SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
1


                                                บทที่ 18
                                             ไฟฟ้ากระแสสลับ

          ในปั จ จุ บั น เป็ น ที่ เ ข้ า ใจกั น โดยทั่ ว ไปแล้ ว ว่ า ไฟฟ้ า มี ค วามส าคั ญ ไม่ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า
สิ่งจาเป็นอย่างอื่นๆ อันเกี่ยวข้องอยู่กับการดารงชีพ การอานวยความสะดวกนานาประการ การผลิต
ต่างๆและอาจจะนับรวมไปถึงการให้กาเนิดสิ่งอานวยความบันเทิงอย่างมากมายในยุคนี้ ไฟฟ้าที่
เข้าใจกันอยู่แล้ว ก็คือ ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส เราได้กล่าวถึงไฟฟ้ากระแสตรงไว้แล้ว จึงจะได้
ให้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสสลับต่อไปนี้

          1. เครื่องกาเนิดกระแสสลับ
เครื่องมือที่ก่อกาเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เครื่องกาเนิดกระแสสลับ (alterating current generator
หรือ alternator) ประกอบด้วยขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก ดังรูป (ก) ปลายทั้งสองของขดลวด
นี้ต่อกับวงแหวนปลายละอัน วงแหวนแต่ละอันมีแปรงแตะและมีสายไฟฟ้าต่อจากแปรงเพื่อนาเอา
ไฟฟ้าไปใช้
         ในรูป (ข) แสดงภาพของขดลวดและสนามแม่เหล็กเมื่อมองเข้าไปในแนวตั้งฉาก
         ON =             เส้นปกติของพื้นที่ของขดลวด (ตรงจุดกลาง)
         A         =      พื้นที่ของขดลวด
                  =      มุมที่เส้นปกติกระทากับแนวสนามแม่เหล็ก
         B         =      การเหนี่ยวนาแม่เหล็กของสนามแม่เหล็ก
2




รูป (ก) ขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก
    (ข) แสดงตาแหน่งของขดลวด ณ ขณะหนึ่ง
    (ค) แสดงลักษณะและส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดกระแสสลับ

         N        =     จานวนรอบของขดลวด
                 =     ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ A = BA cos
ถ้า      e        =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขณะใดๆ
                              d      d
         e        =     N        N                (AB cos  )
                              dt      dt

                                         d
                  =     NBA sin      
                                         dt

         d
แต่               =     อัตราเร็วเชิงมุม                 =         
         dt


ดังนั้น e         =     NBA         sin    


                                                                   
เมื่อการหมุนเป็นไปด้วยอัตราที่สม่าเสมอ                  =             จึงได้
                                                                   t


                 =     t


และ      e        =     NBA          sin       t


จะมีค่ามากที่สุดเมื่อ   sin t                  =        1

ให้      Em       =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งมีค่ามากที่สุดนี้ จึงได้
3




         Em       =         NBA 

ดังนั้น สมการจึงเขียนได้เป็น

         e        =         Em sin t
ถ้า      f        =         ความถี่เป็นรอบต่อวินาที ได้         = 2f ดังนั้น จึงได้

         e        =         Em sin 2 ft



สมการนี้เมื่อเขียนเป็นกราฟ จะได้เป็นรูป




                        รูป แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา

          แรงเคลื่อนไฟฟ้า e จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมีทิศกลับไปมาอยู่เรื่อยๆ เป็นผลให้
กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมีค่าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีทิศทางการไหลกลับไปมาสลับกันอยู่
ตลอดไป จึงเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternatimg currnt)
          ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นมีลักษณะดังแสดงอยู่ในรูป (ค) ประกอบด้วยส่วน
นอกซึ่งอยู่กับที่เรียกว่า ตัวนิ่ง (stator) มีขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าติดอยู่กับตัวนิ่งนี้ ขั้ วแม่เหล็กนี้อาจติดไว้
1 คู่ คือ ขั้ว N ขั้วหนึ่งและขั้ว S อีกขั้วหนึ่ง หรือ 2 คู่หรือ 3 สุดแต่การสร้าง ในรูปแสดงไว้ 2 คู่
ขั้วแม่เหล็กเหล่านี้จะเรียงสลับกันไป ส่วนขดลวดนั้นพันอยู่รอบๆตัวหมุน (rotor) ซึ่งหมุนอยู่ตรง
กลาง
4


          ไฟฟ้า 1 รอบนั้นเกิดจากการที่ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้วแม่เหล็ก N และ S
หนึ่งคู่ ในรูป (ค) เมื่อลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้ว N1S1 จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ และ
เมื่อผ่านสนามแม่เหล็กของคู่ N2S2 จะได้ไฟฟ้าออกมาอีก 1 รอบ
          ดังนั้น ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็ก NS เพียงคู่เดียว เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไป 1
รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ
          ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็กสองคู่ดังแสดงในรูป (ค) เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไปครบ
1 รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 2 รอบ
          ถ้า       f        =       ความถี่ของไฟฟ้าที่ได้ออกมาเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิร์ทซ์
                    ps       =       จานวนรอบของการหมุนของตัวหมุนหือขดลวดในเวลา 1 วินาที
                    p        =       จานวนคู่ของขั้วแม่เหล็ก
ย่อมได้ f           =        p  (rps)
เช่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีขั้วแม่เหล็ก 5 คู่ มีอัตราเร็วในการหมุน 3,600 รอบต่อวินาที
                                                                             3600 
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะให้ไฟฟ้าซึ่งมีความถี่เท่ากับ f                 =      5                 =       300 เฮิร์ทซ์
                                                                             60 
         เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ซึ่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ความถี่ สู ง ใช้ วิธี ส ร้ า งให้ ขั้ ว แม่ เ หล็ ก มี จ านวนคู่ ม ากๆ
ตัวหมุนในอัตราธรรมดา ก็สามารถจ่ายไฟฟ้าซึ่งมีความถี่สูงออกมาได้
         ต่ อ ไปนี้ เ มื่ อ กล่ า วถึ ง ไดนาโมกะแสสลั บ จะเขี ย นแทนด้ ว ยสั ญ ลั กษณ์ แ ละเขี ย น
แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ถูกจ่ายออกมาด้วยสมการ คือ

          e          =         Em sin t

หรือ      e          =         Em sin 2ft

2. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
          ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับและส่วนประกอบอีก 3 อย่างคือ
          1. ตัวต้านทาน (resistor)
          2. ตัวจุ (capacitor)
          3. ตัวเหนี่ยวนา (inductor)

        2.1วงจรซึ่งมีตัวจุอย่างเดียว
        วงจรรูปประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin
และตัวจุ ซึ่งมีความจุ (capacitance) เป็น C ฟารัด
5




                                      e = Em sin t
                                    รูป ตัวจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ให้              i            เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ (instantaneous current)
                 q            เป็นประจุไฟฟ้าที่ตัวจุ C ในขณะใด ๆ
                 VC           เป็นความต่างศักย์ของตัวจุ C ในขณะใดๆ
จะได้            VC           =       e        =        Em sin t
                  q
                              =        Em sin t
                  C
                 q            =        CEm sin     t

ดังนั้น              dq
                              =        C  Em cos     t
                     dt
                     dq
แต่                           =        i
                     dt
จึงได้           i            =        C  Em cos     t
                                         Em
เขียนใหม่เป็น i               =               cost
                                        1 
                                           
                                        C 
             1
ปริมาณ (         )         นี้มีชื่อเรียกว่า ความต้านแห่งการจุ (capacitive reactance) นิยมเขียนแทนด้วย
            C
XC และมีหน่วยเป็นโอห์ม (ohm) กล่าวคือ
                                        1
                 XC           =                  เรียกว่า ความต้านแห่งการจุ
                                       C
ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น
                                           Em
                 i            =               cost
                                           Xc
            Em
ปริมาณ                    คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีความสูงสุดของวงจรเขียนแทนด้วย Im
            Xc
                                                                          Em
ดังนั้น i        =            Im cos   t     โดยที่    Im       =
                                                                          Xc
6


เพื่อที่จะเปรียบเทียบกับ VC ซึ่งมีค่าเท่ากับ e = Em sin t              จึงเขียนสมการสุดท้ายเสียใหม่
                            
เป็น i = Im sin         t        นาความต่างศักย์ Vc และกระแสไฟฟ้าในขณะใด i มา
                            2
เปรียบเทียบกันคือ
                VC          =        Em sin    t


                                                    
                   I        =        Im sin     t  
                                                    2
                                                                                                  
จะเห็นได้ว่า Vc กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันผิดกันที่มุม              t       กับ    t  
                                                                                                  2
                                                                                   
เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i นาหน้า (lead) ความต่างศักย์ Vc เป็นมุม                    เรเดียน หรือ
                                                                                   2
                                                            
ความต่างศักย์ VC ตามหลัง (lag) กระแส i เป็นมุม                     เรเดียน
                                                            2
               
         มุม            นี้มีชื่อเรียกกันว่า มุมเฟส (phase angle) เขียนแทนด้วย 
               2
         สรุปได้ว่า มุมเฟส คือ มุมที่กระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์นาหน้าหรือตามหลังซึ่งกัน
และกัน
                                                                                
นาสมการ Vc =                Em sin   t       กับ i    =        Im sin      t            มาเขียนเป็น
                                                                                2
กราฟซ้อนกันโดยใช้แกนนอนเป็น               t     ร่วมกัน จะได้เป็นรูป




                          รูป แสดงกระแสไฟฟ้านาหน้าความต่างศักย์เป็นมุม

         2.2 วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว
7


       วงจรรูป ประกอบด้วยไดนาโมกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin t
และตัวเหนี่ยวนาซึ่งมีความเหนี่ยวนา (inductance) เป็น L เฮนรี
ให้            i        =       กระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ
               VL       =       ความต่างศักย์ระหว่างปลายทางของตัวเหนี่ยวนาในขณะใดๆ
                                    di
                     =        L
                                    dt
ในวงจรจะได้ VL+e = 0




                         รูป ตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

แทนค่า VL และ e ได้
           di
       L             =        Em sin     t
           dt

                              Em
                di   =           sin tdt
                              L


                                  Em
                 di =           L
                                     sin tdt



                i    =         Em
                                     cost   C
                              L 

สาหรับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีลักษณะสมมาตร (symmetry) กันทั้งด้านบวกและด้านลบ จะได้
ค่าคงที่ C = 0
8


ดังนั้น         i        =        Em
                                        cost 
                                 L 

                                 Em         
                         =          sin(t  )
                                 L         2
        ปริมาณ L         นี้มีชื่อเรียกกันว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา (inductive
reactance) นิยมเขียนแทนด้วย XL และมีหน่วยเป็นโอห์ม กล่าวคือ

                XL      =       L เรียกว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา
ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น

                                 Em         
                i        =          sin(t  )
                                 L         2


ปริมาณ         คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im นั่นเอง ดังนั้น จึงได้

                                               
                i        =       Im sin    t  
                                               2


นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา คือ VL กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว
เหนี่ยวนาในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกันคือ

                VL       =       Em sin   t
                                               
                i        =       Im sin    t  
                                               2


                                                                                       
จะเห็นได้ว่า VL กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกัน ผิดกันที่มุม      t   กับ    t  
                                                                                       2
                                                                   
เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i ตามหลังความต่างศักย์ VL เป็นมุม          เรเดียน หรือความต่าง
                                                                   2
                                          
ศักย์ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า i เป็นมุม            เรเดียน
                                          2
                     
          จานวนมุม       นี้ คือ มุมเฟส  ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั่นเอง กราฟของ VL กับ i มี
                     2
ลักษณะดังรูป
9




                        รูป ความต่างศักย์นาหน้ากระแสไฟฟ้าเป็นมุม
2.3วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว
       วงจรรูป ประกอบด้วยไนดาโนกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin   t
และตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน
ให้ i                  เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ
       VL              เป็นความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานในขณะใดๆ




                         รูป ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

      VR     =      iR

      VR     =      e        =      Em sin t

      iR     =      Em sin t

                              Em
      ได้    i      =            sin t
                              R
10


             Em
จานวน                 คือ      กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im คือ
             R


         Em
                  =            Im
         R


ดังนั้น i       =      Im sin t
นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน คือ VR กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว
ต้านทานในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกัน คือ

       VR      =       Em sin t
       i       =       Im sin t
จะเห็นได้ว่า VR กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันทุกประการ และมุมเฟส   0
หมายความว่ากระแสไฟฟ้า i กับความต่างศักย์ VR ไปพร้อมๆกัน ดังรูป




                            รูป กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ซึ่งมีเฟสเหมือนกัน

                                                                     
สรุปได้ว่า        i            นาหน้า         VC     เป็นมุม
                                                                     2
                                                                     
                  i            ตามหลัง        VL     เป็นมุม
                                                                     2
                  i            ไปพร้อมกับ     VR

เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะมีลักษณะดังรูป
11




               รูปเวกเตอร์แสดงความต่างเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์
3 .สมการทั่วไปของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
         ต่อไปนี้เราจะเขียนสมการของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นรูปดังนี้
แรงเคลื่อนไฟฟ้า           e     =     Em sin t
                          i     =     Im sin t    เมื่อ i นาหน้า e เป็นมุม 
                          i     =     Im sin t    เมื่อ i นาหลัง e เป็นมุม 
                          i     =     Im sin t         เมื่อ i กับ e ไปพร้อมกัน

4. ค่ายังผลของกระแส
          ไฟฟ้ า กระแสสลั บ นั้ น เป็ น ไฟฟ้ า ซึ่ ง มี ค่ า เปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ไม่ ว่ า จะเป็ น
แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า จะเปลี่ยนค่าอยู่เรื่อยๆ จากค่าศูนย์ถึงค่าสูงสุด คือ Em หรือ
Im เมื่อให้ไฟฟ้ากระแสสลับทางาน เช่น ให้เปลี่ยนรูปเป็นความร้อนหรือแสงสว่างหรือเปลี่ยนรูป
เป็นพลังงานกล ค่าของไฟฟ้ากระแสสลับที่จะทางานดังกล่าวนี้ อาจคิดค่าโดยเฉลี่ยแทนค่าซึ่ง
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานั้นได้ ค่าโดยเฉลี่ยของไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกโดยเฉพาะ
ว่า ค่ายังผล (effective value) ซึ่งมีคานิยามโดยกาหนดจากกระแสไฟฟ้า ดังนี้
          ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับใดๆ กาหนดให้เป็นค่าของกระแสไฟฟ้าขนาดสมาเสมอ ซึ่ง
จะทาให้เกิดความร้อนจานวนเดียวกันในเวลาเท่ากัน เมื่อปล่อยให้ผ่านความต้านทานอันเดียวกัน
          กระแสไฟฟ้าสลับมีสมการเป็น i = Im sin t
          ให้ I เป็นค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับนี้
          ตามคาจากัดความที่กล่าวแล้ว เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i = Im sin t ผ่านความ
ต้านทาน R อันหนึ่งในเวลาอันหนึ่ง ต่อจากนั้นก็ปล่อยกระแสไฟฟ้าอันมีค่ายังผล I ผ่านความ
12


ต้านทาน R ตัวเดียวกัน โดยใช้เวลาเท่ากันทั้งสองครั้ง ย่อมเกิดความร้อนจานวนเดียวกัน สมมติ
ให้ H เป็นปริมาณความร้อนดังกล่าวนี้
        คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i ผ่านความต้านทาน R เป็นเวลานานเท่ากับ 1 รอบ
คือ T วินาที ในช่วงเวลาสั้นๆ dt พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้น
        dH =           i2 Rdt         =       (Im sin t )2 R dt
ในเวลา 1 คาบ
        T                 T

         dH         =    I   m
                                   2
                                       R sin 2 tdt
        0                 0



                               2
                          Im R T
        H            =                   sin tdt
                                                 2

                                       0




                                                    sin 2
จาก      sin
                2
                    d   =                                  จึงได้
                                            2           4


                          I m R  t sin 2t  T
                               2

        H            =              
                             2       4 0 


                          I m R  t
                                                                    ,  t  2 .T  2 
                               2
                                               
                     =           2  0  0  0                                       
                                                                        T          

                               2
                          I m RT
        H            =
                             2


        คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้ามีค่ายังผล I ผ่าน R ตัวเดียวกันในเวลา T อันเดียวกันและ
เกิดความร้อน H จานวนเดียวกัน
        H     =       I2 RT
จากคาจากัดความของค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับ ปริมาณความร้อนทั้งสองนี้เท่ากัน
                               2
                          I m RT
        I2 RT =
                              2
                                2
                             Im
ได้     I2           =
                              2
                                            Im
ดังนั้นค่ายังผล I         =                                     =         0.707 Im
                                                2
13


         ในทานองเดียว แรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin           t   โดย Em เป็นค่าสูงสุด จะมีค่ายังผล
เป็นรูปเดียวกัน คือ

         ถ้า E เป็นค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้านั้น
                         Em
                E =               =      0.707 Em
                             2


บางครั้งเรียกค่ายังผลว่า ค่ารากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย (root mean square, rms)




         ตัวอย่าง ไฟฟ้ากระแสสลับอันหนึ่งมีสมการของกระแสไฟฟ้าเป็น
                                         
         I           =   10 sin    400t       ในหน่วยแอมแปร์
                                         4
ให้หา ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า I
        ข. ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับนี้
        ค. มุมเฟส
วิธีทา โดยเทียบกับสมการทั่วไปของกระแสไฟฟ้า I = Im sin t   
ค่าของกระแสสูงสุด Im          =        10 แอมแปร์
                             =        400 เรเดียนต่อวินาที
                                         
มุมเฟส                           =              เรเดียน
                                             4


จึงได้ ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า          I          =      0.707Im       =0.707 x 10
                                                    =      0.707 แอมแปร์
         ข. จาก                  =      2 f ได้

                                                   400
             ความถี่ f   =               =                 = 63.7 เฮิร์ทซ์
                                  2                2

                                         
         ค. มุมเฟส               =               เรเดียน โดยกระแสตามความต่างศักย์
                                             4
14


         ค่าของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับนั้น ในทางปฏิบัติใช้ค่ายังผล
และเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ไม่ว่าจะเป็นโวลต์มิเตอร์หรือแอมมิเตอร์ ก็จะชี้บอกค่าดังกล่าว
ของความต่างศักย์หรือกระแสไฟฟ้า เช่น ที่พูดกันว่า ไฟบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ เลข
220 โวลต์นี้เป็นค่ายังผลของความต่างศักย์ ซึ่งมีความหมายว่า ความต่างศักย์สูงสุดมีค่าเท่ากับ
   2  220  311.08 โวลต์ ดังนั้นต่อไปนี้เมื่อกล่าวถึงกระแสไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือความ
ต่างศักย์ เราจะหมายถึงค่ายังผลเสมอไป

5. ความต่างศักย์
        ในเรื่องไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ระหว่างสองจุดใดๆ มีวิธีคิดคล้ายกับกระแสตรง
คือ ยังคงใช้กฎของโอห์ม คือ
        ความต่างศักย์ =       กระแส  ความต้านทาน
มีรายละเอียดดังนี้

       1. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน




รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน
    (ข) เวกเตอร์แสดงเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า



       ในรูป รูปบนแสดงภาพของตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน R โอห์ม กาลังมีกระแสไฟฟ้า
สลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทาให้ปลายทั้งสองของมันมีความต่างศักย์ VR เกิดขึ้นโดยที่
       VR      =       IR
ความต่างศักย์ VR กับกระแสไฟฟ้า I มีมุมเฟส   0 จึงเขียนรูปเวกเตอร์ของ VR กับเวกเตอร์
ของ I ซ้อนกัน ดังรูปบน
15




        2. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา




รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา
     (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า
         รูปบนแสดงตัวเหนี่ยวนาเป็น L เฮนรี กาลังมีกระแสไฟฟ้าสลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทา
ให้เกิดมีความต่างศักย์ VL ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองของมัน (ลวดไม่มีความต้านทาน)
         ได้กล่าวมาแล้วว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL = L

ในกรณีนี้      VL      =       IXL

                                             
โดยที่ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า I เป็นมุม           เรเดียนที่ได้กล่าวมาแล้ว จึงเขียนเวกเตอร์ของ
                                             2
                                                                               
VL ตั้งฉากกับเวกเตอร์ของ I ดังรูปข้างล่าง ซึ่งมีความหมายว่า VL นา I เป็นมุม         เรเดียน
                                                                                2


        3. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ
        ตัวจุซึ่งมีความจุเป็น C ฟารัด มีไฟฟ้ากระแสสลับ I แอมแปร์ผ่าน ทาให้เกิดมีความต่าง
                                                                         1
ศักย์ VC ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองดังรูป ความต้านทานแห่งการจุ XC =
                                                                        C
ในกรณีนี้      VC      =       IXC
16




รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างตัวจุ
    (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า


                                 
   โดยที่ VC ตามหลัง I เป็นมุม          เรเดียน ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น ดังนั้น จึงเขียน
                                  2
                                             
รูปเวกเตอร์ VC ตามหลังเวกเตอร์ I เป็นมุม         เรเดียน
                                             2




6. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C
      ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับมี R L และ C ต่อกันอยู่ โดยอาจเป็นการต่อแบบอนุกรม
ขนานหรือผสมก็ได้ การคานวณก็ยังคงใช้หลักที่กล่าวมาแล้วนั่นเอง โดยพิจารณาเป็นขั้นๆไป

         1. การต่อ R L C แบบอนุกรม
         ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุต่ออนุกรมกัน มีหลักสาคัญคือ
         1. R L และ C มีกระแส I ตัวเดียวกัน
         2.ความต่างศักย์รวม V มีค่าเท่ากับเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ VR VL และ VC
เช่นเดียวกับที่แล้วมา
                                            1
       XL      =       L   และ XC =
                                           C
       VR      =       IR (เท่ากับ I)
                                                 
       VL      =       IXL (นาหน้า I เป็มุม          )
                                                 2
                                                 
       VC      =       IXC (นาหลัง I เป็มุม          )
                                                 2
ผลรวมของ R XL และ XC มีชื่อเรียกว่า ความชัด (impedance) และเขียนด้วยอักษร Z
17




รูป (ก) R L และ C ต่อกันแบบอนุกรม
    (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสความต่างศักย์
    (ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XC XL และกระแส

      V      =      IZ
18




       V       =           (V R ) 2  (V L  VC ) 2   เมื่อ VL      VC

       IZ      =           ( IR ) 2  ( IX L  IX C ) 2


ในสมการสุดท้ายนั้นตัดกระแสไฟฟ้า I ออกได้หมด เหลือ

       Z       =           ( R) 2  ( X L  X C ) 2


สมการสุดท้ายนี้ ทาให้สามารถเขียนแผนภาพแสดงเฟสได้ดังรูป (ค) ค่าของมุมเฟส  อาจหาได้
จากรูปคือ
                                            V L  VC
       (ข)     tan                =
                                               VR


                                             XL  XC
       (ค)     tan                =
                                                R
ได้ค่าของ tan  เท่ากัน
                                V L  VC          IX L  IX C             XL  XC
อาจพิสูจน์ได้ว่า tan  =                    =                        =
                                   VR                  IR                    R


        ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับวงหนึ่งประกอบด้วย ตัวต้านทาน 600 โอห์ม ตัว
เหนี่ยวนาขนาด 0.2 เฮนรี และตัวจุขนาด 1 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรมเรียงกันไป
ตามลาดับ กาหนดให้   1,000 เรเดียนต่อวินาที และมีกระแสไฟฟ้า 0.1 แอมแปร์ ให้หา
        ก. ความต้านแห่งการเหนี่ยวและความต้านแห่งการจุ
        ข. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุแต่ละอัน
        ค. ความต่างศักย์รวมทั้งหมด

วิธีทา
     ก. ความตานแห่งการเหนี่ยวนา        X L  L  1,000  0.2  200        โอห์ม ความต้านแห่งการจุ
                1        1
        XC                      1,000              โอห์ม
                            
               C 1,000 1  106       
   ข. R L และ C ต่ออนุกรมกันดังรูปมีหลักสาคัญว่า การต่ออนุกรมกันจะต้องมี
      กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเป็นอันเดียวกัน คือ 0.1 แอมแปร์ที่กาหนดให้มา
19


              R  600           X L  200                X C  1,000




                      รูป วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วย R L และ C

ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน   VR = IR 0.1  600
                                            = 60 โวลต์
ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา VL = IXL = 0.1  200
                                            = 20 โวลต์
ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ        VC = IXC = 0.1  1000
                                            = 100 โวลต์
                                                       
ค. ได้กล่าวมาแล้วว่า VR ทับกับ I VL นาหน้า I เป็นมุม       และ VC ตามหลัง I เป็นมุม
                                                       2

2


       ดังนั้นเวกเตอร์ VR VL VC และกระแสไฟฟ้า I จึงมีลักษณะดังรูป(ก)




                รูป (ก) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ VR VL VC
20


                         (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ V และ I

เมื่อรวมเวกเตอร์ VR VL VC เข้าด้วยกัน จะได้เป็นเวกเตอร์รวม V ดังรูป(ข)

         V        =            VR 2  VC  VL 2 =       602  802 = 100 โวลต์

มุมเฟส  หาได้จากรูป(ข)
                          VC  V L 80 4
         tan  =                     
                            VR      60 3


                         4
             =   tan 1     หรือ 53.13 องศา นา V
                         3


                                                                        4
โดยกระแสไฟฟ้า I นาหน้าความต่างศักย์รวม V เป็น  =                tan 1     จึงอาจเขียนสมการของ
                                                                        3
ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าได้ดังนี้

ความต่างศักย์ V           =         Vm sin 1,000 t

                                                            4
กระแสไฟฟ้า        i       =          I m sin1,000t  tan 1   
                                                                
                                                            3


โดยที่   Vm  2V          =         1.414  100      =        141.4 โวลต์
และ      I m  2I         =         1.414  0.1      =        0.141 แอมแปร์

       เพื่อความเข้าใจที่ดียิ่งขึ้น จะหาค่าความต่างศักย์รวมระหว่างจุด AB
ระหว่างจุด A และจุด B ความต่างศักย์มีเพียง VL และ VC เท่านั้น ส่วน VR ไม่
21




             รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า

ดังนั้น การหาค่า VAB จึงคิดจาก VL และ VC เท่านั้น รูปเวกเตอร์แสดงเฟส
                                                                                
VAB = VC-VL = 100-20 = 80 โวลต์ และตามหลัง I เป็นมุม                              เรเดียน
                                                                                2


       ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 40 โอห์ม ขดลวดเหนี่ยวนาขนาด 0.04 เฮนรี และตัวจุขนาด
40 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรม และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์ 220 โวลต์
และความถี่เชิงมุม 500 เรเดียนต่อวินาที ให้หากระแสไฟฟ้า มุมเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับ
ความต่างศักย์ทั้งหมด และความต่างศักย์ระหว่างปลายของแต่ละอัน
       วิธีทา R        =      40       โอห์ม
                 XL    =      L       = 500  0.04 = 20 โอห์ม

                              1        1
              XC      =                         50            โอห์ม
                             C 500  40  106        

              Z       =        R    X
                                 2
                                            C    XL
                                                    2
                                                            =   402  302

                      =      50 โอห์ม
22




                  รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความขัดและกระแสไฟฟ้า

                               V 220
กระแสไฟฟ้า    I        =              4.4     แอมแปร์
                               Z   50

                               X C  X L 30               3
              tan  =                       ,   tan 1  , I   นา V
                                   R      40              4
             VR     =       IR        =       4.4  40       =     176 โวลต์
             VL     =       IXL       =       4.4  20    = 88 โวลต์
             VC     =       IXC       =       4.4  50    = 220 โวลต์
หมายเหตุ ตรวจสอบคาตอบได้จาก
      V      = VR 2  VC  VL 2    = 1762  200  882 = 1762  1322
             =      220 โวลต์



         2. การต่อ R L C แบบขนาน
         ตัวต้านทาน R โอห์ม ตัวเหนี่ยวนา L เฮนรี และตัวจุ C ฟารัด ต่อขนานกัน และต่อกับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
         V       =      ความต่างศักย์
ตัวเหนี่ยวนามีความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL
ตัวจุมีความต้านแห่งการจุ XC
23




รูป (ก) R L C ต่อกันแบบขนาน
    (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
24


      (ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและส่วนกลับของ R XL XC

         R L และ C แต่ละตัวมีความต่างศักย์ V อันเดียวกัน
                                           V
กระแสที่ผ่าน R          IR     =                (ทับกับ V)
                                           R

                                           V
กระแสที่ผ่าน L          IL     =                  (ตาม V 90 องศา)
                                           XL


                                           V
กระแสที่ผ่าน C          IC     =                   (นา V 90 องศา )
                                           XC


ให้          Z                 =       ความขัดของ R XL และ XC

                                           V
กระแสรวม I                     =
                                           Z
จากรูป (ข) ได้
             I                 =               (I R )2  (IC  IC )2


สมมติว่า LC มากว่า IL

                                IC  I L
         tan           =
                                  IR


                                                                       2
                                               V   V    V 
                                                    2
                 V
แทนค่า                         =                        
                 Z                              R   XC XL 
                                                            


                                                                       2
                                               1  1    1 
                                                    2
                        1
เอา V ตัวร่วมออกได้            =                 
                                                    X  X  
                        Z                      R  C     L 




      3.การต่อ R L C แบบผสม
      คานวณโดยอาศัยหลักการต่อแบบอนุกรมและแบบขนานผสมกัน ดังวงจรไฟฟ้า
      ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม ตัวเหนี่ยวนาและตัวจุต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้
XL = 6 โอห์ม และ XC = 2 โอห์ม จงหาค่าของความขัดระหว่างจุด AB
25




                             รูป วงจรไฟฟ้าต่อกันแบบผสม

         วิธีทา
ให้      I1       =    กระแสในสายที่มี R
         I2       =    กระแสในสายที่มี L และ C
         I        =    กระแสรวม
         V        =    ความต่างศักย์ระหว่างจุด
                                    V              V
คิดสายที่มี R          I1    =             =           (ทับกับ V)
                                    R              3
คิดสายที่มี       L และ C
                        V    =      VL-VC = 6I2-2I2 = 4I2

                                    V                        
                       I2    =          (ตามหลัง V เป็นมุม       )
                                    4                        2
26




             รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์



คิดรวมหมดทั้งสองสายมี V เป็นแกนร่วมของ I1 และ I2




              รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสรวมและความต่างศักย์
       I      =         ( I1 ) 2  ( I 2 ) 2


                     V
       I      =
                     Z
27

                                 2          2
        V                   V  V                           1 1             5
                  =                               =   V          =         V
        Z                   3 4                            9 16           12


                                            12
ดังนั้น ความขัด         Z            =                 =   2.4 โอห์ม
                                             5


         7. อภินาทในวงจรไฟฟ้า
       โดยทั่วไปแล้ว อภินาท (resonance) บอกถึงปรากฎการณ์ที่มีการเสริมกันหรือแม้แต่
ขัดกัน ที่มีผลมากที่สุดสาหรับภาวะหนึ่งๆ เมื่อเทียบกับภาวะข้างเคียง ดังรายละเอียดบางส่วนได้
กล่าวมาแล้ว และที่จะกล่าวต่อไปอีกในส่วนที่เป็นฟิสิกส์ยุดใหม่ สาหรับในวงจรไฟฟ้าในส่วนนี้
จะแบ่งการพิจารณาเป็นอย่างๆไป

        1. อภินาทในวงจร R L C ที่ต่ออนุกรม
        เมื่อ R L C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ เวกเตอร์ของ R XL




                      รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XL XC และ I

XC ดังแสดงในรูป ความขัด Z ของสิ่งทั้งสามนี้ คือ เวกเตอร์รวมของเวกเตอร์ R XL และ XC
ซึ่งมีค่า ดังนี้

        Z         =         ( R) 2  ( X L  X C ) 2
28


โดยที่ XL       =        L  2fL


                          1   1
         XC     =           
                         C 2fC


         ในกรณีที่ R L และ C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์
V คงที่ แต่ความถี่เปลี่ยนค่าได้ การเปลี่ยนความถี่ย่อมทาให้ค่าของ XL และ XC เปลี่ยนไปตาม
ส่วนค่า R ไม่แปรตามความถี่ ดังนั้น ค่าของ Z ก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย กระแสไฟฟ้า I ที่ไหล
ผ่าน R L C ก็จะเปลี่ยนเช่นกัน เพราะการเปลี่ยนค่าของ Z และ I ตามความถี่ f เมื่อ f มีค่าต่า
Z มีค่ามากกว่า I มีค่าน้อย เมื่อ f มีค่ามากขึ้น และ Z มีค่าน้อยลง I มีค่ามากขึ้นที่ความถี่
อันหนึ่งคือ Fr ใน Z มีค่าน้อยที่สุด ตอนนักระแส I มีค่ามากที่สุด เมื่อ f มีค่ามากกว่า fr Z
กลับมีค่ามากขึ้น และ I กลับลดลงดังรูป(ข) ที่มีความถี่ fr ซึ่ง Z มีค่าน้อยที่สุดนี้เรียกว่า เกิดอภิ
นาท          ขึ้นในวงจรไฟฟ้านั้น และ fr เรียกว่า ความถี่อภินาท พิจารณาจาก Z                     =
   R 2  ( X L  X C ) 2 จะเห็นว่า ขณะที่เกิดอภินาทนั้น Z จะมีค่าน้อยที่สุด




รูป (ก) กราฟแสดงการเปลี่ยนค่าของความขัดกับความถี่
    (ข) กราฟแสดงการเปลี่ยนค่าของกระแสกับความถี่
              XL             =      XC
หรือ          Z              =      R
                                           1
เขียนได้ว่า      r L            =
                                          r C
29


                                            1
                r              =
                                           LC


                                          1      1
หรือ            fr              =
                                         2     LC
โดย             L       เป็นเฮนรี
                C       เป็นฟารัด
                r      เป็นเรเดียนต่อวินาที
                fr      เป็นเฮิร์ทซ์

          2. อภินาทในวงจร L C ที่ต่อขนาน
          ตัวเหนี่ยวนากับตัวจุซึ่งต่อขนานกันอยู่ และต่อไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์เป็น V
ดังแสดงในรูป อาจเกิดอภินาทขึ้นได้ ภาวะของการเกิดอภินาทแบบนี้คือ กระแสไฟฟ้า IL กับ LC
มีค่าเท่ากันคือ
          IL       =      IC         ดังนั้น I = 0
         V               V
หรือ            =
         XL              XC




รูป (ก) L C ต่อกันอย่างขนาน
    (ข)เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
ได้      XL     =     XC

                         1
         rL    =
                        r C
30


                                          1
ดังนั้น   r   =      2f r   =
                                         LC


      สมการที่จะได้เหมือนกันแบบต่ออนุกรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ขณะที่เกิดอภินาทแบบขนานนี้
กระแสไฟฟ้ารวม I = IC - IL = 0 ซึ่งตรงกันข้ามกับแบบอนุกรมเพราะได้กระแสน้อยที่สุด



8. กาลังของไฟฟ้ากระแสสลับ
       กาลังของไฟฟ้าของกระแสสลับในขณะใดๆมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างความต่างศักย์กับ
กระแสไฟฟ้าในขณะนั้นๆ
       ถ้า    v      =     ความต่างศักย์ในขณะใด =       Vm sin 
              i      =     กระแสไฟฟ้าในขณะนั้น =        Im sin 
              p      =     กาลังในขณะใด (instantaneous power)
จึงได้        p      =     vi

                      =       [ Vm sin ] [Im sin (  +  ) ]

                                Vm I m [cos  - cos ( 2 +  ) ]
                              1
                      =
                              2


                      [ เพราะ 2 sin A sin B = cos (B-A) – cos (B + A)]

               1                       Vm        Im
เนื่องจาก        Vm I m       =              .          =       VI
               2                         2        2


ดังนั้น
               P      =       VI [ cos  - cos ( 2 +  )]
31




รูป แสดงกราฟของ v i และ p โดย p = vi จะเห็นได้ว่า กาลังจะมีค่าไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ตามเวลา t

       กาลังที่ใช้ไปจริงๆในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับนั้นจะเป็นกาลังเฉลี่ย (average power) ซึ่งหา
ได้โดยหาค่าเฉลี่ยดังนี้
       ถ้า       p      =      กาลังเฉลี่ย

                                1       2
               P       =                    pd    เมื่อคิดเฉลี่ยจาก 1 รอบ
                               2   0




               แทนค่ากาลัง p จากที่ทามาแล้วจะได้

                                             1
เนื่องจาก  cos( 2  )d     =
                                             2 
                                                 cos( 2   )d ( 2   )



                               =             1
                                                 sin ( 2 +  )
                                             2


                                                cos  0  sin2    0 
                                             VI             1
จะได้ p                        =                          2               2

                                             2             2


                               =             VI
                                                   (2  cos  )
                                             2
32




                                =         VI cos 

ดังนั้น            p      =         VI cos 
         กาลังเฉลี่ย P นี้มีชื่อเรียกกันเป็นอีกอย่างหนึ่งว่า กาลังกัมมันต์ (active power) และ
ต่อไปนี้เมื่อพูดถึงกาลังในไฟฟ้ากระแสสลับ เราจะหมายถึงกาลังเฉลี่ย P นี้เสมอ ในสูตรนี้
                   V      =         ค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือความต่างศักย์
                   I      =         ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า
                         =         มุมเฟส
         สาหรับ VI จะเรียกว่า กาลังปรากฏ ( apparent power ) และค่าของ cos  มีชื่อเรียกว่า ตัว
ประกอบกาลัง(power factor) เพราะเป็นตัวคูณ VI ซึ่งจะทาให้กาลัง P มีค่ามากก็ได้ น้อยก็ได้ ตัว
                                           
ประกอบกาลังนี้มีค่าจาก 0 ถึง 1 (cos 90 = 0 และ cos 0  = 1) ดังนั้น สาหรับ VI ค่าหนึ่งๆถ้า  =
                                                                                            
90 (ในกรณีที่วงจรเป็นชนิดเหนี่ยวนาล้วน หรือชนิดจุล้วน) กาลัง P จะเท่ากับศูนย์ ถ้า  = 0
กาลังไฟฟ้าที่ใช้จะมีค่ามากที่สุด (เท่ากับ VI)
                                
         สาหรับตัวจุมี  = 90 ดังนั้นกาลังไฟฟ้าที่ใช้
                                               
                                                    =
                   P      =         VI cos 90               0
                                                       
         ตัวเหนี่ยวนาซึ่งไม่มีความต้านทานเลย  = 90 กาลังไฟฟ้าที่ใช้
                                               
                   P      =         VI cos 90 = 0
                                             
         สาหรับตัวต้านทาน(R) มี  = 0 จะใช้กาลังไฟฟ้า
                   P      =         VI cos 0 = VI
         จึงสรุปได้ว่า ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C ต่อกันอยู่ ไม่ว่าจะต่อกันใน
แบบใดกาลังไฟฟ้าจะใช้ที่ R เท่านั้น ดังนั้น เมื่อจะคิดกาลัง ก็คิดเฉพาะที่ R เท่านั้นเอง คือ
                   P      =         VI cos         =       VI cos 0        =        VI
                          =         (IR) I          =       I2 R
หรือ                    =       VV 
                                               =       V2
                                    R                  R
ดูตัวอย่างต่อไปนี้
          ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย R L และ C ต่ออนุกรมกันอยู่ระหว่างสอง
จุดซึ่งมีความต่างศักย์ 120 โวลต์ วงจรนี้มีความต้านทาน 75 โอห์ม และความชัด 150 โอห์ม ให้หา
กาลังไฟฟ้าที่ใช้ในวงจรนี้
วิธีทา
วิธีท1 ทาแบบคิดรวม เนื่องจากเป็นวงจรต่ออนุกรม จึงมีเวกเตอร์ของ R และ Z ดังรูป
     ี่
33




                               รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟส

                        V                 120           4
         I     =               =                 =             =       0.8 แอมแปร์
                        Z                 150           5
กาลังที่ใช้    P       =       VI cos 
                                            75
                       =       1200.8
                                           150
                       =       48 วัตต์

วิธีท2 คิดเฉพาะที่ R เท่านั้น เพราะกาลังไฟฟ้าถูกใช้ที่ R เพียงอย่างเดียว
     ี่
กาลังไฟฟ้าที่ใช้          P       =      I2 R =             (0.8) 2 75 = 48 วัตต์ ตอบ
         ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การคิดกาลังจากความต้านทานอย่างที่ทาให้วิธีที่ 2 สะดวกกว่า
คิดรวมอย่างที่ทาในวิธีที่ 1 แม้ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มี R L และ C ต่อกันในแบบผสม
การคิดหากาลังไฟฟ้าก็อาจทาได้โดยแยกคิดเฉพาะที่ R ส่วนที่ L และ C นั้นไม่ใช้กาลัง ถ้ามี R
หลายตัว ก็คิดหากาลังจาก R แต่ละตัวโดยเฉพาะแล้วนามารวมกันเป็นกาลังไฟฟ้ารวมที่ใช้
ทั้งหมด ดูตัวอย่างต่อไปนี้

         ตัวอย่าง ตัวต้านทาน R 1 = 3 โอห์ม R 2 = 6 โอห์ม ตัวจุและตัวเหนี่ยวนาต่อกันในแบบ
ผสมดังแสดงในรูป 19.35 ปลาย AB ต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ ทาให้
ตัวจุมี X c = 4 โอห์ม และตัวเหนี่ยวนามี X L = 8 โอห์ม ให้หาค่าของกาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด
34




                               รูป วงจรไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วย R L และ C

วิธีทา โจทย์นี้ได้ทามาแล้วในตัวอย่างของการต่อ R L และ C แบบผสม ผิดกันแต่ที่ในตอนนั้น
ให้หาค่าของกระแสไฟฟ้าและมุมเฟสเท่านั้น แต่ในตอนนี้จะหากาลังไฟฟ้า
วิธีที่1 ทาโดยคิดรวมทั้งหมดโดยพิจารณาจากกาลังที่ใช้ทั้งหมด P = VI cos  ใช้ค่าของ
กระแสไฟฟ้ารวม I และ  ที่ทาไว้แล้วในตอนต้นนั้นซึ่งได้
กระแสรวม I               =      19.7 แอมแปร์

                  cos              =        18
                                                   =       18
                                                                 (จากรูป 19.26)
                                              1           19.7


กาลังที่ใช้ทั้งหมด         P        =       VI cos       = 10019.7      18
                                                                                  = 1,800 วัตต์
                                                                          19.7
วิธีนี้ถ้าทาจากเริ่มต้นทุกอย่างโดยไม่ยกตัวเลขมาอ้างแบบนี้ จะยาวมาก
วิธีที่ 2 คิดในสาย CD มี R 1 = 3 โอห์ม และ X c = 4 โอห์ม ต่ออนุกรมกัน

ความขัดของสายนี้ Z 1 =                  32  42 = 5 โอห์ม

                                     V             100
กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 1 =                    =             = 20 แอมแปร์
                                     Z1             5


กาลังซึ่งใช้ที่ R 1 คือ P 1 `=      I 12 R 1 =     202  3      = 1,200 วัตต์
35


         คิดในสาย EF มี R 2 = 6 โอห์ม และ X L = 8 โอห์ม ต่ออนุกรมกันดังนั้น

ความขัดของสายนี้ Z 2           =         62  82 = 10 โอห์ม

                                        V                100
กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 2         =              =                 = 10 แอมแปร์
                                        Z2               10


กาลังซึ่งใช้ที่ R 2 คือ P 2    =       I2 R2 =
                                        2                102  6    = 600 วัตต์
                                                     
กาลังซึ่งใช้ที่ X L            =       V 2 I 2 cos 90 = 0

ดังนั้น กาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด =      P 1 + 0 +P 2 + 0 = 1,200+600

                               =       1,800 วัตต์


9. การใช้ปริมาณเชิงซ้อนในไฟฟ้ากระแสสลับ
         ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์และกระแสในตัวเหนี่ยวนาและตัวจุมีความต่าง
                
เฟสกันอยู่ 90 เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเป็นแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะได้ทิศดัง
แสดงในแผนภาพ รูปจะเห็นว่าถ้าเขียน I ซึ่งเป็นกระแสผ่านวงจรให้อยู่ในแนวแกน X ความต่าง
ศักย์ V L จะอยู่ในแนว




       รูป แผนภาพแสดงเฟส            รูป แผนภาพแสดง I V L และ V C ในระนาบเชิงซ้อน
36


แกน + Y และความต่างศักย์บนตัวจุ V C จะอยู่ตามแนวแกน – Y ทิศของ V L และ V C จะมีทิศ
เป็นอย่างอื่นไม่ได้ ถ้า I อยู่ในแนว + X
        ด้วยลักษณะสาคัญนี้ จึงได้นาหลักของจานวนเชิงซ้อน (complex number) มาใช้กับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยให้กระแสอยู่ตามแกนจริง (real axis) และ V L อยู่ในแนวแกนจินตภาพ
บวก (imaginary axis) คือ + j และ V C อยู่ในแนวแกนจินตภาพลบคือ – j ดังรูป
        การหาขนาดและเฟสจะหาได้ตามวิธีของเลขเชิงซ้อน เพื่อให้ทราบว่า V L และ V C มี
ทิศเป็น + j และ – j ตามลาดับ จึงต้องกากับด้วย + j และ – j ไว้ด้วยในการคานวณ

        1. วงจร R L C ต่อแบบอนุกรม
        เมื่อมีกระแส I ผ่านวงจร จะเกิดความต่างศักย์เป็น V R V L V C บนตัวต้านทานตัว
เหนี่ยวนา และตัวจุ ตามลาดับ ดังรูป เมื่อเทียบค่า Vรวม ของวงจรทั้งหมดตามหลักของจานวน
เชิงซ้อน จะได้ความต่างศักย์รวม




รูป ความต่างศักย์บนวงจรอนุกรม              รูป แผนภาพแสดงเฟสในระนาบเชิงซ้อน

               V       =       V R + jV L - jV C
หรือ           V       =       V R + j(V - V C )
                                      L


       ให้สังเกตด้วยว่า V R เป็นจานวนจริง เพราะ V R กับ I มีเฟสเดียวกัน เขียนแผนภาพ
แสดงเฟสของสมการ (19.16) และ (19.17) ในระนาบเชิงซ้อน (complex plane) จะได้ดังรูป ขนาด
ของรูป V จะเท่ากับกรณีที่สองของผลบวกของกาลังของส่วนจริงและส่วนจินตภาพคือ
                       =         VR2  VL  VC 
                                                 2
                V
       เฟส () ของ V เทียบกับแกนจริงตามสมการ (20.17) จะได้
                      =       tan 1 [ส่วนจินตภาพ / ส่วนจริง]
37


                                tan 1  VL  VC 
                                                 
นั่นคือ               =
                                            VR   
         ให้สังเกตด้วยว่า  เป็นบวกเมื่อ V L > V C และ  เป็นลบเมื่อ V L < V C ค่าของ  มี
                     
ตั้งแต่ + 90 ถึง - 90

        ตัวอย่าง จงหาขนาดและเฟสของความต่างศักย์รวมของวงจรอนุกรมของตัวต้านทานตัว
เหนี่ยวนา และตัวจุ เมื่อ R = 2 , X L = 3 และ X C = 4 โดยมีกระแสไฟฟ้าในวงจร 1
แอมแปร์
วิธีทา          VR =           21 = 2โวลต์
                VL =           31 = 3 โวลต์
                VC =           41 = 4 โวลต์
จาก             V        =     V R + j(V L - V C )
แทนค่า V R V L และ V C จะได้
                V        =     2 + j (3-4)        = (2- j ) โวลต์

หาขนาดได้คือ    V      =          2 2  12        =    5   โวลต์

เฟสของ V เมื่อเทียบกับแกนจริง
                      =        tan 1  1 
                                        
                                       2
                                     
                        =       -26.5
                                                
นั่นคือ V มีเฟสตามหลัง I หรือ V R เป็นมุม 26.5
         เนื่องจากกระแส I ผ่านวงจรอนุกรมของ R L C ความต่างศักย์บน R L C จะคานวณ
ความต่างศักย์ได้จากผลคูณของกระแส j กับความต้านทานหรือความต้าน ดังนั้นสมการของ V
จึงเขียนได้เป็น
                  V     =       IZ      =         IR + jIX L - jIX C
หรือ              Z     =       R + jX L - jX C
เมื่อ Z = ความขัดของวงจร
         นาสมการ มาเขีย นในระนาบเชิงซ้อน โดยให้ R มีเฟสอยู่ในแนวแกนจริง จะได้ผลดัง
รูป
38




                                  รูป แผนภาพของความขัด

เฟสของ X L อยู่ตามแนวแกนจินตภาพบวก X C อยู่ตามแนวแกนจินตภาพลบ
จากสมการ (19.20) ขนาดของ Z คือ
               Z     =        R 2   X L  X C 2


หาเฟสของ Z เมื่อเทียบกับ R หรือแกนเลขจริงจาก
                                                
                       =      tan 1  X L  X C 
                                                  
                                               R       


       ตัวอย่าง วงจรอนุกรมของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุซึ่งมีค่า R = 2 , X L =
3 , และ X C = 4 จงหาความขัดของวงจร และเฟสของความขัด
วิธีทา สมการของความขัดของวงจรอนุกรม R L C เขียนได้เป็น
                Z     =      R + jX L - jX C
                      =      2 + j3 – j4     =     2- j

หรือ          Z     =             2 2  12          =       5   โอห์ม
เฟสของ Z เทียบกับ R คือ
                       =       tan 1  X L  X C 
                                                  
                                            R      


                        =       tan 1  1 
                                        
                                       2
39

                                   
                       =      -26.5
                                      
นั่นคือ Z มีเฟสตามหลัง R เป็นมุม 26.5

2. วงจร R L C ต่อแบบขนาน




                               รูป R L C ต่อแบบขนาน

         เมื่อต่อความศักย์ V ระหว่างจุด AB วงจรดังรูป จะมีกระแสผ่าน R L และ C ที่มีเฟส
ดังนี้
        กระแส I R ผ่าน R จะมีเฟสตรงกับ V
                                                  
        กระแส I L ผ่าน L มีเฟสตามหลัง V เป็นมุม 90 และกระแส I C ผ่าน C จะมีเฟส
                     
นาหน้า V เป็นมุม 90 เมื่อเขียนแผนภาพของเฟสเชิงซ้อนของกระแสเหล่านี้ ตามวิธีของจานวน
เชิงซ้อนจะได้ผลดังแสดงในรูป




                   รูป แผนภาพของกระแสในวงจร R L C ต่อแบบขนาน



         เมื่อเขียนค่ากระแสรวม I ของวงจรตามหลักของจานวนเชิงซ้อน จะได้
40


               I       =       I R + jI C - jI L
                       =       I R + j(I C - I L )
ขนาดของ I หาได้จาก

                       =          I R  I C  I L 
                                    2                 2
                   I


ความต่างเฟสของ I เทียบกับ I R หรือ V คือ
                                                               
              มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90             0      - 90
       สมการของความขัดของวงจร R L                    C ต่อแบบขนานจะหาได้จากสมการ โดยอาศัย
ความสัมพันธ์ตามกฎของโอห์ม I = V และเขียนได้ดังนี้
                                  R

                V               V     V     V
                       =           j    j
                Z               R     XC    XL


                1               1       1   1 
หรือ                   =             j
                                       X      
                Z               R       C   XL 
                                                
เมื่อนาสมการ มาเขียนในระนาบเชิงซ้อน จะได้ผลดังแสดงในแผนภาพของรูป




             รูป แผนภาพแสดงเฟสของความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนาน
41


           1
ขนาดของ        คานวณได้จาก
           Z

                                                                                2
                                                         1  1     1 
                                                              2
                              1
                                          =                       
                              Z                           R   XC XL 
                                                                      


                    1                     1
ความต่างเฟสของ          เทียบกับ              คือ
                    Z                     R
                                                              1   1 
                                                             X  X 
                                         =         tan 1    C    L
                                                                      
                                                                1    
                                                                     
                                                                R    

                                                    
มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90           0       - 90

การหาความต่างเฟสของความขัด Z ของวงจรอาจหาได้จากการเปลี่ยนเครื่องหมายของความต่าง
          1                                                          1
เฟสของ         ให้ตรงกันข้าม เช่น เมื่อความต่างเฟสของ                    เขียนได้ว่า
          Z                                                          Z


                                                              1   1 
                                                             X  X 
                          1              =         tan 1    C    L
                                                                      
                                  Z                             1    
                                                                     
                                                                R    
ความต่างเฟสของ Z จะเขียนได้เป็น
                                                               1     1 
                                                              
                                                                 X  X 
                          Z              =         tan 1     C      L 
                                                                   1       
                                                                           
                                                                   R       
                                                                           
จะไม่พิสูจน์วิธีการนี้ ณ ที่นี้ ผู้ที่สนใจอาจศึกษาได้จากเรื่องการเขียนแผนภาพแสดงเฟสแบบเชิง
ขั้ว(polar) จากตาราวิชาไฟฟ้ากระแสสลับขั้นก้าวหน้าทั่วไป

        ตัวอย่าง วงจร R L C ต่อแบบขนานมีค่า R = 40 , X L = 60 และ
X C = 24
                ก. จงคานวณค่าความขัดของวงจร Z และเฟสของ Z
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18
Lesson18

More Related Content

What's hot

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 

What's hot (19)

ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 

Similar to Lesson18

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 

Similar to Lesson18 (20)

514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
Electrostatic
ElectrostaticElectrostatic
Electrostatic
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 

More from saiyok07 (20)

0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
9.2
9.29.2
9.2
 
20
2020
20
 
19
1919
19
 
18
1818
18
 
17.4
17.417.4
17.4
 
17.3
17.317.3
17.3
 
17.2
17.217.2
17.2
 
17.1
17.117.1
17.1
 
16.4
16.416.4
16.4
 
16.3
16.316.3
16.3
 
16.2
16.216.2
16.2
 
16.1
16.116.1
16.1
 
14.4
14.414.4
14.4
 
15.4
15.415.4
15.4
 
15.3
15.315.3
15.3
 
15.2
15.215.2
15.2
 
15.1
15.115.1
15.1
 
14.3
14.314.3
14.3
 
14.2
14.214.2
14.2
 

Lesson18

  • 1. 1 บทที่ 18 ไฟฟ้ากระแสสลับ ในปั จ จุ บั น เป็ น ที่ เ ข้ า ใจกั น โดยทั่ ว ไปแล้ ว ว่ า ไฟฟ้ า มี ค วามส าคั ญ ไม่ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า สิ่งจาเป็นอย่างอื่นๆ อันเกี่ยวข้องอยู่กับการดารงชีพ การอานวยความสะดวกนานาประการ การผลิต ต่างๆและอาจจะนับรวมไปถึงการให้กาเนิดสิ่งอานวยความบันเทิงอย่างมากมายในยุคนี้ ไฟฟ้าที่ เข้าใจกันอยู่แล้ว ก็คือ ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส เราได้กล่าวถึงไฟฟ้ากระแสตรงไว้แล้ว จึงจะได้ ให้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสสลับต่อไปนี้ 1. เครื่องกาเนิดกระแสสลับ เครื่องมือที่ก่อกาเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เครื่องกาเนิดกระแสสลับ (alterating current generator หรือ alternator) ประกอบด้วยขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก ดังรูป (ก) ปลายทั้งสองของขดลวด นี้ต่อกับวงแหวนปลายละอัน วงแหวนแต่ละอันมีแปรงแตะและมีสายไฟฟ้าต่อจากแปรงเพื่อนาเอา ไฟฟ้าไปใช้ ในรูป (ข) แสดงภาพของขดลวดและสนามแม่เหล็กเมื่อมองเข้าไปในแนวตั้งฉาก ON = เส้นปกติของพื้นที่ของขดลวด (ตรงจุดกลาง) A = พื้นที่ของขดลวด  = มุมที่เส้นปกติกระทากับแนวสนามแม่เหล็ก B = การเหนี่ยวนาแม่เหล็กของสนามแม่เหล็ก
  • 2. 2 รูป (ก) ขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก (ข) แสดงตาแหน่งของขดลวด ณ ขณะหนึ่ง (ค) แสดงลักษณะและส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดกระแสสลับ N = จานวนรอบของขดลวด  = ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ A = BA cos ถ้า e = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขณะใดๆ d d e = N  N (AB cos  ) dt dt d = NBA sin  dt d แต่ = อัตราเร็วเชิงมุม =  dt ดังนั้น e = NBA  sin   เมื่อการหมุนเป็นไปด้วยอัตราที่สม่าเสมอ  = จึงได้ t  = t และ e = NBA  sin t จะมีค่ามากที่สุดเมื่อ sin t = 1 ให้ Em = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งมีค่ามากที่สุดนี้ จึงได้
  • 3. 3 Em = NBA  ดังนั้น สมการจึงเขียนได้เป็น e = Em sin t ถ้า f = ความถี่เป็นรอบต่อวินาที ได้  = 2f ดังนั้น จึงได้ e = Em sin 2 ft สมการนี้เมื่อเขียนเป็นกราฟ จะได้เป็นรูป รูป แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา แรงเคลื่อนไฟฟ้า e จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมีทิศกลับไปมาอยู่เรื่อยๆ เป็นผลให้ กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมีค่าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีทิศทางการไหลกลับไปมาสลับกันอยู่ ตลอดไป จึงเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternatimg currnt) ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นมีลักษณะดังแสดงอยู่ในรูป (ค) ประกอบด้วยส่วน นอกซึ่งอยู่กับที่เรียกว่า ตัวนิ่ง (stator) มีขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าติดอยู่กับตัวนิ่งนี้ ขั้ วแม่เหล็กนี้อาจติดไว้ 1 คู่ คือ ขั้ว N ขั้วหนึ่งและขั้ว S อีกขั้วหนึ่ง หรือ 2 คู่หรือ 3 สุดแต่การสร้าง ในรูปแสดงไว้ 2 คู่ ขั้วแม่เหล็กเหล่านี้จะเรียงสลับกันไป ส่วนขดลวดนั้นพันอยู่รอบๆตัวหมุน (rotor) ซึ่งหมุนอยู่ตรง กลาง
  • 4. 4 ไฟฟ้า 1 รอบนั้นเกิดจากการที่ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้วแม่เหล็ก N และ S หนึ่งคู่ ในรูป (ค) เมื่อลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้ว N1S1 จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ และ เมื่อผ่านสนามแม่เหล็กของคู่ N2S2 จะได้ไฟฟ้าออกมาอีก 1 รอบ ดังนั้น ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็ก NS เพียงคู่เดียว เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไป 1 รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็กสองคู่ดังแสดงในรูป (ค) เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไปครบ 1 รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 2 รอบ ถ้า f = ความถี่ของไฟฟ้าที่ได้ออกมาเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิร์ทซ์ ps = จานวนรอบของการหมุนของตัวหมุนหือขดลวดในเวลา 1 วินาที p = จานวนคู่ของขั้วแม่เหล็ก ย่อมได้ f = p  (rps) เช่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีขั้วแม่เหล็ก 5 คู่ มีอัตราเร็วในการหมุน 3,600 รอบต่อวินาที  3600  เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะให้ไฟฟ้าซึ่งมีความถี่เท่ากับ f = 5  = 300 เฮิร์ทซ์  60  เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ซึ่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ความถี่ สู ง ใช้ วิธี ส ร้ า งให้ ขั้ ว แม่ เ หล็ ก มี จ านวนคู่ ม ากๆ ตัวหมุนในอัตราธรรมดา ก็สามารถจ่ายไฟฟ้าซึ่งมีความถี่สูงออกมาได้ ต่ อ ไปนี้ เ มื่ อ กล่ า วถึ ง ไดนาโมกะแสสลั บ จะเขี ย นแทนด้ ว ยสั ญ ลั กษณ์ แ ละเขี ย น แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ถูกจ่ายออกมาด้วยสมการ คือ e = Em sin t หรือ e = Em sin 2ft 2. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับและส่วนประกอบอีก 3 อย่างคือ 1. ตัวต้านทาน (resistor) 2. ตัวจุ (capacitor) 3. ตัวเหนี่ยวนา (inductor) 2.1วงจรซึ่งมีตัวจุอย่างเดียว วงจรรูปประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin และตัวจุ ซึ่งมีความจุ (capacitance) เป็น C ฟารัด
  • 5. 5 e = Em sin t รูป ตัวจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ให้ i เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ (instantaneous current) q เป็นประจุไฟฟ้าที่ตัวจุ C ในขณะใด ๆ VC เป็นความต่างศักย์ของตัวจุ C ในขณะใดๆ จะได้ VC = e = Em sin t q = Em sin t C q = CEm sin t ดังนั้น dq = C  Em cos t dt dq แต่ = i dt จึงได้ i = C  Em cos t Em เขียนใหม่เป็น i = cost  1     C  1 ปริมาณ ( ) นี้มีชื่อเรียกว่า ความต้านแห่งการจุ (capacitive reactance) นิยมเขียนแทนด้วย C XC และมีหน่วยเป็นโอห์ม (ohm) กล่าวคือ 1 XC = เรียกว่า ความต้านแห่งการจุ C ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น Em i = cost Xc Em ปริมาณ คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีความสูงสุดของวงจรเขียนแทนด้วย Im Xc Em ดังนั้น i = Im cos t โดยที่ Im = Xc
  • 6. 6 เพื่อที่จะเปรียบเทียบกับ VC ซึ่งมีค่าเท่ากับ e = Em sin t จึงเขียนสมการสุดท้ายเสียใหม่   เป็น i = Im sin  t   นาความต่างศักย์ Vc และกระแสไฟฟ้าในขณะใด i มา  2 เปรียบเทียบกันคือ VC = Em sin t   I = Im sin  t    2   จะเห็นได้ว่า Vc กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันผิดกันที่มุม t กับ  t    2  เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i นาหน้า (lead) ความต่างศักย์ Vc เป็นมุม เรเดียน หรือ 2  ความต่างศักย์ VC ตามหลัง (lag) กระแส i เป็นมุม เรเดียน 2  มุม นี้มีชื่อเรียกกันว่า มุมเฟส (phase angle) เขียนแทนด้วย  2 สรุปได้ว่า มุมเฟส คือ มุมที่กระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์นาหน้าหรือตามหลังซึ่งกัน และกัน   นาสมการ Vc = Em sin t กับ i = Im sin  t   มาเขียนเป็น  2 กราฟซ้อนกันโดยใช้แกนนอนเป็น t ร่วมกัน จะได้เป็นรูป รูป แสดงกระแสไฟฟ้านาหน้าความต่างศักย์เป็นมุม 2.2 วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว
  • 7. 7 วงจรรูป ประกอบด้วยไดนาโมกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin t และตัวเหนี่ยวนาซึ่งมีความเหนี่ยวนา (inductance) เป็น L เฮนรี ให้ i = กระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ VL = ความต่างศักย์ระหว่างปลายทางของตัวเหนี่ยวนาในขณะใดๆ di = L dt ในวงจรจะได้ VL+e = 0 รูป ตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ แทนค่า VL และ e ได้ di L = Em sin t dt Em di = sin tdt L Em  di =  L sin tdt i = Em  cost   C L  สาหรับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีลักษณะสมมาตร (symmetry) กันทั้งด้านบวกและด้านลบ จะได้ ค่าคงที่ C = 0
  • 8. 8 ดังนั้น i = Em  cost  L  Em  = sin(t  ) L 2 ปริมาณ L นี้มีชื่อเรียกกันว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา (inductive reactance) นิยมเขียนแทนด้วย XL และมีหน่วยเป็นโอห์ม กล่าวคือ XL = L เรียกว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น Em  i = sin(t  ) L 2 ปริมาณ คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im นั่นเอง ดังนั้น จึงได้   i = Im sin  t    2 นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา คือ VL กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว เหนี่ยวนาในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกันคือ VL = Em sin t   i = Im sin  t    2   จะเห็นได้ว่า VL กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกัน ผิดกันที่มุม t กับ  t    2  เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i ตามหลังความต่างศักย์ VL เป็นมุม เรเดียน หรือความต่าง 2  ศักย์ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า i เป็นมุม เรเดียน 2  จานวนมุม นี้ คือ มุมเฟส  ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั่นเอง กราฟของ VL กับ i มี 2 ลักษณะดังรูป
  • 9. 9 รูป ความต่างศักย์นาหน้ากระแสไฟฟ้าเป็นมุม 2.3วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว วงจรรูป ประกอบด้วยไนดาโนกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin t และตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน ให้ i เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ VL เป็นความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานในขณะใดๆ รูป ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VR = iR VR = e = Em sin t iR = Em sin t Em ได้ i = sin t R
  • 10. 10 Em จานวน คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im คือ R Em = Im R ดังนั้น i = Im sin t นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน คือ VR กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว ต้านทานในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกัน คือ VR = Em sin t i = Im sin t จะเห็นได้ว่า VR กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันทุกประการ และมุมเฟส   0 หมายความว่ากระแสไฟฟ้า i กับความต่างศักย์ VR ไปพร้อมๆกัน ดังรูป รูป กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ซึ่งมีเฟสเหมือนกัน  สรุปได้ว่า i นาหน้า VC เป็นมุม 2  i ตามหลัง VL เป็นมุม 2 i ไปพร้อมกับ VR เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะมีลักษณะดังรูป
  • 11. 11 รูปเวกเตอร์แสดงความต่างเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 3 .สมการทั่วไปของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ต่อไปนี้เราจะเขียนสมการของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นรูปดังนี้ แรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin t i = Im sin t    เมื่อ i นาหน้า e เป็นมุม  i = Im sin t    เมื่อ i นาหลัง e เป็นมุม  i = Im sin t เมื่อ i กับ e ไปพร้อมกัน 4. ค่ายังผลของกระแส ไฟฟ้ า กระแสสลั บ นั้ น เป็ น ไฟฟ้ า ซึ่ ง มี ค่ า เปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ไม่ ว่ า จะเป็ น แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า จะเปลี่ยนค่าอยู่เรื่อยๆ จากค่าศูนย์ถึงค่าสูงสุด คือ Em หรือ Im เมื่อให้ไฟฟ้ากระแสสลับทางาน เช่น ให้เปลี่ยนรูปเป็นความร้อนหรือแสงสว่างหรือเปลี่ยนรูป เป็นพลังงานกล ค่าของไฟฟ้ากระแสสลับที่จะทางานดังกล่าวนี้ อาจคิดค่าโดยเฉลี่ยแทนค่าซึ่ง เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานั้นได้ ค่าโดยเฉลี่ยของไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกโดยเฉพาะ ว่า ค่ายังผล (effective value) ซึ่งมีคานิยามโดยกาหนดจากกระแสไฟฟ้า ดังนี้ ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับใดๆ กาหนดให้เป็นค่าของกระแสไฟฟ้าขนาดสมาเสมอ ซึ่ง จะทาให้เกิดความร้อนจานวนเดียวกันในเวลาเท่ากัน เมื่อปล่อยให้ผ่านความต้านทานอันเดียวกัน กระแสไฟฟ้าสลับมีสมการเป็น i = Im sin t ให้ I เป็นค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับนี้ ตามคาจากัดความที่กล่าวแล้ว เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i = Im sin t ผ่านความ ต้านทาน R อันหนึ่งในเวลาอันหนึ่ง ต่อจากนั้นก็ปล่อยกระแสไฟฟ้าอันมีค่ายังผล I ผ่านความ
  • 12. 12 ต้านทาน R ตัวเดียวกัน โดยใช้เวลาเท่ากันทั้งสองครั้ง ย่อมเกิดความร้อนจานวนเดียวกัน สมมติ ให้ H เป็นปริมาณความร้อนดังกล่าวนี้ คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i ผ่านความต้านทาน R เป็นเวลานานเท่ากับ 1 รอบ คือ T วินาที ในช่วงเวลาสั้นๆ dt พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้น dH = i2 Rdt = (Im sin t )2 R dt ในเวลา 1 คาบ T T  dH = I m 2 R sin 2 tdt 0 0 2 Im R T H =  sin tdt 2  0  sin 2 จาก  sin 2 d =  จึงได้ 2 4 I m R  t sin 2t  T 2 H =   2 4 0  I m R  t ,  t  2 .T  2  2  =  2  0  0  0       T  2 I m RT H = 2 คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้ามีค่ายังผล I ผ่าน R ตัวเดียวกันในเวลา T อันเดียวกันและ เกิดความร้อน H จานวนเดียวกัน H = I2 RT จากคาจากัดความของค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับ ปริมาณความร้อนทั้งสองนี้เท่ากัน 2 I m RT I2 RT = 2 2 Im ได้ I2 = 2 Im ดังนั้นค่ายังผล I = = 0.707 Im 2
  • 13. 13 ในทานองเดียว แรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin t โดย Em เป็นค่าสูงสุด จะมีค่ายังผล เป็นรูปเดียวกัน คือ ถ้า E เป็นค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้านั้น Em E = = 0.707 Em 2 บางครั้งเรียกค่ายังผลว่า ค่ารากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย (root mean square, rms) ตัวอย่าง ไฟฟ้ากระแสสลับอันหนึ่งมีสมการของกระแสไฟฟ้าเป็น   I = 10 sin  400t   ในหน่วยแอมแปร์  4 ให้หา ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า I ข. ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับนี้ ค. มุมเฟส วิธีทา โดยเทียบกับสมการทั่วไปของกระแสไฟฟ้า I = Im sin t    ค่าของกระแสสูงสุด Im = 10 แอมแปร์  = 400 เรเดียนต่อวินาที  มุมเฟส  = เรเดียน 4 จึงได้ ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า I = 0.707Im =0.707 x 10 = 0.707 แอมแปร์ ข. จาก  = 2 f ได้  400 ความถี่ f = = = 63.7 เฮิร์ทซ์ 2 2  ค. มุมเฟส  = เรเดียน โดยกระแสตามความต่างศักย์ 4
  • 14. 14 ค่าของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับนั้น ในทางปฏิบัติใช้ค่ายังผล และเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ไม่ว่าจะเป็นโวลต์มิเตอร์หรือแอมมิเตอร์ ก็จะชี้บอกค่าดังกล่าว ของความต่างศักย์หรือกระแสไฟฟ้า เช่น ที่พูดกันว่า ไฟบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ เลข 220 โวลต์นี้เป็นค่ายังผลของความต่างศักย์ ซึ่งมีความหมายว่า ความต่างศักย์สูงสุดมีค่าเท่ากับ 2  220  311.08 โวลต์ ดังนั้นต่อไปนี้เมื่อกล่าวถึงกระแสไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือความ ต่างศักย์ เราจะหมายถึงค่ายังผลเสมอไป 5. ความต่างศักย์ ในเรื่องไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ระหว่างสองจุดใดๆ มีวิธีคิดคล้ายกับกระแสตรง คือ ยังคงใช้กฎของโอห์ม คือ ความต่างศักย์ = กระแส  ความต้านทาน มีรายละเอียดดังนี้ 1. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน (ข) เวกเตอร์แสดงเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า ในรูป รูปบนแสดงภาพของตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน R โอห์ม กาลังมีกระแสไฟฟ้า สลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทาให้ปลายทั้งสองของมันมีความต่างศักย์ VR เกิดขึ้นโดยที่ VR = IR ความต่างศักย์ VR กับกระแสไฟฟ้า I มีมุมเฟส   0 จึงเขียนรูปเวกเตอร์ของ VR กับเวกเตอร์ ของ I ซ้อนกัน ดังรูปบน
  • 15. 15 2. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า รูปบนแสดงตัวเหนี่ยวนาเป็น L เฮนรี กาลังมีกระแสไฟฟ้าสลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทา ให้เกิดมีความต่างศักย์ VL ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองของมัน (ลวดไม่มีความต้านทาน) ได้กล่าวมาแล้วว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL = L ในกรณีนี้ VL = IXL  โดยที่ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า I เป็นมุม  เรเดียนที่ได้กล่าวมาแล้ว จึงเขียนเวกเตอร์ของ 2  VL ตั้งฉากกับเวกเตอร์ของ I ดังรูปข้างล่าง ซึ่งมีความหมายว่า VL นา I เป็นมุม เรเดียน 2 3. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ ตัวจุซึ่งมีความจุเป็น C ฟารัด มีไฟฟ้ากระแสสลับ I แอมแปร์ผ่าน ทาให้เกิดมีความต่าง 1 ศักย์ VC ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองดังรูป ความต้านทานแห่งการจุ XC = C ในกรณีนี้ VC = IXC
  • 16. 16 รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างตัวจุ (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า  โดยที่ VC ตามหลัง I เป็นมุม เรเดียน ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น ดังนั้น จึงเขียน 2  รูปเวกเตอร์ VC ตามหลังเวกเตอร์ I เป็นมุม เรเดียน 2 6. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับมี R L และ C ต่อกันอยู่ โดยอาจเป็นการต่อแบบอนุกรม ขนานหรือผสมก็ได้ การคานวณก็ยังคงใช้หลักที่กล่าวมาแล้วนั่นเอง โดยพิจารณาเป็นขั้นๆไป 1. การต่อ R L C แบบอนุกรม ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุต่ออนุกรมกัน มีหลักสาคัญคือ 1. R L และ C มีกระแส I ตัวเดียวกัน 2.ความต่างศักย์รวม V มีค่าเท่ากับเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ VR VL และ VC เช่นเดียวกับที่แล้วมา 1 XL = L และ XC = C VR = IR (เท่ากับ I)  VL = IXL (นาหน้า I เป็มุม ) 2  VC = IXC (นาหลัง I เป็มุม ) 2 ผลรวมของ R XL และ XC มีชื่อเรียกว่า ความชัด (impedance) และเขียนด้วยอักษร Z
  • 17. 17 รูป (ก) R L และ C ต่อกันแบบอนุกรม (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสความต่างศักย์ (ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XC XL และกระแส V = IZ
  • 18. 18 V = (V R ) 2  (V L  VC ) 2 เมื่อ VL  VC IZ = ( IR ) 2  ( IX L  IX C ) 2 ในสมการสุดท้ายนั้นตัดกระแสไฟฟ้า I ออกได้หมด เหลือ Z = ( R) 2  ( X L  X C ) 2 สมการสุดท้ายนี้ ทาให้สามารถเขียนแผนภาพแสดงเฟสได้ดังรูป (ค) ค่าของมุมเฟส  อาจหาได้ จากรูปคือ V L  VC (ข) tan  = VR XL  XC (ค) tan  = R ได้ค่าของ tan  เท่ากัน V L  VC IX L  IX C XL  XC อาจพิสูจน์ได้ว่า tan  = = = VR IR R ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับวงหนึ่งประกอบด้วย ตัวต้านทาน 600 โอห์ม ตัว เหนี่ยวนาขนาด 0.2 เฮนรี และตัวจุขนาด 1 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรมเรียงกันไป ตามลาดับ กาหนดให้   1,000 เรเดียนต่อวินาที และมีกระแสไฟฟ้า 0.1 แอมแปร์ ให้หา ก. ความต้านแห่งการเหนี่ยวและความต้านแห่งการจุ ข. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุแต่ละอัน ค. ความต่างศักย์รวมทั้งหมด วิธีทา ก. ความตานแห่งการเหนี่ยวนา X L  L  1,000  0.2  200 โอห์ม ความต้านแห่งการจุ 1 1 XC    1,000 โอห์ม  C 1,000 1  106  ข. R L และ C ต่ออนุกรมกันดังรูปมีหลักสาคัญว่า การต่ออนุกรมกันจะต้องมี กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเป็นอันเดียวกัน คือ 0.1 แอมแปร์ที่กาหนดให้มา
  • 19. 19 R  600 X L  200 X C  1,000 รูป วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วย R L และ C ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน VR = IR 0.1  600 = 60 โวลต์ ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา VL = IXL = 0.1  200 = 20 โวลต์ ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ VC = IXC = 0.1  1000 = 100 โวลต์  ค. ได้กล่าวมาแล้วว่า VR ทับกับ I VL นาหน้า I เป็นมุม และ VC ตามหลัง I เป็นมุม 2  2 ดังนั้นเวกเตอร์ VR VL VC และกระแสไฟฟ้า I จึงมีลักษณะดังรูป(ก) รูป (ก) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ VR VL VC
  • 20. 20 (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ V และ I เมื่อรวมเวกเตอร์ VR VL VC เข้าด้วยกัน จะได้เป็นเวกเตอร์รวม V ดังรูป(ข) V = VR 2  VC  VL 2 = 602  802 = 100 โวลต์ มุมเฟส  หาได้จากรูป(ข) VC  V L 80 4 tan  =   VR 60 3 4  = tan 1   หรือ 53.13 องศา นา V 3 4 โดยกระแสไฟฟ้า I นาหน้าความต่างศักย์รวม V เป็น  = tan 1   จึงอาจเขียนสมการของ 3 ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าได้ดังนี้ ความต่างศักย์ V = Vm sin 1,000 t  4 กระแสไฟฟ้า i = I m sin1,000t  tan 1       3 โดยที่ Vm  2V = 1.414  100 = 141.4 โวลต์ และ I m  2I = 1.414  0.1 = 0.141 แอมแปร์ เพื่อความเข้าใจที่ดียิ่งขึ้น จะหาค่าความต่างศักย์รวมระหว่างจุด AB ระหว่างจุด A และจุด B ความต่างศักย์มีเพียง VL และ VC เท่านั้น ส่วน VR ไม่
  • 21. 21 รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า ดังนั้น การหาค่า VAB จึงคิดจาก VL และ VC เท่านั้น รูปเวกเตอร์แสดงเฟส  VAB = VC-VL = 100-20 = 80 โวลต์ และตามหลัง I เป็นมุม  เรเดียน 2 ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 40 โอห์ม ขดลวดเหนี่ยวนาขนาด 0.04 เฮนรี และตัวจุขนาด 40 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรม และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และความถี่เชิงมุม 500 เรเดียนต่อวินาที ให้หากระแสไฟฟ้า มุมเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับ ความต่างศักย์ทั้งหมด และความต่างศักย์ระหว่างปลายของแต่ละอัน วิธีทา R = 40 โอห์ม XL = L = 500  0.04 = 20 โอห์ม 1 1 XC =   50 โอห์ม C 500  40  106   Z = R    X 2 C  XL 2 = 402  302 = 50 โอห์ม
  • 22. 22 รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความขัดและกระแสไฟฟ้า V 220 กระแสไฟฟ้า I =   4.4 แอมแปร์ Z 50 X C  X L 30 3 tan  =  ,   tan 1  , I นา V R 40 4 VR = IR = 4.4  40 = 176 โวลต์ VL = IXL = 4.4  20 = 88 โวลต์ VC = IXC = 4.4  50 = 220 โวลต์ หมายเหตุ ตรวจสอบคาตอบได้จาก V = VR 2  VC  VL 2 = 1762  200  882 = 1762  1322 = 220 โวลต์ 2. การต่อ R L C แบบขนาน ตัวต้านทาน R โอห์ม ตัวเหนี่ยวนา L เฮนรี และตัวจุ C ฟารัด ต่อขนานกัน และต่อกับ ไฟฟ้ากระแสสลับ V = ความต่างศักย์ ตัวเหนี่ยวนามีความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL ตัวจุมีความต้านแห่งการจุ XC
  • 23. 23 รูป (ก) R L C ต่อกันแบบขนาน (ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
  • 24. 24 (ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและส่วนกลับของ R XL XC R L และ C แต่ละตัวมีความต่างศักย์ V อันเดียวกัน V กระแสที่ผ่าน R IR = (ทับกับ V) R V กระแสที่ผ่าน L IL = (ตาม V 90 องศา) XL V กระแสที่ผ่าน C IC = (นา V 90 องศา ) XC ให้ Z = ความขัดของ R XL และ XC V กระแสรวม I = Z จากรูป (ข) ได้ I = (I R )2  (IC  IC )2 สมมติว่า LC มากว่า IL IC  I L tan  = IR 2 V   V V  2 V แทนค่า =      Z  R   XC XL    2 1  1 1  2 1 เอา V ตัวร่วมออกได้ =    X  X   Z R  C L  3.การต่อ R L C แบบผสม คานวณโดยอาศัยหลักการต่อแบบอนุกรมและแบบขนานผสมกัน ดังวงจรไฟฟ้า ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม ตัวเหนี่ยวนาและตัวจุต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้ XL = 6 โอห์ม และ XC = 2 โอห์ม จงหาค่าของความขัดระหว่างจุด AB
  • 25. 25 รูป วงจรไฟฟ้าต่อกันแบบผสม วิธีทา ให้ I1 = กระแสในสายที่มี R I2 = กระแสในสายที่มี L และ C I = กระแสรวม V = ความต่างศักย์ระหว่างจุด V V คิดสายที่มี R I1 = = (ทับกับ V) R 3 คิดสายที่มี L และ C V = VL-VC = 6I2-2I2 = 4I2 V  I2 = (ตามหลัง V เป็นมุม ) 4 2
  • 26. 26 รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ คิดรวมหมดทั้งสองสายมี V เป็นแกนร่วมของ I1 และ I2 รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสรวมและความต่างศักย์ I = ( I1 ) 2  ( I 2 ) 2 V I = Z
  • 27. 27 2 2 V V  V  1 1 5 =     = V  = V Z 3 4 9 16 12 12 ดังนั้น ความขัด Z = = 2.4 โอห์ม 5 7. อภินาทในวงจรไฟฟ้า โดยทั่วไปแล้ว อภินาท (resonance) บอกถึงปรากฎการณ์ที่มีการเสริมกันหรือแม้แต่ ขัดกัน ที่มีผลมากที่สุดสาหรับภาวะหนึ่งๆ เมื่อเทียบกับภาวะข้างเคียง ดังรายละเอียดบางส่วนได้ กล่าวมาแล้ว และที่จะกล่าวต่อไปอีกในส่วนที่เป็นฟิสิกส์ยุดใหม่ สาหรับในวงจรไฟฟ้าในส่วนนี้ จะแบ่งการพิจารณาเป็นอย่างๆไป 1. อภินาทในวงจร R L C ที่ต่ออนุกรม เมื่อ R L C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ เวกเตอร์ของ R XL รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XL XC และ I XC ดังแสดงในรูป ความขัด Z ของสิ่งทั้งสามนี้ คือ เวกเตอร์รวมของเวกเตอร์ R XL และ XC ซึ่งมีค่า ดังนี้ Z = ( R) 2  ( X L  X C ) 2
  • 28. 28 โดยที่ XL = L  2fL 1 1 XC =  C 2fC ในกรณีที่ R L และ C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์ V คงที่ แต่ความถี่เปลี่ยนค่าได้ การเปลี่ยนความถี่ย่อมทาให้ค่าของ XL และ XC เปลี่ยนไปตาม ส่วนค่า R ไม่แปรตามความถี่ ดังนั้น ค่าของ Z ก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย กระแสไฟฟ้า I ที่ไหล ผ่าน R L C ก็จะเปลี่ยนเช่นกัน เพราะการเปลี่ยนค่าของ Z และ I ตามความถี่ f เมื่อ f มีค่าต่า Z มีค่ามากกว่า I มีค่าน้อย เมื่อ f มีค่ามากขึ้น และ Z มีค่าน้อยลง I มีค่ามากขึ้นที่ความถี่ อันหนึ่งคือ Fr ใน Z มีค่าน้อยที่สุด ตอนนักระแส I มีค่ามากที่สุด เมื่อ f มีค่ามากกว่า fr Z กลับมีค่ามากขึ้น และ I กลับลดลงดังรูป(ข) ที่มีความถี่ fr ซึ่ง Z มีค่าน้อยที่สุดนี้เรียกว่า เกิดอภิ นาท ขึ้นในวงจรไฟฟ้านั้น และ fr เรียกว่า ความถี่อภินาท พิจารณาจาก Z = R 2  ( X L  X C ) 2 จะเห็นว่า ขณะที่เกิดอภินาทนั้น Z จะมีค่าน้อยที่สุด รูป (ก) กราฟแสดงการเปลี่ยนค่าของความขัดกับความถี่ (ข) กราฟแสดงการเปลี่ยนค่าของกระแสกับความถี่ XL = XC หรือ Z = R 1 เขียนได้ว่า r L = r C
  • 29. 29 1 r = LC 1 1 หรือ fr = 2 LC โดย L เป็นเฮนรี C เป็นฟารัด r เป็นเรเดียนต่อวินาที fr เป็นเฮิร์ทซ์ 2. อภินาทในวงจร L C ที่ต่อขนาน ตัวเหนี่ยวนากับตัวจุซึ่งต่อขนานกันอยู่ และต่อไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์เป็น V ดังแสดงในรูป อาจเกิดอภินาทขึ้นได้ ภาวะของการเกิดอภินาทแบบนี้คือ กระแสไฟฟ้า IL กับ LC มีค่าเท่ากันคือ IL = IC ดังนั้น I = 0 V V หรือ = XL XC รูป (ก) L C ต่อกันอย่างขนาน (ข)เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ ได้ XL = XC 1  rL = r C
  • 30. 30 1 ดังนั้น r = 2f r = LC สมการที่จะได้เหมือนกันแบบต่ออนุกรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ขณะที่เกิดอภินาทแบบขนานนี้ กระแสไฟฟ้ารวม I = IC - IL = 0 ซึ่งตรงกันข้ามกับแบบอนุกรมเพราะได้กระแสน้อยที่สุด 8. กาลังของไฟฟ้ากระแสสลับ กาลังของไฟฟ้าของกระแสสลับในขณะใดๆมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างความต่างศักย์กับ กระแสไฟฟ้าในขณะนั้นๆ ถ้า v = ความต่างศักย์ในขณะใด = Vm sin  i = กระแสไฟฟ้าในขณะนั้น = Im sin  p = กาลังในขณะใด (instantaneous power) จึงได้ p = vi = [ Vm sin ] [Im sin (  +  ) ] Vm I m [cos  - cos ( 2 +  ) ] 1 = 2 [ เพราะ 2 sin A sin B = cos (B-A) – cos (B + A)] 1 Vm Im เนื่องจาก Vm I m = . = VI 2 2 2 ดังนั้น P = VI [ cos  - cos ( 2 +  )]
  • 31. 31 รูป แสดงกราฟของ v i และ p โดย p = vi จะเห็นได้ว่า กาลังจะมีค่าไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ตามเวลา t กาลังที่ใช้ไปจริงๆในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับนั้นจะเป็นกาลังเฉลี่ย (average power) ซึ่งหา ได้โดยหาค่าเฉลี่ยดังนี้ ถ้า p = กาลังเฉลี่ย 1 2 P =  pd เมื่อคิดเฉลี่ยจาก 1 รอบ 2 0 แทนค่ากาลัง p จากที่ทามาแล้วจะได้ 1 เนื่องจาก  cos( 2  )d = 2  cos( 2   )d ( 2   ) = 1 sin ( 2 +  ) 2 cos  0  sin2    0  VI  1 จะได้ p = 2 2 2  2 = VI (2  cos  ) 2
  • 32. 32 = VI cos  ดังนั้น p = VI cos  กาลังเฉลี่ย P นี้มีชื่อเรียกกันเป็นอีกอย่างหนึ่งว่า กาลังกัมมันต์ (active power) และ ต่อไปนี้เมื่อพูดถึงกาลังในไฟฟ้ากระแสสลับ เราจะหมายถึงกาลังเฉลี่ย P นี้เสมอ ในสูตรนี้ V = ค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ I = ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า  = มุมเฟส สาหรับ VI จะเรียกว่า กาลังปรากฏ ( apparent power ) และค่าของ cos  มีชื่อเรียกว่า ตัว ประกอบกาลัง(power factor) เพราะเป็นตัวคูณ VI ซึ่งจะทาให้กาลัง P มีค่ามากก็ได้ น้อยก็ได้ ตัว  ประกอบกาลังนี้มีค่าจาก 0 ถึง 1 (cos 90 = 0 และ cos 0  = 1) ดังนั้น สาหรับ VI ค่าหนึ่งๆถ้า  =   90 (ในกรณีที่วงจรเป็นชนิดเหนี่ยวนาล้วน หรือชนิดจุล้วน) กาลัง P จะเท่ากับศูนย์ ถ้า  = 0 กาลังไฟฟ้าที่ใช้จะมีค่ามากที่สุด (เท่ากับ VI)  สาหรับตัวจุมี  = 90 ดังนั้นกาลังไฟฟ้าที่ใช้  = P = VI cos 90 0  ตัวเหนี่ยวนาซึ่งไม่มีความต้านทานเลย  = 90 กาลังไฟฟ้าที่ใช้  P = VI cos 90 = 0  สาหรับตัวต้านทาน(R) มี  = 0 จะใช้กาลังไฟฟ้า P = VI cos 0 = VI จึงสรุปได้ว่า ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C ต่อกันอยู่ ไม่ว่าจะต่อกันใน แบบใดกาลังไฟฟ้าจะใช้ที่ R เท่านั้น ดังนั้น เมื่อจะคิดกาลัง ก็คิดเฉพาะที่ R เท่านั้นเอง คือ P = VI cos  = VI cos 0 = VI = (IR) I = I2 R หรือ = VV    = V2 R R ดูตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย R L และ C ต่ออนุกรมกันอยู่ระหว่างสอง จุดซึ่งมีความต่างศักย์ 120 โวลต์ วงจรนี้มีความต้านทาน 75 โอห์ม และความชัด 150 โอห์ม ให้หา กาลังไฟฟ้าที่ใช้ในวงจรนี้ วิธีทา วิธีท1 ทาแบบคิดรวม เนื่องจากเป็นวงจรต่ออนุกรม จึงมีเวกเตอร์ของ R และ Z ดังรูป ี่
  • 33. 33 รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟส V 120 4 I = = = = 0.8 แอมแปร์ Z 150 5 กาลังที่ใช้ P = VI cos  75 = 1200.8 150 = 48 วัตต์ วิธีท2 คิดเฉพาะที่ R เท่านั้น เพราะกาลังไฟฟ้าถูกใช้ที่ R เพียงอย่างเดียว ี่ กาลังไฟฟ้าที่ใช้ P = I2 R = (0.8) 2 75 = 48 วัตต์ ตอบ ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การคิดกาลังจากความต้านทานอย่างที่ทาให้วิธีที่ 2 สะดวกกว่า คิดรวมอย่างที่ทาในวิธีที่ 1 แม้ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มี R L และ C ต่อกันในแบบผสม การคิดหากาลังไฟฟ้าก็อาจทาได้โดยแยกคิดเฉพาะที่ R ส่วนที่ L และ C นั้นไม่ใช้กาลัง ถ้ามี R หลายตัว ก็คิดหากาลังจาก R แต่ละตัวโดยเฉพาะแล้วนามารวมกันเป็นกาลังไฟฟ้ารวมที่ใช้ ทั้งหมด ดูตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง ตัวต้านทาน R 1 = 3 โอห์ม R 2 = 6 โอห์ม ตัวจุและตัวเหนี่ยวนาต่อกันในแบบ ผสมดังแสดงในรูป 19.35 ปลาย AB ต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ ทาให้ ตัวจุมี X c = 4 โอห์ม และตัวเหนี่ยวนามี X L = 8 โอห์ม ให้หาค่าของกาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด
  • 34. 34 รูป วงจรไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วย R L และ C วิธีทา โจทย์นี้ได้ทามาแล้วในตัวอย่างของการต่อ R L และ C แบบผสม ผิดกันแต่ที่ในตอนนั้น ให้หาค่าของกระแสไฟฟ้าและมุมเฟสเท่านั้น แต่ในตอนนี้จะหากาลังไฟฟ้า วิธีที่1 ทาโดยคิดรวมทั้งหมดโดยพิจารณาจากกาลังที่ใช้ทั้งหมด P = VI cos  ใช้ค่าของ กระแสไฟฟ้ารวม I และ  ที่ทาไว้แล้วในตอนต้นนั้นซึ่งได้ กระแสรวม I = 19.7 แอมแปร์ cos  = 18 = 18 (จากรูป 19.26) 1 19.7 กาลังที่ใช้ทั้งหมด P = VI cos  = 10019.7 18 = 1,800 วัตต์ 19.7 วิธีนี้ถ้าทาจากเริ่มต้นทุกอย่างโดยไม่ยกตัวเลขมาอ้างแบบนี้ จะยาวมาก วิธีที่ 2 คิดในสาย CD มี R 1 = 3 โอห์ม และ X c = 4 โอห์ม ต่ออนุกรมกัน ความขัดของสายนี้ Z 1 = 32  42 = 5 โอห์ม V 100 กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 1 = = = 20 แอมแปร์ Z1 5 กาลังซึ่งใช้ที่ R 1 คือ P 1 `= I 12 R 1 = 202  3 = 1,200 วัตต์
  • 35. 35 คิดในสาย EF มี R 2 = 6 โอห์ม และ X L = 8 โอห์ม ต่ออนุกรมกันดังนั้น ความขัดของสายนี้ Z 2 = 62  82 = 10 โอห์ม V 100 กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 2 = = = 10 แอมแปร์ Z2 10 กาลังซึ่งใช้ที่ R 2 คือ P 2 = I2 R2 = 2 102  6 = 600 วัตต์  กาลังซึ่งใช้ที่ X L = V 2 I 2 cos 90 = 0 ดังนั้น กาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด = P 1 + 0 +P 2 + 0 = 1,200+600 = 1,800 วัตต์ 9. การใช้ปริมาณเชิงซ้อนในไฟฟ้ากระแสสลับ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์และกระแสในตัวเหนี่ยวนาและตัวจุมีความต่าง  เฟสกันอยู่ 90 เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเป็นแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะได้ทิศดัง แสดงในแผนภาพ รูปจะเห็นว่าถ้าเขียน I ซึ่งเป็นกระแสผ่านวงจรให้อยู่ในแนวแกน X ความต่าง ศักย์ V L จะอยู่ในแนว รูป แผนภาพแสดงเฟส รูป แผนภาพแสดง I V L และ V C ในระนาบเชิงซ้อน
  • 36. 36 แกน + Y และความต่างศักย์บนตัวจุ V C จะอยู่ตามแนวแกน – Y ทิศของ V L และ V C จะมีทิศ เป็นอย่างอื่นไม่ได้ ถ้า I อยู่ในแนว + X ด้วยลักษณะสาคัญนี้ จึงได้นาหลักของจานวนเชิงซ้อน (complex number) มาใช้กับ ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยให้กระแสอยู่ตามแกนจริง (real axis) และ V L อยู่ในแนวแกนจินตภาพ บวก (imaginary axis) คือ + j และ V C อยู่ในแนวแกนจินตภาพลบคือ – j ดังรูป การหาขนาดและเฟสจะหาได้ตามวิธีของเลขเชิงซ้อน เพื่อให้ทราบว่า V L และ V C มี ทิศเป็น + j และ – j ตามลาดับ จึงต้องกากับด้วย + j และ – j ไว้ด้วยในการคานวณ 1. วงจร R L C ต่อแบบอนุกรม เมื่อมีกระแส I ผ่านวงจร จะเกิดความต่างศักย์เป็น V R V L V C บนตัวต้านทานตัว เหนี่ยวนา และตัวจุ ตามลาดับ ดังรูป เมื่อเทียบค่า Vรวม ของวงจรทั้งหมดตามหลักของจานวน เชิงซ้อน จะได้ความต่างศักย์รวม รูป ความต่างศักย์บนวงจรอนุกรม รูป แผนภาพแสดงเฟสในระนาบเชิงซ้อน V = V R + jV L - jV C หรือ V = V R + j(V - V C ) L ให้สังเกตด้วยว่า V R เป็นจานวนจริง เพราะ V R กับ I มีเฟสเดียวกัน เขียนแผนภาพ แสดงเฟสของสมการ (19.16) และ (19.17) ในระนาบเชิงซ้อน (complex plane) จะได้ดังรูป ขนาด ของรูป V จะเท่ากับกรณีที่สองของผลบวกของกาลังของส่วนจริงและส่วนจินตภาพคือ = VR2  VL  VC  2 V เฟส () ของ V เทียบกับแกนจริงตามสมการ (20.17) จะได้  = tan 1 [ส่วนจินตภาพ / ส่วนจริง]
  • 37. 37 tan 1  VL  VC    นั่นคือ  =  VR  ให้สังเกตด้วยว่า  เป็นบวกเมื่อ V L > V C และ  เป็นลบเมื่อ V L < V C ค่าของ  มี   ตั้งแต่ + 90 ถึง - 90 ตัวอย่าง จงหาขนาดและเฟสของความต่างศักย์รวมของวงจรอนุกรมของตัวต้านทานตัว เหนี่ยวนา และตัวจุ เมื่อ R = 2 , X L = 3 และ X C = 4 โดยมีกระแสไฟฟ้าในวงจร 1 แอมแปร์ วิธีทา VR = 21 = 2โวลต์ VL = 31 = 3 โวลต์ VC = 41 = 4 โวลต์ จาก V = V R + j(V L - V C ) แทนค่า V R V L และ V C จะได้ V = 2 + j (3-4) = (2- j ) โวลต์ หาขนาดได้คือ V = 2 2  12 = 5 โวลต์ เฟสของ V เมื่อเทียบกับแกนจริง  = tan 1  1     2  = -26.5  นั่นคือ V มีเฟสตามหลัง I หรือ V R เป็นมุม 26.5 เนื่องจากกระแส I ผ่านวงจรอนุกรมของ R L C ความต่างศักย์บน R L C จะคานวณ ความต่างศักย์ได้จากผลคูณของกระแส j กับความต้านทานหรือความต้าน ดังนั้นสมการของ V จึงเขียนได้เป็น V = IZ = IR + jIX L - jIX C หรือ Z = R + jX L - jX C เมื่อ Z = ความขัดของวงจร นาสมการ มาเขีย นในระนาบเชิงซ้อน โดยให้ R มีเฟสอยู่ในแนวแกนจริง จะได้ผลดัง รูป
  • 38. 38 รูป แผนภาพของความขัด เฟสของ X L อยู่ตามแนวแกนจินตภาพบวก X C อยู่ตามแนวแกนจินตภาพลบ จากสมการ (19.20) ขนาดของ Z คือ Z = R 2   X L  X C 2 หาเฟสของ Z เมื่อเทียบกับ R หรือแกนเลขจริงจาก    = tan 1  X L  X C     R  ตัวอย่าง วงจรอนุกรมของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุซึ่งมีค่า R = 2 , X L = 3 , และ X C = 4 จงหาความขัดของวงจร และเฟสของความขัด วิธีทา สมการของความขัดของวงจรอนุกรม R L C เขียนได้เป็น Z = R + jX L - jX C = 2 + j3 – j4 = 2- j หรือ Z = 2 2  12 = 5 โอห์ม เฟสของ Z เทียบกับ R คือ  = tan 1  X L  X C     R  = tan 1  1     2
  • 39. 39  = -26.5  นั่นคือ Z มีเฟสตามหลัง R เป็นมุม 26.5 2. วงจร R L C ต่อแบบขนาน รูป R L C ต่อแบบขนาน เมื่อต่อความศักย์ V ระหว่างจุด AB วงจรดังรูป จะมีกระแสผ่าน R L และ C ที่มีเฟส ดังนี้ กระแส I R ผ่าน R จะมีเฟสตรงกับ V  กระแส I L ผ่าน L มีเฟสตามหลัง V เป็นมุม 90 และกระแส I C ผ่าน C จะมีเฟส  นาหน้า V เป็นมุม 90 เมื่อเขียนแผนภาพของเฟสเชิงซ้อนของกระแสเหล่านี้ ตามวิธีของจานวน เชิงซ้อนจะได้ผลดังแสดงในรูป รูป แผนภาพของกระแสในวงจร R L C ต่อแบบขนาน เมื่อเขียนค่ากระแสรวม I ของวงจรตามหลักของจานวนเชิงซ้อน จะได้
  • 40. 40 I = I R + jI C - jI L = I R + j(I C - I L ) ขนาดของ I หาได้จาก = I R  I C  I L  2 2 I ความต่างเฟสของ I เทียบกับ I R หรือ V คือ   มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90 0 - 90 สมการของความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนานจะหาได้จากสมการ โดยอาศัย ความสัมพันธ์ตามกฎของโอห์ม I = V และเขียนได้ดังนี้ R V V V V =  j j Z R XC XL 1 1  1 1  หรือ =  j X   Z R  C XL   เมื่อนาสมการ มาเขียนในระนาบเชิงซ้อน จะได้ผลดังแสดงในแผนภาพของรูป รูป แผนภาพแสดงเฟสของความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนาน
  • 41. 41 1 ขนาดของ คานวณได้จาก Z 2 1  1 1  2 1 =      Z  R   XC XL    1 1 ความต่างเฟสของ เทียบกับ คือ Z R  1 1  X  X   = tan 1  C L   1     R    มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90 0 - 90 การหาความต่างเฟสของความขัด Z ของวงจรอาจหาได้จากการเปลี่ยนเครื่องหมายของความต่าง 1 1 เฟสของ ให้ตรงกันข้าม เช่น เมื่อความต่างเฟสของ เขียนได้ว่า Z Z  1 1  X  X  1 = tan 1  C L  Z  1     R  ความต่างเฟสของ Z จะเขียนได้เป็น   1 1     X  X  Z = tan 1   C L   1     R    จะไม่พิสูจน์วิธีการนี้ ณ ที่นี้ ผู้ที่สนใจอาจศึกษาได้จากเรื่องการเขียนแผนภาพแสดงเฟสแบบเชิง ขั้ว(polar) จากตาราวิชาไฟฟ้ากระแสสลับขั้นก้าวหน้าทั่วไป ตัวอย่าง วงจร R L C ต่อแบบขนานมีค่า R = 40 , X L = 60 และ X C = 24 ก. จงคานวณค่าความขัดของวงจร Z และเฟสของ Z