SlideShare a Scribd company logo
1 of 111
Download to read offline
ภูมิศาสตร์ ม.5
ภูมิศาสตร์กายภาพ
2
โลกและสัณฐานของโลก
ธรณีภาค
บรรยากาศภาค
อุทกภาค
ชีวภาค
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่
ส่งผลต่อภูมิประเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่
ส่งผลต่อภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่
ส่งผลต่อทรัพยากรธรรมชาติ
การ
เปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่
ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
และทรัพยากรธรรมชาติ
ลักษณะทางกายภาพและการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก
1. โลกและสัณฐานของโลก
โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
หมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ สัณฐาน
ของโลกเป็นทรงกลมรี มีบรรยากาศห่อหุ้ม มีน้าบน
ผิวโลก มีความชืนและแก๊สต่างๆ ในชันบรรยากาศ
รวมทังมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่
12,714 กิโลเมตร
12,757 กิโลเมตร
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
ระบบโลก
ธรณีภาค บรรยากาศภาค อุทกภาค ชีวภาค
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2. ธรณีภาค
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2. ธรณีภาค
2.1 โครงสร้างของโลก
การแบ่งชันโครงสร้างภายในโลก แบ่งได้ 2 แบบ ดังนี
1) การแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี
แบ่งเป็น 3 ชั้น ได้แก่
ชันเปลือกโลก (crust)
ชันเนือโลก (mantle)
ชันแก่นโลก (core)
2) การแบ่งตามคุณสมบัติเชิงกล
แบ่งเป็น 5 ชั้น ได้แก่
แผ่นธรณีภาค (หินแข็ง) และฐานธรณีภาค คือ
เนือโลกตอนบน เนือโลกตอนล่าง แก่นโลก
ชันนอก และแก่นโลกชันใน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) ชั้นเปลือกโลก
 เปลือกโลกประกอบด้วย เปลือกโลกส่วนที่เป็นภาคพืนทวีป
และเปลือกโลกที่อยู่ใต้มหาสมุทรวางตัวอยู่บนชันเนือโลก
2) ชั้นเนื้อโลก
 ชันเนือโลกมีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร
ประกอบด้วย หินเหลวและหินหนืด
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3) ชั้นแก่นโลก
เป็นมวลสารที่มีความร้อนสูง ซึ่งเป็นส่วนในสุดของโลก
แบ่งออกเป็น 2 ชัน ได้แก่
แก่นโลกชั้นใน (inner core)
แก่นโลกชั้นนอก (outer core)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค คือ เปลือกโลกและเนือโลกตอนบนสุด มีการปรับเปลี่ยนสภาพ
ตลอดเวลา
1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายในโลก (endogenic process)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
• กระบวนการภูเขาไฟ เป็นกระบวนการแปรสัณฐานอย่างรวดเร็ว เกิดจากแรงภายในโลกปะทุเอา
แมกมาขึนมาเป็นลาวา ก่อให้เกิดลักษณะภูมิประเทศใหม่ ๆ เป็นการเพิ่มระดับบนผิวโลกจากการ
ทับถมของลาวา การตกตะกอนทับถมของเถ้าถ่านและฝุ่นภูเขาไฟ
ปะทุตามรอยแยก ภูเขาไฟรูปโล่ กรวยเถ้าธุลีภูเขาไฟ กรวยภูเขาไฟสลับชั้น แอ่งภูเขาไฟ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ประเภทภูเขาไฟตามลักษณะการเกิด
2
•กระบวนการแปรสัณฐาน
อย่างช้า ๆ เกิดจากการ
เคลื่อนตัวของหินหนืดในชัน
เนือโลก จนเปลือกโลก
แปรสัณฐานเปลี่ยนไปจากเดิม
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1. แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน เช่น สันเขากลางมหาสมุทร
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีมี 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2. แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
• 3. แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส มีความยาวกว่า 1,300 กิโลเมตร
2
• ชั้นหินคดโค้ง คือ รอยคดโค้งที่
ป ร า ก ฏ ใ น หิ น เ ป ลื อ ก โ ล ก
เกิดจากความเค้นและความเครียด
ของเปลือกโลก
ชั้นหินคดโค้งแบบพับผ้า
ไดอะแกรมแสดงชันหินคดโค้งแบบพับผ้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ไดอะแกรมแสดงชั้นหินคดโค้งรูปประทุนและรูปประทุนหงาย
2
รอยเลื่อน คือ ชันหินเมื่อถูกแรงเค้นมากระท้าจนแตกหักและเคลื่อนที่ตามระนาบรอยแตก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1. เกิดจากการหดตัวเนื่องจากอุณหภูมิลดลง
2. เกิดจากสิ่งที่เคยกดทับถูกพาออกไป
แนวแตก คือ ร่องรอยที่เกิดจากแรงเครียดและแรงเค้นจาก
กระบวนการภายในโลก ที่กระท้าต่อมวลหินขนาดใหญ่
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายนอกโลก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
กระบวนการผุพังอยู่กับที่
กระบวนการเคลื่อนที่ของมวล
กระบวนการกร่อน กระบวนการพัดพาและการทับ
ถม
2
1. กระบวนการผุพังอยู่กับที่
• การผุพังอยู่กับที่ เป็นการผุพังของหินด้วยลมฟ้าอากาศ ปัจจัยส้าคัญ คือ อุณหภูมิ และความชืนใน
บรรยากาศ
1.1 กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางฟิสิกส์ การขยายตัวและหดตัวของแร่ประกอบหินที่แตกต่างกัน
จากอุณหภูมิและความชืน ท้าให้ผิวหน้าหินแตกออก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1.2 กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี
2
1.3 กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางชีวภาพ
เป็นกระบวนการผุพังของหินเปลือกโลกที่เกิดจาก
การกระท้าของพืชและสัตว์
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
กระบวนการเคลื่อนที่ของมวล
- แผ่นดินถล่ม คือ การเคลื่อนที่ของมวลแผ่นดิน
เช่น ดิน หิน และสิ่งที่อยู่บนแผ่นดินนันเลื่อนลง
มาตามความลาดชันของพืนที่
- การเลื่อนไถล คือ การเคลื่อนที่ของมวลเศษหิน
เศษดิน ลงมาตามความลาดชัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2 2. กระบวนการเคลื่อนที่ของมวล
กระบวนการที่เศษดิน เศษหินบนพืนที่ลาดเขาเคลื่อนที่ตามอิทธิพลแรงโน้มถ่วง
ลงสู่พืนที่ด้านล่างโดยมีน้าหรือแรงสั่นสะเทือนกระตุ้น
หินถล่ม (rockslide)
หินและเศษหินที่เกิดถล่มอย่างรวดเร็วลงสู่ที่ต่้าของลาดเขา
การไหลของดิน (solifluction) คือ การเลื่อนไถลของดินอย่างช้า ๆ ลงไปตามลาดเขา
ดินไหล (earth flow)
ดินหรือหินผุที่เลื่อนไถลจากไหล่เขาหรือลาดเขา
ตามแรงดึงดูดของโลก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3. กระบวนการกร่อน
กระบวนการกร่อน เป็นกระบวนการปรับระดับพืนผิวโลกด้วยการกัดเซาะออกไป โดยตัวกระท้าส้าคัญทาง
ธรรมชาติต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
กระบวนการกร่อน
การกร่อนสลาย การกร่อนครูดถู การกระทบกระแทกให้แตก การพัดกราด
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.1 กระบวนการกร่อน ที่สาคัญมีดังนี้
•การกร่อนสลาย
•การกร่อนครูดถู
•การกระทบกระแทกให้แตก
•การพัดกราด
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.2 กระบวนการพัดพา ที่สาคัญมีดังนี้
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
• การพัดพาท้องธาร เป็นการพัดพาโดยน้าหรือธารน้าแข็งที่พัดพาตะกอนหิน กรวด
ทรายขนาดต่าง ๆ ที่มีขนาดหยาบ น้าหนักมาก เคลื่อนไปตามพืน
• การแขวนลอย เป็นการเคลื่อนที่ของตะกอนละเอียดที่แขวนลอยไปกับน้าได้ในระยะ
ทางไกล ๆ เช่น ตะกอนทรายแป้ง ตะกอนดินเหนียว
2
• การกลิ้ง เป็นการเคลื่อนที่ด้วยแรงน้า ลม คลื่น ธารน้าแข็ง
• การเลื่อน เป็นการเคลื่อนแบบเลื่อนไปของตะกอนด้วยตัวการใด ๆ
• การกระดอน เป็นกระบวนการที่เกิดในทะเลทรายโดยลม
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.3 กระบวนการทับถม
ที่สาคัญมีดังนี้
• การทับถมโดยน้า
• การทับถมโดยลม
• การทับถมโดยธารน้าแข็ง
• การทับถมโดยคลื่น
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3. บรรยากาศภาค บรรยากาศ คือ ชันอากาศที่ห่อหุ้มโลก มีอุณหภูมิ ความหนาแน่น
ความกดอากาศแตกต่างกันตามระดับความสูง
3.1 ส่วนประกอบของบรรยากาศ
ส่วนประกอบของบรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
3.2 ชั้นบรรยากาศ
ชันบรรยากาศโลกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
ชั้นโฮโมสเฟียร์ ซึ่งมีการลด-เพิ่มอุณหภูมิตามความสูง คือ ชันโทรโพสเฟียร์ สแตรโทสเฟียร์ และ
เมโซสเฟียร์
ชั้นเฮเทอโรสเฟียร์ เป็นชันที่อุณหภูมิเพิ่มตามความสูง คือ ชันเทอร์โมสเฟียร์และเอกโซสเฟียร์
2
ชั้นบรรยากาศโลก
1) โทรโพสเฟียร์ เป็นชันที่มีมวลอากาศ ได้แก่ ไอน้า
หมอก ฝน พายุ และแก๊ส บรรยากาศในชันนีมัก
ปรากฏสภาพอากาศที่รุนแรง เนื่องจากการเปลี่ยน
สถานะของน้าในอากาศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) สแตรโทสเฟียร์ บรรยากาศในชันนีสงบ เนื่องจากไม่มี
เมฆหรือพายุจึงใช้เพื่อการบิน ในชันนีมีแก๊สโอโซน
อยู่หนาแน่น ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจาก
ดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังพืนโลกมากเกินไป
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3) เมโซสเฟียร์ เป็นชันบรรยากาศที่ช่วยชะลอวัตถุนอกโลก
ที่ผ่านเข้ามาให้เกิดการเผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
4) เทอร์โมสเฟียร์ บรรยากาศในชันนีมีสถานะเป็น
ประจุไฟฟ้า ซึ่งมีประโยชน์ในการสะท้อนคลื่นวิทยุ
ส้าหรับการสื่อสารโทรคมนาคม
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
5) เอกโซสเฟียร์ เป็นชันบรรยากาศที่เปลี่ยน
จากบรรยากาศของโลกไปเป็นแก๊สที่เบาบาง
เป็นชันนอกสุดของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก และเป็นชันที่มี
ดาวเทียมโคจรในระดับต่้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.3 พลังงานจากดวงอาทิตย์
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
พลังงานจากดวงอาทิตย์ส่งผลต่ออุณหภูมิของโลก ความกดอากาศของโลก ระบบลม
ของโลก มวลอากาศของโลก ความชืนในบรรยากาศ และหยาดน้าฟ้า ดังนี
1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลก
อุณหภูมิของบรรยากาศ คือ ระดับความร้อนหรือเย็นของอากาศที่บรรยากาศดูดซับ
พลังงานความร้อนที่แผ่รังสีคลื่นยาวมาจากผิวโลก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ปัจจัยสาคัญที่เป็นตัวควบคุมอุณหภูมิโลก
ตาแหน่งที่ตั้งตามละติจูด
ระดับความสูง-ต่าของผิวโลก
ชนิดมวลสารที่พื้นผิวโลกแตกต่างกัน
ฤดูที่แตกต่าง
การผันแปรอุณหภูมิประจาวัน
2
2) ความกดอากาศของโลก
แนวความกดอากาศของโลกมีความสัมพันธ์กับระบบลมประจ้าของ
โลก ดังนี
• แนวความกดอากาศต่้า
• แนวความกดอากาศต่้าถึงขัวโลก
• แนวความกดอากาศสูงขัวโลก
• แนวความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3) ระบบลมประจา
ลม คือ อากาศที่เคลื่อนที่ไปบนผิวโลก ลมพืนผิวโลกแบ่ง
ออกได้ ดังนี
1. เขตลมค้า
2. เขตลมตะวันตก
3. เขตลมตะวันออก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
4) มวลอากาศของโลก
มวลอากาศ คือ กลุ่มอากาศขนาดใหญ่ที่มีคุณสมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ได้แก่
อุณหภูมิ ความชืน ความกดอากาศ และลักษณะการเคลื่อนตัว มวลอากาศมักมีคุณสมบัติทางอากาศเหมือนกับ
พืนผิวที่อากาศนันสัมผัสอยู่
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
• แนวปะทะอากาศ (front) คือ แนวแบ่งเขตระหว่างมวลอากาศ 2 ชนิด มีสมบัติแตกต่างกันอย่างชัดเจน สมบัติมวลอากาศ
ที่แตกต่างกัน คือ ความหนาแน่น อุณหภูมิ ความชืน ทิศทางลม แนวปะทะอากาศ ได้แก่
• แนวปะทะอากาศเย็น
• แนวปะทะอากาศร้อน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
5) ความชื้นในบรรยากาศและเมฆ
ในบรรยากาศใกล้ผิวโลกมี
ไอน้าเป็นส่วนผสมอยู่ประมาณ
ร้ อ ย ล ะ 5 ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ น รู ป
ของละอองไอน้าเรียกว่า ความชืน
ในบรรยากาศ ละอองไอน้าที่มี
ความหนาแน่นมากๆ จะอยู่ในรูป
ของเมฆชนิดต่าง ๆ เมฆที่อยู่ใน
บรรยากาศมี 3 ชัน คือ เมฆชันต่้า
เมฆชันกลาง เมฆชันสูง และเมฆก่อตัว
ในแนวดิ่ง
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ไดอะแกรมระดับเมฆ 3 ชั้น และเมฆก่อตัวในแนวดิ่ง
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
6) หยาดน้าฟ้า หมายถึง น้าในบรรยากาศที่ตกลงมายังพื้นผิวโลก
ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สาคัญ คือ
ฝน
ฝนน้าแข็ง
ลูกเห็บ
หิมะ
2
4. อุทกภาค
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
อุทกภาค คือ ส่วนที่เป็นน้าทังหมดบนพืนผิวโลกที่นอกเหนือไปจากส่วนที่เป็นของแข็งของ
เปลือกโลกและส่วนบรรยากาศของโลก
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
4.1 ปริมาณน้าของโลก น้าที่อยู่บนพืนผิวโลกทังหมดประกอบด้วย
แผนภาพสัดส่วนปริมาณน้าของโลก
น้าในมหาสมุทร ร้อยละ 97.21
พืดน้าแข็งและธารน้าแข็ง ร้อยละ 2.14
น้าใต้ดิน ร้อยละ 0.62
หนอง บึง แม่น้า ทะเลสาบ ร้อยละ 0.02
ไอน้าในบรรยากาศ ร้อยละ 0.01
2
4.2 วัฏจักรของน้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
4.3 ระบบน้าจืดบนโลก ส่วนที่เป็น
ภาคพืนทวีปมีระบบน้าจืดอยู่บนผิวดิน
ใต้ดิน และน้าที่อยู่ในอากาศ
• แหล่งน้าจืดผิวดิน คือ ระบบน้าตาม
ธรรมชาติที่ไหลตามภูมิประเทศที่ต่้า เช่น
ล้าห้วย ล้าธาร คลอง แม่น้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
• แหล่งน้าจากหิมะและธารน้าแข็งบนภูเขา
น้าแข็งที่ละลายในฤดูร้อนจะไหลลงมาตามล้าห้วย
ล้าธาร และแม่น้าสายต่าง ๆ
• ไอน้าในอากาศ เมฆที่จับตัวกันบริเวณยอดเขา
เปลี่ยนเป็นหยดน้าได้ด้วยการกลั่นตัว
2
4.4 ระบบน้าใต้ดิน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
4.5 ระบบน้าเค็ม
• น้าเค็มบนพืนโลก คือ น้าในทะเลและมหาสมุทร และในทวีป
ยั ง มี ท ะ เ ล ส า บ น้ า เ ค็ ม เ ช่ น ท ะ เ ล เ ด ด ซี
ทะเลสาบแคสเปียน ทะเลสาบบัลคัน ทะเลสาบเกรตซอลต์
2
สารละลายในน้า ร้อยละ
คลอไรด์ (Cl-) 54.3%
โซเดียม (Na+) 30.2%
ซัลเฟต (So++) 7.6%
แมกนีเซียม (Mg++) 3.7%
แคลเซียม (Ca++) 1.2%
โปแตสเซียม (K+) 1.1%
ประจุอื่น ๆ 1.9%
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
• น้าเค็มเกิดจากการละลายของแร่
ที่เป็นเกลือจากเปลือกโลก
บนทวีป แล้วไหลมาสะสม
ใ น ท ะ เ ล แ ล ะ ม ห า ส มุ ท ร
สารละลายในน้าทะเล
2
ระบบหมุนเวียน
ของน้าในมหาสมุทร
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
5. ชีวภาค (biosphere)
พืนที่บริเวณต่าง ๆ ในโลกที่มีสภาพแวดล้อมทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศคล้ายคลึงกัน มักมีลักษณะ
ทางชีวนิเวศเหมือนกัน ความสัมพันธ์ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิตทังพืชและสัตว์ เป็น
ระบบการอยู่ร่วมกันอย่างสลับซับซ้อนของสิ่งมีชีวิต เรียกว่า ระบบชีวนิเวศ (biome)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เขตชีวนิเวศ ลักษณะ บริเวณที่พบ
1. ป่าฝนเขตร้อน หรือ
ป่าดิบชืน
(tropical rainforest)
มีความหลากหลายของพืชพรรณ
ทังชนิด ปริมาณ ขนาด และ
ระดับสูง พันธุ์ไม้ที่พบส่วนใหญ่
เป็นไม้วงศ์ยางตะเคียน มีจุลินทรีย์
ในดินสูง สัตว์ป่า เช่น เสือ ช้าง ลิง
อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบ
ร้อนชืนแถบศูนย์สูตรแบบ
Af, Am
2. ป่าดิบแล้งเขตร้อน
(tropical dryforest)
มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง
บางครังในเขตป่าดิบชืนด้าน อับลม
จะมีป่าดิบแล้งแทรกอยู่บนไหล่เขา
พันธุ์ไม้ที่พบ เช่น ยางแดง
มะค่าโมง สัตว์ป่าเป็นสัตว์
ชนิดเดียวกับป่าฝนเขตร้อน
อยู่ในเขตภูมิอากาศร้อน
แห้งแบบ Aw ที่มีฤดูแล้ง
ชัดเจน กระจายอยู่ในเขต
ร้อนและค่อนไปทางกึ่งเขต
ร้อนของทุกทวีป
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เขตชีวนิเวศ ลักษณะ บริเวณที่พบ
3. ป่าผลัดใบ
เขตอบอุ่น
(temperate
deciduous forest)
มีพืชพรรณหลากหลายชนิดมี
พันธุ์ไม้ทุกระดับชันตังแต่ ไม้เตีย
ไม้พุ่ม ไม้ระดับกลาง และไม้ใหญ่
ระดับสูง เช่น สน เมเปิล สัตว์ป่า
เช่น กวาง สุนัขจิงจอก กระต่าย
แถบยุโรปตะวันตก
ยุโรปกลาง ตะวันออกของ
อเมริกาเหนือ ตะวันออก
ของจีน
4. ป่าฝนเขตอบอุ่น
(temperate
rainforest)
ลักษณะพืชพรรณเป็นแบบผสม
ระหว่างป่าผลัดใบเขตอบอุ่น
กับป่าฝน พันธุ์ไม้ที่พบ เช่น ยูคา
ลิปตัส วอลนัท เมเปิล สัตว์ป่า เช่น
กระรอก กระต่าย กวาง
อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบ
อบอุ่น แต่ปริมาณ ฝน
สูงกว่า เช่น ทางตะวันออก
ของทวีปออสเตรเลีย
ทางใต้ของญี่ปุ่น
แหลมฟลอริดา
และทางตะวันออก
ของอเมริกาใต้
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เขตชีวนิเวศ ลักษณะ บริเวณที่พบ
5.ทุ่งหญ้าสะวันนา
(savanna tropical
grassland)
พืชพรรณเป็นทุ่งหญ้าสลับป่าโปร่ง
มีไม้พุ่มและไม้ยืนต้นระดับสูง
แทรกสลับ สัตว์ป่า เช่น สิงโต เสือ
ดาว ฮิปโปโปเตมัส แรด ช้าง
กระจายอยู่ในเขต
กึ่งแห้งแล้งของแอฟริกา
คาบสมุทรเดกกัน
คาบสมุทรอินโดจีน
ประเทศบราซิลและ
เวเนซุเอลา
6. ทุ่งหญ้าเขต
อบอุ่น
(temperate
grassland)
พืชพรรณส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
ไม่มีต้นไม้เหมือนทุ่งหญ้าเขตร้อน
พืนที่ทุ่งหญ้ามักมีดินอุดมสมบูรณ์
สัตว์ป่า เช่น กวาง นก แมลง
ตอนกลางของทวีป
อเมริกาเหนือ ตอนกลาง
ของทวีปเอเชียและ
ออสเตรเลีย
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เขตชีวนิเวศ ลักษณะ บริเวณที่พบ
7. พืชพรรณแบบ
เมดิเตอร์เรเนียน
หรือป่าแคระ
(chaparral หรือ
scrub)
พืชพรรณส่วนใหญ่เป็นป่าไม้
พุ่มเตียและมีไม้ยืนต้นแทรกสลับ
เช่น ไม้โอ๊ก ไม้มะฮอกกะนี
ไม้มะกอก สัตว์ป่า เช่น กวาง
กระต่าย นก
พบบริเวณทะเล
เมดิเตอร์เรเนียนและ
ตอนเหนือของแอฟริกา
เขตนีมีฝนตกในฤดูหนาว
และอยู่ไม่ไกลจากทะเล
8. พืชพรรณ
ทะเลทราย
(tropical and
temperate desert)
พืชพรรณที่พบเป็นพืชทนแล้ง เช่น
ตะบองเพชร ไม้หนาม ต้นปาล์ม
ไม้พุ่ม ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า เช่น งู
แมงป่อง อูฐ แมลงต่าง ๆ
พบบริเวณทะเลทรายที่มี
น้าซึมออกมา เช่น บริเวณ
โอเอซิส หรือบริเวณที่มี
ทางน้าใต้ดิน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เขตชีวนิเวศ ลักษณะ บริเวณที่พบ
9. พืชพรรณ
เขตหนาวหรือป่าไทกา
(boreal rainforest)
พืชพรรณส่วนใหญ่เป็นไม้สน
จึงเรียกป่าสนเขตไทกา สัตว์ป่า
เช่น หมี กวาง สุนัขจิงจอก
ยุโรปเหนือผ่านรัสเซียจนถึง
ไซบีเรียและคาบสมุทรคัมชัตคา
ในทวีปอเมริกาเหนือพบใน
แคนาดา และบางส่วนใน
อะแลสกา เกาะใต้ของประเทศ
นิวซีแลนด์และบริเวณ ปลาย
แหลมของทวีปอเมริกาใต้
10. พืชพรรณ
แบบทุนดรา
(tundra)
ส่วนใหญ่เป็นพืชขนาดเล็ก เช่น
มอสส์ ไลเคน หญ้า ไม้พุ่ม
ขนาดเล็ก สัตว์ป่าที่พบในเขต
ขัวโลก เช่น กวางเรนเดียร์
แมวน้า เพนกวิน
อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบ ET ที่มี
อากาศหนาวเย็นแบบกึ่งขัวโลก
และขัวโลก ในดินมีชันเยือกแข็ง
ของน้าในดิน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ
1.1 กระบวนการน้าบนพื้นผิวดินกับลักษณะภูมิประเทศ
2
1) ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยน้าที่สาคัญ มีดังนี้
ลาธาร (stream)
ภูมิประเทศที่เป็นเส้นทางน้าไหล เป็นช่วงหนึ่งของล้าน้าที่ต่อมาจาก
ล้าห้วย
แก่ง (rapids)
ภูมิประเทศที่อยู่ในร่องน้าระดับต่างๆ ส่วนใหญ่เป็น
โขดหินที่แข็งไม่ถูกเซาะได้ง่าย เช่น หินทราย หินอัคนีบางชนิด
น้าตก (waterfall)
ภูมิประเทศที่เกิดจากความต่างระดับในเส้นทางน้าหรือ
ร่องน้า ท้าให้สายน้าไหลตกในแนวตังฉากหรือลาดเอียงตามลักษณะ
ทางน้าที่ต่างระดับกัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
โกรกธาร (gorge)
ภูมิประเทศหุบผาลึกชัน มีหน้าผาชันอยู่ทังสองฝั่งของหุบ ด้านล่างมักมี
ธารน้าไหล
กุมภลักษณ์ (pothole)
ภูมิประเทศที่เป็นบ่อกลมรูปหม้อ เกิดที่ท้องน้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมโดยน้าที่สาคัญ
มีดังนี้
เนินตะกอนรูปพัด (alluvial fan)
เป็นเนินตะกอนที่น้าพัดพามาจากหุบเขา
ลาดชัน เมื่อถึงบริเวณที่ราบหรือที่ลาด ล้าน้าจะ
แผ่กว้างกระจายออกเป็นรูปพัด ท้าให้ความแรงของ
น้าลดลง และทิงตะกอนไว้บริเวณปากทางหุบเขา
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
คันดินธรรมชาติ (natural levee)
เป็นภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมของตะกอน
ล้าน้าที่ทับถมบริเวณริมฝั่งตามความยาว
ของล้าน้าทังสองฝั่ง
ที่ราบน้าท่วมถึง (flood plain)
เป็นภูมิประเทศพืนที่ราบที่เกิดจากตะกอนแม่น้า
น้ามาทับถมเมื่อน้าหลากและท่วมล้นฝั่ง
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้า (river delta)
ดินดอนบริเวณปากแม่น้า เกิดขึนจากการที่แม่น้าและสาขาน้อยใหญ่ที่กระจายออก
ตรงปากแม่น้าพาตะกอนมาทับถม ท้าให้เกิดสันดอนกลางน้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1.2 กระบวนการของน้าใต้ดินกับลักษณะภูมิประเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยน้าใต้ดินที่สาคัญ มีดังนี้
ถ้า (cave)
ภูมิประเทศที่เป็นโพรงขนาดใหญ่ ลึกเข้าไปในพืนดินหรือภูเขา ส่วนใหญ่เกิดในหินปูน
หลุมยุบ (sinkhole)
ส่วนใหญ่เกิดจากการละลายของหินที่อยู่ด้านล่าง แล้วถูกน้าใต้ดินพาตะกอนออกไป พืนดินด้านบน
จึงยุบลงเป็นหลุมใหญ่
คาสต์ (karst topography)
ลักษณะภูมิประเทศในพืนที่ที่มีหินปูน ที่ถูกชะล้างสลายเนือหินออกไปจนเหลือแต่ซาก
หินปูนรูปแบบต่าง ๆ มากมาย
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมโดยน้าใต้ดินที่สาคัญ
มีดังนี้
สิ่งทับถมในถ้า
หินย้อย คือ ส่วนที่พอกพูนจากน้า คาร์บอเนตที่ย้อยลงมาจาก
เพดานถ้า แล้วจับตัว
หินงอก คือ ส่วนที่พอกพูนจากน้า คาร์บอเนตที่รับน้าหยดลง
มาจากหินย้อย แล้วพอกพูนที่พืนถ้าเป็นแท่งเสาหินยื่นขึน
จากพืนถ้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1.3 กระบวนการของคลื่นกับลักษณะภูมิประเทศชายฝั่ง
ชายฝั่งทะเลสามารถจ้าแนกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ ชายฝั่งยกตัว (emergence
coastline) และชายฝั่งจมตัว (submergence coastline) ลักษณะของชายฝั่งจะอยู่ที่ระดับน้าทะเลกับ
ลักษณะของชายฝั่งประกอบกัน การยกตัวของชายฝั่งเกิดได้จากการที่แผ่นเปลือกโลกยกตัวสูงขึนหรือ
ระดับน้าทะเลลดลง ชายฝั่งจมตัวเกิดได้จากการที่แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือระดับน้าทะเลเพิ่มขึน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยคลื่นที่สาคัญ มีดังนี้
หน้าผาชันชายฝั่ง (sea cliff)
เกิดจากคลื่นชายฝั่งทะเลกัดเซาะให้หินชายฝั่งพังทลายลงมา
จนเป็นหน้าผา
ซุ้มหินชายฝั่ง (sea arch)
เป็นโพรงหินหัวแหลมทะลุถึงกัน
เกาะหินโด่ง (stack)
เป็นเกาะหินโดดที่อยู่ใกล้ชายฝั่งที่มีหน้าผาหินมาก ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมโดยคลื่นที่สาคัญ มีดังนี้
สันดอน (bar)
เนินที่เกิดจากกระแสน้าชายฝั่งหรือคลื่นพัดพาตะกอนมาทับถม
หาด (beach)
เกิดจากการที่คลื่นพัดพาตะกอนไปทับถม หาดที่เป็น
ตะกอนทรายเรียกว่า หาดทราย หาดที่มีก้อนกรวดเรียกว่า
หาดหิน หาดที่มีดินโคลนเรียกว่า หาดเลน
ลากูน (lagoon)
แอ่งน้าเค็มที่มีลักษณะแคบตืน
ชะวากทะเล (estuary)
ภูมิประเทศชายฝั่งทะเลที่เว้าเป็นช่องเข้าไปยังปากแม่น้า
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1.4 กระบวนการของลมกับลักษณะภูมิประเทศ
ในเขตทะเลทรายของโลกมีตัวการส้าคัญที่ปรับระดับเปลือกโลก คือ ลม ความรุนแรงของลมใน
ทะเลทรายสามารถสร้างและเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศได้หลายรูปแบบ การปรับระดับเปลือกโลกในทะเลทราย
มีทังการกร่อนและการทับถม
ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยลมอาจไม่ได้เกิดขึนจากลมโดยตรง แต่ลมสามารถพัดพา
เม็ดทราย กรวดหินก้อนเล็ก ๆ ให้กลิง ขีดข่วน ขัดสี ขัดเกลาสิ่งขวางกันหรือพืนลานหินให้เป็นร่องรอยและ
เปลี่ยนรูปร่างได้
ในเขตทะเลทรายจะมีลมพัดแรง บางครังเกิดเป็นพายุทราย (sand storm) โดยพายุทรายสามารถ
หอบทรายและฝุ่นละอองไปได้ไกล และทับถมเกิดเป็นภูมิประเทศแบบต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยลมที่สาคัญ มีดังนี้
เสาหิน (pedestal rock)
เกิดจากกระบวนการพัดกราดของลมในทะเลทราย
ดาดกรวดทะเลทราย (desert pavement)
เกิดจากลมพัดพาเอาเม็ดทรายออกไป
แอ่งลมหอบ (blowout)
ภูมิประเทศถูกลมพัดพาท้าให้มีลักษณะพืนผิวเป็นหลุมเป็นบ่อ
ลาดเชิงเขาสึกกร่อน (pediment)
เกิดการเซาะกร่อนโดยลมหรือน้าในบางเวลา
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมโดยลม
เนินทราย (sand dune)
ภูมิประเทศในทะเลทรายที่เกิดจากการทับถม
ของตะกอนทรายที่ลมพัดพามา
ดินลมหอบ (loess)
ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมของตะกอน
ทรายแป้งที่ลมพัดพามาไม่มีลักษณะเป็น
ชันไม่จับตัวแข็ง ส่วนใหญ่ถูกพัดพามา
จากทะเลทราย
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1.5 กระบวนการของธารน้าแข็งกับลักษณะภูมิประเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยธารน้าแข็งที่สาคัญมีดังนี้
หุบเขาธารน้าแข็งเซิร์ก (cirque)
สันเขาอาแรต (arête)
ยอดเขาพีระมิด (horn)
แอ่งน้าบนเขา (tarn)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่เกิดจากการทับถมโดยธารน้าแข็งที่สาคัญมีดังนี้
• เนินเคม (kame)
• หลุมธารน้าแข็ง (kettle)
• ตะกอนธารน้าแข็งไม่แสดงชั้น (till)
• ทะเลสาบธารน้าแข็ง (glacial lake)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิอากาศ
2.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
1) การผันแปรของพลังสุริยะ ดวงอาทิตย์เป็นต้นก้าเนิดพลังความร้อนที่บรรยากาศโลกได้รับ
ดวงอาทิตย์แผ่รังสีคลื่นสันผ่านบรรยากาศโลก บรรยากาศดูดซับไว้ส่วนหนึ่ง โลกแผ่รังสีคลื่นยาวให้
บรรยากาศโลก บรรยากาศดูดซับไว้ส่วนหนึ่ง อุณหภูมิของบรรยากาศโลกจึงผันแปรไปตามการแผ่รังสี
ของดวงอาทิตย์และโลก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
1) การผันแปรของพลังสุริยะ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) การผันแปรวงโคจรของโลก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3) การผันแปรของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สมีเทนเป็นแก๊สเรือนกระจกหลักที่มี
การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึนและลดลงตามกระบวนการธรรมชาติอย่าง
ต่อเนื่องเป็นล้าดับ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในอดีต
(หรือภูมิอากาศบรรพกาล)
4) การผันแปรจากการปะทุของภูเขาไฟ การปะทุของภูเขาไฟที่รุนแรง
ในแต่ละครังบนโลกได้พ่นเถ้าถ่านฝุ่นละอองภูเขาไฟเข้าไปสู่บรรยากาศ
และแผ่กว้างไปตามกระแสลม ฝุ่นละอองเหล่านีได้บดบังพลังงานจาก
ดวงอาทิตย์เป็นเวลานาน อันเป็นเหตุให้อุณหภูมิของบรรยากาศโลก
ลดลง
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2.2 ประเภทภูมิอากาศ
การจ้าแนกเขตภูมิอากาศโลก นิยมใช้เกณฑ์การจ้าแนกของเคปเพิน (Köppen Climate Classification
System) เกณฑ์ส้าคัญที่ใช้จ้าแนก ได้แก่ อุณหภูมิ ความชืน และเวลา จ้าแนกออกเป็น 5 เขตหลักส้าคัญ
และเขตย่อย ดังนี
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ
3.1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
ดิน เป็นมวลรวมของวัตถุขนาดเล็กที่ย่อยสลายจากวัตถุประกอบโลก ดินประกอบด้วย มวลวัตถุที่
เป็นอนินทรียสาร อินทรียสาร น้าและอากาศ ดังนัน ส่วนผสมในดินเป็นส่วนผสมที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาพ
ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบของดิน เมื่อสภาพปัจจัยในการก่อเกิดดินเปลี่ยนจะท้าให้กระบวนการเกิดและสร้างดิน
ปรับเปลี่ยนไปด้วย ปัจจัยส้าคัญที่ควบคุมการก้าเนิดดิน คือ วัตถุต้นก้าเนิดดิน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
อินทรียวัตถุ และเวลา
1) วัตถุต้นกาเนิดดินที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
วัตถุต้นก้าเนิดดิน คือ หินดินดาน หินทราย หินปูน หินแกรนิต หินบะซอลต์ เมื่อสลายตัวจึงเกิดเป็นดิน
ที่มีลักษณะแตกต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) ภูมิประเทศที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
• ที่ราบ มักเป็นที่สะสมของตะกอนอินทรียวัตถุและความชืน จึงพัฒนาชันดินบน คือ ชัน O และ A
ได้หนา
• ที่เนิน โคก โนน เป็นภูมิประเทศที่สูง การซึมซาบและการชะล้างของน้าผิวดินเกิดขึนได้ง่าย จึงมีการ
สะสมอนุภาคละเอียดในชันดินล่าง
• ที่ลาดเชิงเขา มักเป็นดินตืน มีชันดินไม่ครบ หรือมีการสูญเสียหน้าดินได้ง่าย จึงมักจะมีชัน A และ C
• ที่สูงภูเขา ดินไม่มีโอกาสพัฒนาชันดินมากนัก
• ที่ราบสูง ถึงแม้จะมีระดับสูง แต่เป็นที่ราบ การพัฒนาของดินจึงเกิดขึนได้ ดินมีทุกระดับชัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3) ภูมิอากาศที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
• เขตฝนชุกและอุณหภูมิสูง เช่น เขตร้อน การผุสลายของหินและแร่มีมาก ท้าให้มีชันวัตถุต้น
ก้าเนิดดินหนาสามารถพัฒนาดินได้มาก
• ในเขตฝนแล้ง อุณหภูมิสูง คือ เขตแห้งแล้ง การระเหยมีมาก จึงมักมีชันเกลือเข้ามาแทรกชันอยู่
เป็นผลท้าให้ดินเค็มได้
• ในเขตหนาว ความชื้นสูง มักมีชันน้าแข็งอยู่ใต้ดิน เมื่อหน้าร้อนน้าแข็งละลาย หน้าดินจะถูกพา
เคลื่อนที่ไปกับน้า ท้าให้เกิดการสูญเสียหน้าดิน
• ในเขตที่มีฤดูแล้งสลับฤดูฝน จะมีการพัฒนาชันดานในชันดินล่าง โดยเฉพาะบริเวณที่ดอน เช่น
มีชันดานเหล็ก
ดานดินเหนียว ดานปูน เกิดขึนแทรกอยู่ในชันดินล่าง
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
4) อินทรียวัตถุที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
• อินทรียวัตถุเป็นส่วนประกอบของดิน แต่ละภูมิอากาศจะมีอินทรียวัตถุแตกต่างกัน พืนที่ที่มี
อินทรียวัตถุสูงแต่สูญสลายช้า เช่น ในเขตอบอุ่นจะท้าให้ดินอุดมสมบูรณ์ ส่วนสัตว์นันจะ
เป็นตัวการช่วยสร้างดิน โดยพวกจุลชีพทังหลายและสัตว์เลือยคลานบางชนิด เช่น ไส้เดือน มอด
ปลวก มด แมลงบางชนิดจะช่วยผสมคลุกเคล้าดิน ดังนันดินที่มีซากอินทรียวัตถุมากน้อยต่างกัน
จะท้าให้ดินต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
5) เวลาที่ส่งผลต่อทรัพยากรดิน
• ระยะที่ 1 เป็นระยะที่มีวัตถุต้นก้าเนิดดิน ซึ่งอาจเป็นวัสดุที่ผุพังอยู่กับที่ หรือเป็นวัสดุที่ถูกพัดพามา คือ ชัน C
• ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาชันดินบน โดยมีการย่อยสลายของซากพืช ซากสัตว์ ท้าให้มีฮิวมัสอยู่มาก ประกอบด้วย
อินทรียวัตถุเป็นส่วนใหญ่ และคลุกเคล้าชันดินบนเป็นชัน O
• ระยะที่ 3 เป็นระยะที่กระบวนการทางดินด้าเนินการสร้างชันดินล่างด้วยกระบวนการ ชะซึมอนุภาคเข้ามาสะสม
หรือชะล้างออกไป ท้าให้ชัน C บางส่วนเปลี่ยนไปเป็นชัน B และชันดินบนคลุกเคล้าอินทรียวัตถุเป็นชัน A
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อทรัพยากรน้า
1) เกิดน้าแข็งละลายที่ขั้วโลกและยอดเขา
• แหล่งน้าบนผิวโลกที่อยู่ในรูปของธารน้าแข็งที่ขัวโลกและยอดเขาสูง เมื่ออุณหภูมิของบรรยากาศสูงขึนเป็นผลท้าให้
ธารน้าแข็งละลาย การที่ธารน้าแข็งละลายเป็นการเปลี่ยนสถานะของน้า จากของแข็งเป็นของเหลว และส่วนหนึ่งเมื่อ
ละลายจะไหลเป็นทางน้าสู่ล้าห้วย ล้าคลอง และแม่น้า แล้วระเหยสู่อากาศไปอยู่ในรูปของไอน้าและก้อนเมฆ
อีกส่วนหนึ่งไหลลงสู่ทะเล ท้าให้ระดับน้าทะเลเพิ่มขึน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2) เกิดสภาวะฝนตกหนักในบางพื้นที่
• ผลจากอุณหภูมิของบรรยากาศสูง การระเหยคายน้าจากพืนผิวโลกเป็นไปในอัตราที่สูง ท้าให้การสะสมไอน้าใน
บรรยากาศมีมาก เมื่อไอน้าสะสมในบรรยากาศมากขึน ท้าให้เกิดสภาวะฝนตกมากในบางพืนที่ และเกิดสภาวะ
แห้งแล้งในบางพืนที่ เช่น การเกิดสภาวะปรากฏการณ์เอลนิโญ (El Niño) การเกิดปรากฏการณ์ลานีญา
(La Niña)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
3.3 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อพืชพรรณธรรมชาติ
1) การเปลี่ยนแปลงแทนที่ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่สาคัญมี 2 ระบบ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ขั้นปฐมภูมิ (primary succession)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ขั้นทุติยภูมิ (secondary succession)
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1. ข้อใดสรุปลักษณะของชันแก่นโลกได้ถูกต้อง
1. ประกอบไปด้วยชันไซอัลและชันไซมา เป็นชันหินและแร่
2. ประกอบไปด้วยชันในและชันนอก มีความร้อนและแรงดันสูง
3. ประกอบไปด้วยชัน A และชัน B ที่มีการเคลื่อนที่ของมวลน้า
4. ประกอบไปด้วยชันบนและชันล่าง มีแรงดันจากแมกมา
5. ประกอบไปด้วยชันเปลือกโลกและชันกลางโลก มีของเหลวอยู่ภายใน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2. กระบวนการแปรสัณฐานอย่างช้า ๆ ของโลกมีลักษณะตรงกับข้อใด
1. การตกตะกอนทับถมของเถ้าถ่านและฝุ่นภูเขาไฟ
2. การกระท้าจากภายนอกโลกต่อเปลือกโลก
3. การที่แรงภายในโลกปะทุเอาแมกมาขึนมาเป็นลาวา
4. การเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจากแก๊สที่อยู่ในชันบรรยากาศ
5. การที่เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่ชนกันเนื่องจากการเคลื่อนตัวของหินหนืด
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
3. กระบวนการพัดพาตรงกับข้อใด
1. การกร่อนและพัดพาด้วยแนวลมที่รุนแรง
2. การเคลื่อนที่ของตะกอนละเอียดที่แขวนลอยไปกับน้า
3. การพาเอาตัวกลางที่เป็นตะกอนขนาดใหญ่เคลื่อนที่และแตกสลาย
4. การเลื่อนไถลของดินอย่างช้า ๆ ลงไปตามลาดเขา
5. การเคลื่อนที่ของมวลต่าง ๆ ลงมาตามความลาดชัน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
4. ชันบรรยากาศที่มีสถานะเป็นประจุไฟฟ้าและมีประโยชน์ในการสะท้อนคลื่นวิทยุ
ตรงกับข้อใด
1. โทรโพสเฟียร์
2. เอกโซสเฟียร์
3. เมโซสเฟียร์
4. สแตรโทสเฟียร์
5. เทอร์โมสเฟียร์
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5. ความชืนในบรรยากาศและเมฆสอดคล้องกับข้อใด
1. การเกิดแนวปะทะอากาศเย็นและแนวปะทะอากาศร้อน
2. การเคลื่อนที่ของอากาศไปตามผิวโลกก่อให้เกิดทิศทางลม
3. การแผ่รังสีความร้อนของดวงอาทิตย์มายังพืนผิวโลก
4. การที่บรรยากาศดูดซับความร้อนและความเย็นจนท้าให้เกิดไอน้าในอากาศ
5. การที่บรรยากาศมีไอน้าและละอองน้าที่มีความหนาแน่นมาก ๆ ในอากาศ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
6. พืชพรรณขนาดเล็ก เช่น มอสส์ ไลเคน สามารถพบได้ในแนวเขตชีวนิเวศแบบใด
1. ป่าไทกา
2. ทุนดรา
3. ป่าเขตร้อน
4. ทุ่งหญ้าสะวันนา
5. เมดิเตอร์เรเนียน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
7. ภูมิประเทศที่เกิดการทับถมโดยคลื่นจะมีลักษณะส้าคัญตามข้อใด
1. อยู่ในพืนที่ที่มีหินปูนที่ถูกชะล้างสลายเนือหินออกไป
2. เกิดบนแผ่นดินซึ่งอาจเป็นที่ราบ ที่ดอน หรือที่สูง
3. เป็นหน้าผาชันชายฝั่งทะเล เกิดจากการกัดเซาะหินชายฝั่ง
4. เนินที่เกิดจากกระแสน้าชายฝั่งหรือคลื่นที่พัดพาตะกอนมา
5. เกาะหินที่อยู่ใกล้ชายฝั่งโดยคลื่นเซาะจนซุ้มหินชายฝั่งพังทลาย
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
8. การผันแปรของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศเป็นปัจจัยทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในข้อใด
1. ภูมิประเทศ
2. ทรัพยากรดิน
3. ภูมิอากาศ
4. ทรัพยากรน้า
5. พืชพรรณธรรมชาติ
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
9. ข้อใดไม่ใช่วัตถุที่เป็นต้นก้าเนิดดิน
1. หินปูน
2. หินทราย
3. หินแกรนิต
4. หินดินแดง
5. หินคาร์บอน
2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
10. การเปลี่ยนแปลงแทนที่มีลักษณะส้าคัญอย่างไร
1. การเกิดยุคน้าแข็งและยุคน้าแข็งละลาย
2. การระเหยคายน้าจากพืนผิวโลกไปสะสมในบรรยากาศ
3. การพบสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตมาก่อน
4. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกที่ท้าให้เกิดทวีปต่าง ๆ
5. การเกิดภัยธรรมชาติที่ท้าให้ลักษณะทางกายภาพของโลกเปลี่ยนไป
2

More Related Content

Similar to งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 

Similar to งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น (20)

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
209241 ch02
209241 ch02209241 ch02
209241 ch02
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 

งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น