SlideShare a Scribd company logo
ภูมิใจเสนอ
เรื่องไฟฟ้าสถิต
ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ในฤดูหนาวซึ่งมีอากาศแห้งเมื่อหวีผมแล้วนำมาใกล้กับกระดาษชิ้นเล็กๆจะพบว่าหวีสามารถดูดกระดาษได้และถ้านำหวีนั้นมาใกล้กับผิวหนังจะพบว่าขนบนผิวหนังถูกหวีดูดให้ตั้งขึ้น
ก . พีวีซีก่อนถู   ข . พีวีซีหลังถู เมื่อนำแผ่นพีวีชีเข้าใกล้กระดาษชิ้นเล็กๆสังเกตว่ากระดาษถูก  แผ่นพีวีชีดึงดูดให้เคลื่อนที่แสดงว่าแผ่นพีวีซีมีแรงกระทำกับกระดาษและต้นเหตุที่ทำให้เกิดแรงนี้คือ ประจุไฟฟ้า หรือเรียกสั้นๆว่า ประจุ เรียกแรงนี้ว่า แรงระหว่างประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า
ประจุมี 2 ชนิด ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุต่างชนิดกันจะดึงดูดกันเขียนทิศของแรงที่กระทำระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าได้ดังรูป  ก . ประจุบวกกับประจุบวก ข . ประจุบวกกับประจุลบ ค . ประจุลบกับประจุลบ แรงระหว่างอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าวางใกล้กัน
วัตถุประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากและแต่ละอะตอมมีนิวเคลียสซึ่งประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่าโปรตรอน อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า นิวตรอน และบริเวณนอกนิวเคลียสมีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่าอิเล็กตรอนอิเล็กตรอนมีมวลน้อยกว่ามวลของนิวเคลียสมากและสามารถหลุดออกจากอะตอมหนึ่งไปสู่อีกอะตอมหนึ่งได้เมื่อได้รับพลังงานจากภายนอกมากพอ อะตอมที่มีจำนวนโปรตรอนและจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากันจะอยู่ในสภาพป็นกลางทางไฟฟ้า
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะผลรวมระหว่างประจุของโปรตรอนและประจุของอิเล็กตรอนในอะตอมมีค่าเป็นศูนย์ การที่อิเล็กตรอนจากอะตอม  หนึ่งไปสู่อีกอะตอมหนึ่งทำให้ทำให้อะตอมที่เสียอิเล็กตรอนไปมีประจุลบที่ลดลงส่วนอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุลบเพิ่มขึ้น นั่นคือ สำหรับอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เมื่อเสียอิเล็กตรอนไปจะกลายเป็นอะตอมที่มีประจุบวกและอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มจะกลายเป็นอะตอมมีประจุลบ
วัตถุที่ได้รับการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วอิเล็กตรอนนั้นคงอยู่ ณ บริเวณเดิมต่อไป วัตถุนั้นเป็นฉนวนไฟฟ้า หรือเรียกสั้นๆว่า ฉนวน นั่นคืออิเล็กตรอนที่ถูกถ่ายโอนให้แก่วัตถุที่เป็นฉนวนจะไม่เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่งในเนื้อวัตถุ หรืออาจกล่าวได้ว่าในฉนวนประจุไฟฟ้าจะถ่ายโอนจากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่งได้ยาก แต่วัตถุใดได้รับการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วอิเล็กตรอนที่ถูกถ่ายโอนสามารถเคลื่อนที่กระจ่ายไปตลอดเนื้อวัตถุได้ง่าย คืออิเล็กตรอนมีอิสระในการเคลื่อนที่ในวัตถุนั้น เรียกวัตถุที่มีสมบัติเช่นนั้นว่า ตัวนำไฟฟ้า หรือเรียกสั้นๆว่า ตัวนำ
เมื่อนำวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะ อิเล็กตรอนอิสระจากก้านโลหะและแผ่นโลหะบางจะถูกดึงดูดให้ไปรวมกันอยู่ที่จานบริเวณด้านใกล้วัตถุโดยการเหนียวนำ ดังนั้นบริเวณก้านโลหะและแผ่นโลหะบางจึงมีประจุบวกเป็นส่วนใหญ่ มีผลให้เกิดแรงผลักระหว่างแผ่นโลหะบางกับก้านโลหะ ทำให้แผ่นดลหะบางกางออก เมื่อใช้นิ้ว  ( หรือสายไฟที่ปรายหนึ่งต่อกับพื้นดิน ) การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
ข.  ง .   ค .   ข .   ก .   การกางของแผ่นโลหะ
สูตรนี้เรียกว่ากฏของคูลอมบ์กฎของคูลอมบ์ F=kq 1  q 2   r  2  F   คือ ขนาดของแรงระหว่างจุดประจุ R  คือ ระยะห่างระหว่างประจุ  K  คือ ค่าคงที่คูลอมบ์  9 x 10 9 N . m C 2   2   (  )
จากสูตร  F=  kq  q    r   สนามไฟฟ้า (E) สนามไฟฟ้า คือแรงที่กระทำต่อหนึ่งหน่วยประจุบวกที่วาง ณ ตำแหน่งนั้น 2  2  ถ้าวาง  +1 c,E=kq(1)   r  2   นั่นคือ  E=kq r 2
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เก็บประจุ  ความจุไฟฟ้า คือ ความสามารถในการเก็บประจุไฟฟ้าในตัวนำนั้น C= Q   v C= ค่าความจุไฟฟ้า (F) Q= ประจุไฟฟ้าที่เก็บไว้ (c) V= ศักย์ไฟฟ้าของตัวนำ (V)
C Q Q a v = = = kQ a  k  ถ้าเป็นตัวนำทรงกลมที่มีรัศมี  a a= รัศมีทรงกลม k= ค่าคงที่คูลอมบ์
งานไฟฟ้า หรือ พลังงานไฟฟ้าในการเลื่อนประจุ 1. ถ้างานเป็นบวกแสดงว่าเราทำงาน  ( เราเสียงาน ) 2. ถ้างานเป็นลบแสดงว่าประจุเลื่อนเองโดยเราไม่ได้ออกแรง ( เราได้งาน ) 3. ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดจากประจุหลายตัว  V รวม =v 1 +v 2 +v 3 +……… V รวม =kq 1  kq 2  kq 3 …… r  r  r 1 2 3   + + + +
F,q,E.V  ของตัวนำทรงกลม Biot  เป็นผู้ที่ทดลองเรื่องไฟฟ้าสถิต แล้วพบว่าเมื่อให้ประจุแก่ตัวนำประจุทั้งหมดจะมาอออยู่ที่ผิวนอกของตัวนำเสมอ และจะมีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ ภายในตัวนำจะไม่มีประจุเลย พลังงานศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ไฟฟ้าคือ พลังงานศักย์ที่เกิดขึ้นบนประจุที่วางในสนามไฟฟ้า
ก . มีประจุหรือไม่ ข . มีแรงมดูดผลักหรือไม่ ค . เวลาคำนวณทำไมเราไม่คิดระยะทางจากกึ่งกลางทรงกลม ง . มีศักย์ไฟฟ้าภายในทรงกลมหรือไม่ เพราะเหตุใด ข้อสังเกต ภายในวงกลม
ตอบ ก . ไม่มี ข . ไม่มี ค . เป็นการเฉลี่ยระยะทาง ง . มี , เท่ากับศักย์ที่ผิวทรงกลม
การต่อแบบอนุกรม   ความจุรวม  =   1  1  1 การต่อแบบขนาน   ความจุรวม  C รวม =   C1+ C2+C3+….  C1  C2 C3 + C รวม + + … .  1 +
การต่อตัวเก็บประจุ การต่อตัวเก็บประจุ เพื่อประโยชน์ในการใช้งานมี  2  วิธี 1. ต่อแบบอนุกรม คือ การนำแผ่นบวกของตัวเก็บประจุของแผ่นหนึ่งมาต่อกับแผ่นลบของตัวเก็บประจุอีกตัวหนึ่งเรียงกันเรื่อยๆไป 2. การต่อแบบขนาน คือการนำตัวประจุมาต่อกันโดยให้แผ่นบวกรวมกันที่จุดหนึ่งและให้แผ่นลบรวมกันมี่จุดหนึ่ง
จัดทำโดย 1. นาย ชัยชนะ  ราชลี เลขที่ 3   2. นางสาว พัชรี  ผ่องใส เลขที่  19   3. นางสาว หนึ่งฤทัย  คำมูลมาตย์ เลขที่  36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ อาจารย์ ธิดารัตน์  สร้อยจักร

More Related Content

What's hot

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
Wijitta DevilTeacher
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2Teerapong Iemyong
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
เฟสบุ๊ค4
เฟสบุ๊ค4เฟสบุ๊ค4
เฟสบุ๊ค4Jamiri U Ri
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
Saranyu Srisrontong
 
สรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้าสรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้า
9nicky
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
kroopipat
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (18)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
เฟสบุ๊ค4
เฟสบุ๊ค4เฟสบุ๊ค4
เฟสบุ๊ค4
 
Lesson18
Lesson18Lesson18
Lesson18
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
สรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้าสรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้า
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 

Viewers also liked

สไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอนสไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอน
V-yuth Aon
 
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์  physics41 ไฟฟ้าสถิตย์  physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
รินธรรม ชำระใจ
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Tom Vipguest
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
tatong it
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
ประเวศ สมประสงค์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 

Viewers also liked (13)

สไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอนสไลด์ในการสอน
สไลด์ในการสอน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์  physics41 ไฟฟ้าสถิตย์  physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แม่เหล็ก ไฟฟ้า
แม่เหล็ก ไฟฟ้าแม่เหล็ก ไฟฟ้า
แม่เหล็ก ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
P03
P03P03
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต (18)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 

More from Nang Ka Nangnarak

State of matter
State of matterState of matter
State of matter
Nang Ka Nangnarak
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
Nang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมNang Ka Nangnarak
 

More from Nang Ka Nangnarak (20)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
 

ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต