป็นสัตว์ทะเลชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสารพิษอยู่ที่หนวดของมัน แมงกะพรุนไฟมีสี
น้าตาล เมื่อคนไปสัมผัสตัวมันจะปล่อยพิษออกมาถูกผิวหนัง ทาให้ปวดแสบปวดร้อนมาก ผิวหนังจะ
เป็นผื่นไหม้ บวมพองและแตกออก แผลจะหายช้า ถ้าถูกพิษมากๆ จะมีอาการรุนแรงถึงกับเป็นลมหมด
สติและอาจถึงตายได้
การปฐมพยาบาลเมื่อมีแมลงและสัตว์มีพิษกัดต่อย
36
วิธีปฐมพยาบาล
1. ใช้เชือก สายยาง สายรัด หรือผ้าผืนเล็กๆ รัดเหนือแผลประมาณ 5-10 เซนติเมตร โดยให้บริเวณที่ถูก
รัดอยู่ระหว่างแผลกับหัวใจ รัดให้แน่นพอสมควร พอให้นิ้วก้อยสอดเข้าได้ ป้องกันไม่ให้พิษงูเข้าสู่หัวใจโดย
รวดเร็ว และควรคลายสายที่รัดไว้ ควรใช้สายรัดอีกเส้นหนึ่งรัดเหนืออวัยวะที่ถูกงูกัดขึ้นไปอีกเปลาะ
หนึ่ง เหนือรอยรัดเดิมเล็กน้อยจึงค่อยคลายผ้าที่รัดไว้เดิมออก ทาเช่นนี้ไปจนกว่าจะได้ฉีดยาเซรุ่ม
2. ล้างบาดแผลด้วยน้าด่างทับทิมแก่ๆ หลายๆ ครั้ง และใช้น้าแข็งหรือถุงน้าแข็งประคบหรือวางไว้บน
บาดแผล พิษงูจะกระจายเข้าสู่ร่างกายได้ช้าลง
3. ให้ผู้ป่วยนอนอยู่ในท่าที่บาดแผลงูพิษกัดอยู่ต่ากว่าระดับหัวใจ นอนอยู่นิ่งๆ เคลื่อนไหวร่างกายให้
น้อย
4. ไม่ควรให้ผู้ป่วยเสพของมึนเมา เพราะจะทาให้หัวใจเต้นแรง อาจทาให้พิษงูกระจายไปทั่วร่างกายเร็วขึ้น
5. รีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด
4. งู
ประเทศไทยมีงูหลายชนิด มีทั้งงูพิษและงูไม่มีพิษ งูพิษร้ายแรงมีอยู่ 7 ชนิด คือ งูเห่า งู
จงอาง งูแมวเซา งูกะปะ งูสามเหลี่ยม งูเขียวหางไหม้ และงูทะเล พิษของงูมีลักษณะเป็นสารพิษ งูแต่
ละชนิดมีลักษณะของสารไม่เหมือนกัน เมื่อสารพิษนี้เข้าไปสู่ร่างกายแล้วสามารถซึมผ่านเข้าไปใน
กระแสเลือดที่ไปเลี้ยงตามส่วนต่างๆ เกิดขึ้นในร่างกายไม่เหมือนกัน
ข้อเคล็ด
ฟกชา หัวโน ห้อเลือด
ใ
ให้บริเวณข้อนั้น ๆ อยู่นิ่ง ๆ และยกสูงไว้
ประคบน้าแข็งทันที เพื่อลดอาการบวม ,ปวด
ถ้าภายหลังมีอาการบวมให้ประคบด้วยน้าร้อน/นวดด้วยยาหม่อง
ถ้าปวดมาก บวมมากให้รีบปรึกษาแพทย์
ให้ประคบด้วยความเย็นให้เร็วที่สุด
ถ้าเกิดอาการนานเกิน 24 ชั่วโมง
ใช้ประคบและคลึงด้วยผ้าชุบน้าร้อนวันละ 2-3 ครั้ง
หรือ/ใช้มะนาวผสมดินสอพองพอก
37
การปฐมพยาบาล
38
การพันผ้าและการใช้ผ้าพันแผล
39
การปฐมพยาบาลการพันผ้าที่ข้อมือ
40
การปฐมพยาบาลการพันผ้าที่ข้อศอก
41
ในกรณีที่มีกระดูกต้นแขนหัก หรือกระดูกปลายแขนหัก เมื่อตกแต่ง
บาดแผลและเข้าเฝือกชั่วคราวแล้วจะทาการคล้องด้วยผ้าคล้องแขน
ตามลาดับ ดังนี้
การพันผ้าคล้องแขน
42
1.วางผ้าสามเหลี่ยมให้มุมยอดของสามเหลี่ยมอยู่
ใต้ข้อศอกข้างที่บาดเจ็บให้ชายผ้าด้านบนพาด
พาดไปที่ไหล่อีกข้างหนึ่ง
การพันผ้าคล้องแขน
2.จับชายผ้าด้านล่างตลบกลับขึ้นมา
ด้านบน ให้ชายผ้าพาดไปที่ไหล่
ข้างเดียวกับแขนที่เจ็บ
43
3.ผูกชายผ้าทั้งสองให้เป็นเงื่อนพิรอดให้
ปมอยู่ตรงร่องเหนือกระดูกไหปลาร้า
การพันผ้าคล้องแขน
4.เก็บมุมสามเหลี่ยมโดยใช้เข็มกลัด
กลัดติดให้เรียบร้อย
44
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ
เป็นการนาผู้บาดเจ็บออกจากสถานที่มีอันตรายไปสู่ที่ปลอดภัย
45
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
การใช้คนเพียงคนเดียว
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บด้วยวิธีลาก การลากโดยใช้ผ้าห่ม
46
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
การใช้คนเพียงคนเดียว
การเคลื่อนย้ายโดยการอุ้ม การพยุงเดินด้วยคนเพียงคนเดียว
47
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
การใช้คน 2 คน
การเคลื่อนย้ายด้วยการนั่งเก้าอี้ การเคลื่อนย้ายด้วยอุ้มและยก
48
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
การใช้คน 2 คน ใช้มือทาเปล
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บโดยนั่งบนเปลมือประสานกัน
49
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
การใช้คน 3 คน การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บด้วยคน 3 คนข้างเดียวกัน
50
การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
L/O/G/O
Thank You!
51

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Sumon Kananit
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Narenthorn EMS Center
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
sripayom
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
Utai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Narenthorn EMS Center
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
Paleenui Jariyakanjana
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
piyarat wongnai
 

What's hot (20)

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 

Similar to การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping

107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
Nantawan Tippayanate
 
First aid 1
First aid 1First aid 1
First aid 1
Pir Jnn
 
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด Newเล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด Newsavong0
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล
กฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
praphan khunti
 
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาbowing3925
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6คงศักดิ์ วิเวกวิน
 
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1Anawat Supappornchai
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
tassanee chaicharoen
 

Similar to การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping (14)

107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
107+heap4+dltv54+550119+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
125+heap3+dltv54+550221+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
First aid 1
First aid 1First aid 1
First aid 1
 
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด Newเล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
119+heap4+dltv54+550209+b+สไลด์ การปฐมพยาบาล (4 หน้า)
 
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
 
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สุขศึกษาฯ ป.3 ชุด 1
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping