SlideShare a Scribd company logo
รายงาน เรื่อง แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้า และกฎของคูลอมบ์ จัดทำโดย 1.  นาย กฤษฎา แก่นทา  เลขที่  1   2.  นาย จีรศักดิ์  เหนียวแน่น เลขที่  7    3.  นาย ณัชพล  ปลาสุวรรณ เลขที่  10   4.  น . ส .  กานต์ธีรา  แก้วมา  เลขที่  12   5.  น . ส .  ปรียาภรณ์  เจียรพีพันธ์ เลขที่  26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ คุณครู  จักราวุธ  เมืองมงคล โรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์
แรงที่เกิดระหว่าง ประจุไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์
แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์             แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้า มีทั้งแรงดูดและผลัก   และเป็น   แรงต่างร่วม  คือ ทั้ง  2  ประจุจะออกแรงกระทำซึ่งกันและกันด้วยแรงเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ต่างชนิดจะดูดกัน          สรุปเป็นกฎดังนี้  "  แรงระหว่างประจุไฟฟ้าคู่หนึ่ง จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของประจุและเป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะทางระหว่างประจุคู่นั้น   "  ดังสมการ
เมื่อ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายประจุในการคำนวณหาแรง   เพราะ   เครื่องหมายเพียงแต่แสดงว่า ประจุดูดกันหรือผักกันเท่านั้น  แรงดูด แรงผลักทางไฟฟ้าสถิต เป็นปริมาณเวกเตอร์  ,  เวลามีหลายแรงมากระทำร่วมกัน จะต้องรวมแบบเวกเตอร์  ,  การคิดแรงแบบเวกเตอร์ให้เอาตัวถูกกระทำเป็นหลัก เวกเตอร์ทุกเวกเตอร์จะออกจากจุดที่ถูกกระทำนั้น    มีหลักการคือ ลากเส้นประให้ขนานกับเวกเตอร์ทั้งสอง จากนั้นให้ลากเส้นในแนวทแยงมุม ก็จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ โดยมีสูตรคำนวณหาแรงลัพธ์ คือ
  เมื่อ  คือแรงลัพธ์  (  N)    คือ แรงที่หนึ่งที่ทำต่อวัตถุที่จุดเดียวกัน   (N)    คือ แรงที่สองที่ทำต่อวัตถุที่จุดเดียวกัน   (N)   มีหลักการดังนี้ คือ ให้ลากเส้นประในแนวขนานกับแรงทั้งสองจะได้เป็นรูป  4  เหลี่ยมด้านขนาน จากนั้นให้ลากเส้นทแยงมุมทำมุมแอลฟากับแรงในแนวนอน จะได้แรงลัพธ์ มีสูตรในการคำนวณ คือ
หลักการดังนี้ คือ จาก  movie  จะเห็นว่ามี เวกเตอร์  2  เวกเตอร์ทำมุมกันอยู่ ซึ่งเราก็จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ ก็คือ เส้นที่ลากเชื่อมระหว่างจุดเริ่มต้นของเวกเตอร์ตัวแรกกับจุดปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่  2  โดยมีปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ลัพธ์อยู่ที่จุดปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่   2
แรงระหว่างประจุ  และ กฎของคูลอมบ์  
ในการทดลองเรื่องแรงดึงดูดระหว่างประจุนั้น เราพบว่า เมื่อวัตถุมีประจุต่างชนิดกันจะทำให้เกิดแรงดึงดูดกัน ทำให้วัตถุที่สองเคลื่อนที่เข้าใกล้กัน  ( ดังรูป )
แต่เมื่อวัตถุทั้งสองมีประจุชนิดเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็น บวกเหมือนกัน  หรือ ลบเหมือนกันก็ตามวัตถุที่สองจะเกิดแรงผลักกันทำให้วัตถุทั้งสอง เคลื่อนที่ออกจากกัน  ( ดังรูป )
 
             คูลอมบ์  ( Coulomb,  พ . ศ .  2279 - 2349) เป็นคนแรกที่ศึกษาและวัดแรงระหว่างประจุบนตัวนำทรงกลมเล็ก ๆ  โดยใช้เครื่องมือ ( ดังรูป )  แล้วตั้งกฎของคูลอมบ์ดังนี้ F  =   K Q1 Q2          r2             เมื่อ   F   คือ    แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้น                    K   คือ ค่าคงตัว มีค่าเท่ากับ    9 x 109  N.m2/C2  ในสุญญากาศ                    Q      คือ     ประจุไฟฟ้า             และ     r    คือ    ระยะห่างระหว่างประจุทั้งสอง
กฎของคูลอมบ์ นักเรียนรู้ไหมว่าใครเป็นคนวัดค่าคงที่  G ?  คนที่วัดค่าคงที่  G   คือ  Cavendish Coulomb  ทำการวัดแรงระหว่างประจุในปี  ค . ศ . 1785  โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องชั่งการบิด (torsion balance )     รูปที่  2  Torsion  Balance 
  แรงระหว่างวัตถุที่มีประจุถูกวัดด้วยเครื่องมือที่มีชื่อว่า   Torsional Balance  ดังรูปด้านบน เครื่องมือนี้ประกอบด้วยทรงกลมเล็ก   2  ลูก ติดอยู่กับท่อนฉนวนน้ำหนักเบาผูกติดกับเชือกเบาให้แกว่งได้ในแนวนอน เมื่อให้ประจุกับทรงกลม   A  และทรงกลม   B  มีประจุถูกนำเข้าใกล้ๆ   แรงดูดหรือแรงผลักระหว่างทรงกลม   A  และ   B  จะทำให้ท่อนฉนวนเกิดการหมุน ไปบิดการแขวน มุมที่หมุนสามารถวัดได้โดยการฉายแสงไปที่กระจกที่ติดอยู่กับการแขวน เมื่ออยู่ในจุดสมดุล แรงก็สามารถคำนวณได้จากกฎของนิวตันข้อ   1  กล่าวคือแรงอยู่ในภาวะสมดุล
แสดงเครื่องมือที่  Coulomb   ใช้วัดแรงไฟฟ้าระหว่างประจุทั้งสอง เมื่อประจุ   Q 1   ถูกดันออกจาก  Q 2   ทำให้เส้นใยสังเคราะห์บิดไปจนนิ่ง เมื่อแรงผลักถูกชดเชยโดยแรงคืนตัวของเส้นใยสังเคราะห์ที่บิด      จาก หลักการนี้  Coulomb   สามารถวัดแรงเป็นฟังก์ชันของระยะทางระหว่างประจุ  Q 1   และ  Q 2   ได้ ในทำนองเดียวกัน  Coulomb   ยังสามารถวัดแรงดึงดูดได้อีกด้วย เมื่อประจุ  Q 1   และ   Q 2  คงที่ ,   Coulomb   ค้นพบว่า ขนาดของแรงไฟฟ้า แปรผันตรงกับ ส่วนกลับ ของระยะทางระหว่างประจุทั้งสองยกกำลังสอง (1)
Coulomb  ทำการทดลองอีกชุดหนึ่ง พบว่า  เมื่อระยะทางระหว่างประจุทั้งสองคงที่แล้ว ขนาดของแรงไฟฟ้า   แปรผันตรงกับผลคูณประจุ  Q 1   ของวัตถุหนึ่งกับประจุ  Q 2   ของวัตถุอีกอันหนึ่ง (2) ให้นักเรียนนำสมการ  (1)  และ  (2)  มารวมกันเป็นสมการ ทั่วไปสำหรับแรงระหว่างประจุทั้งสอง (3)
โดยที่ และ  เป็นค่าประจุทั้งสอง                R   เป็นระยะทางระหว่างประจุทั้งสอง                K c   เป็นค่าคงที่  = 8.99 x 10 9  N-m 2 /c 2 เรียกว่า  Coulomb’s law  อ่านว่า กฎของคูลอมบ์        ตัวแปร  R2  ในตัวส่วนเป็นคำกล่าวของ  inverse-square law  (  กฎกำลังสองผกผัน  )
นักเรียนสามารถหาทิศทางของการกระทำได้ โดยดูตามเส้นที่เชื่อมระหว่างประจุการใช้กฎของคูลอมบ์ สมการที่  (3)  นักเรียนต้องระบุหน่วยของประจุไฟฟ้าของ และ และประเมินค่า  kc  ในปัจจุบัน หน่วยในระบบ  SI  ของประจุ เรียกว่า  Coulomb   มีสัญลักษณ์เป็น  C  ถ้าประจุจัดเป็น  Coulombs,  แรงเป็น  Newtons  และระยะทางเป็น  meters,  ค่า  kc = 8.99 x 109 N-m2/C2
ในบางครั้งนักเรียนจะเห็นกฎคูลอมบ์เขียนอยู่ในเทอมของค่าที่ ซึ่งเรียกว่า สภาพยอมของอวกาศอิสระ ซึ่งเป็นค่าคงที่ที่บอกว่า สนามไฟฟ้าที่เกิดจากประจุมีความสามารถในการผ่านอวกาศได้ง่ายหรือยาก โดยที่ ค่าคงที่  = 8.854 x 10  C  /(N-m ) -12  2   2
คราวนี้มาลองดูการนำกฎของคูลอมบ์ไปประยุกต์ใช้กันบ้าง 1.   เมื่อนักเรียนนำวัตถุมารวมกัน ? ถ้านักเรียนนำลูกบอลไม้สองลูกให้อยู่ห่างกัน  1  เมตร และทำการใส่ประจุให้ลูกบอลไม้ทั้งสองเป็น  1  Coulomb   โดยลูกบอลไม้ที่หนึ่งเป็นประจุบวกและลูกบอลไม้ที่สองเป็นประจุลบ แต่โจทย์ต้องการใหนักเรียนถือมันไว้ให้ห่างกัน  1  เมตร ถามว่าแรงดึงมีค่าเป็นเท่าไร  ?     นั่นคือ นักเรียนต้องการใช้แรง  8.99  x 109 Newtons  เพื่อยึดให้ลูกบอลไม้ทั้งสองอยู่ห่างกันอย่างนี้
2.  คำนวณหาอัตราเร็วของอิเล็กตรอน นักเรียนสามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างแรงไฟฟ้าสถิตและแรงสู่ศูนย์กลาง โดยมองดูวงโคจรของอิเล็กตรอน และจินตนาการว่านักเรียนนั่งอยู่รอบ ๆ นักเรียนรู้มาแล้วว่า แต่ ละอะตอมของไฮโดรเจนถูก สร้างขึ้น โดยมี อิเล็กตรอนหนึ่งตัวโคจรเป็นวงกลมรอบโปรตอน  1  ตัวเกิดคำถามว่า  อิเล็กตรอนวิ่งพุ่งรอบ ๆ โปรตอนเร็วเท่าไร  ?  
นักเรียนต้องรู้ว่าแรงไฟฟ้าสถิตระหว่างอิเล็กตรอนและโปรตอน และสมมุติให้อิเล็กตรอนโคจรเป็นวงกลมรอบ ๆ โปรตอน ,   แรงไฟฟ้าสถิตเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง มวลของอิเล็กตรอนเป็น  9.11  x  10 -31  kg   รัศมีของวงโคจรเป็น  5.29  x 10 -11 m นักเรียนรู้ว่า แรงระหว่างอิเล็กตรอนและโปรตอนมีค่าเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง
3.  มองหาแรงระหว่างประจุมากกว่าสองประจุ ? ปัญหาโดยทั่วไปแล้วมักจะมีจำนวนประจุมากกว่าสองประจุเสมอ  ดังนั้นนักเรียนต้องใช้เวกเตอร์  (vectors )  เพื่อหาแรงสุทธิบนประจุไฟฟ้าใด ๆ  ถ้านักเรียนมีประจุ  3  ประจุ  F1   เป็นแรงบนประจุ  Q  เนื่องจาก  ประจุลบ   Q1 F2   เป็นแรงบนประจุ  Q  เนื่องจาก ประจุลบ   Q2 แรง   F1   และ  F2   รวมกันได้   F สุทธิ สมมุติว่า  Q1 = Q2 = -1.0 x 10-18 C, Q = 3.0 x 10-18 C  ถามว่า  F สุทธิ มีค่าเท่าไร  ? นักเรียนรู้ว่าขนาด  F 1  = F 2   ดังนั้น แรงสุทธิ ,   F net   = 2F 1 cos (45  0 ) = F 1 จากทฤษฏี พิธากอรัส  ( Pythagorean theorem )  รู้ว่า  = 45  0  ถามว่าขนาด  F 1  = ?
F สุทธิ   = 2F 1 cos (45  0 ) = F 1  = 1.27 x 10 -4  N   ขนาดของแรงสุทธิบนประจุ  + Q  เกิดจากผลรวมเวกเตอร์มีค่าเท่ากับ  1.27  x 10-4 N

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
Weerachat Martluplao
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยินเสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยิน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 

Similar to กฎของคูลอมป์

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
kapom7
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
shanesha
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton00
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
Pasuda Khodmungkoon
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
Wijitta DevilTeacher
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 

Similar to กฎของคูลอมป์ (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
Electrostatic
ElectrostaticElectrostatic
Electrostatic
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 

More from Chakkrawut Mueangkhon

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
Chakkrawut Mueangkhon
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
Chakkrawut Mueangkhon
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
Chakkrawut Mueangkhon
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
Chakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
Chakkrawut Mueangkhon
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
Chakkrawut Mueangkhon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Chakkrawut Mueangkhon
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chakkrawut Mueangkhon
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
Chakkrawut Mueangkhon
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
Chakkrawut Mueangkhon
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
Chakkrawut Mueangkhon
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
Chakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
Chakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chakkrawut Mueangkhon
 

More from Chakkrawut Mueangkhon (20)

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
 
Akaranee
AkaraneeAkaranee
Akaranee
 
568
568568
568
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 

กฎของคูลอมป์

  • 1. รายงาน เรื่อง แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้า และกฎของคูลอมบ์ จัดทำโดย 1. นาย กฤษฎา แก่นทา เลขที่ 1 2. นาย จีรศักดิ์ เหนียวแน่น เลขที่ 7 3. นาย ณัชพล ปลาสุวรรณ เลขที่ 10 4. น . ส . กานต์ธีรา แก้วมา เลขที่ 12 5. น . ส . ปรียาภรณ์ เจียรพีพันธ์ เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ คุณครู จักราวุธ เมืองมงคล โรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์
  • 3. แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์           แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้า มีทั้งแรงดูดและผลัก   และเป็น   แรงต่างร่วม คือ ทั้ง 2 ประจุจะออกแรงกระทำซึ่งกันและกันด้วยแรงเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ต่างชนิดจะดูดกัน          สรุปเป็นกฎดังนี้ " แรงระหว่างประจุไฟฟ้าคู่หนึ่ง จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของประจุและเป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะทางระหว่างประจุคู่นั้น "  ดังสมการ
  • 4. เมื่อ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายประจุในการคำนวณหาแรง   เพราะ   เครื่องหมายเพียงแต่แสดงว่า ประจุดูดกันหรือผักกันเท่านั้น แรงดูด แรงผลักทางไฟฟ้าสถิต เป็นปริมาณเวกเตอร์ , เวลามีหลายแรงมากระทำร่วมกัน จะต้องรวมแบบเวกเตอร์ , การคิดแรงแบบเวกเตอร์ให้เอาตัวถูกกระทำเป็นหลัก เวกเตอร์ทุกเวกเตอร์จะออกจากจุดที่ถูกกระทำนั้น    มีหลักการคือ ลากเส้นประให้ขนานกับเวกเตอร์ทั้งสอง จากนั้นให้ลากเส้นในแนวทแยงมุม ก็จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ โดยมีสูตรคำนวณหาแรงลัพธ์ คือ
  • 5.   เมื่อ คือแรงลัพธ์ ( N) คือ แรงที่หนึ่งที่ทำต่อวัตถุที่จุดเดียวกัน (N)   คือ แรงที่สองที่ทำต่อวัตถุที่จุดเดียวกัน (N) มีหลักการดังนี้ คือ ให้ลากเส้นประในแนวขนานกับแรงทั้งสองจะได้เป็นรูป 4 เหลี่ยมด้านขนาน จากนั้นให้ลากเส้นทแยงมุมทำมุมแอลฟากับแรงในแนวนอน จะได้แรงลัพธ์ มีสูตรในการคำนวณ คือ
  • 6. หลักการดังนี้ คือ จาก movie จะเห็นว่ามี เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ทำมุมกันอยู่ ซึ่งเราก็จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ ก็คือ เส้นที่ลากเชื่อมระหว่างจุดเริ่มต้นของเวกเตอร์ตัวแรกกับจุดปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2 โดยมีปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ลัพธ์อยู่ที่จุดปลายหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2
  • 7. แรงระหว่างประจุ และ กฎของคูลอมบ์  
  • 9. แต่เมื่อวัตถุทั้งสองมีประจุชนิดเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็น บวกเหมือนกัน หรือ ลบเหมือนกันก็ตามวัตถุที่สองจะเกิดแรงผลักกันทำให้วัตถุทั้งสอง เคลื่อนที่ออกจากกัน ( ดังรูป )
  • 10.  
  • 11.              คูลอมบ์ ( Coulomb, พ . ศ . 2279 - 2349) เป็นคนแรกที่ศึกษาและวัดแรงระหว่างประจุบนตัวนำทรงกลมเล็ก ๆ โดยใช้เครื่องมือ ( ดังรูป ) แล้วตั้งกฎของคูลอมบ์ดังนี้ F  =   K Q1 Q2        r2            เมื่อ   F   คือ   แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้น                    K   คือ ค่าคงตัว มีค่าเท่ากับ   9 x 109 N.m2/C2 ในสุญญากาศ                    Q    คือ    ประจุไฟฟ้า             และ    r    คือ   ระยะห่างระหว่างประจุทั้งสอง
  • 12. กฎของคูลอมบ์ นักเรียนรู้ไหมว่าใครเป็นคนวัดค่าคงที่ G ? คนที่วัดค่าคงที่ G คือ Cavendish Coulomb ทำการวัดแรงระหว่างประจุในปี ค . ศ . 1785 โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องชั่งการบิด (torsion balance )     รูปที่ 2  Torsion  Balance 
  • 13. แรงระหว่างวัตถุที่มีประจุถูกวัดด้วยเครื่องมือที่มีชื่อว่า Torsional Balance ดังรูปด้านบน เครื่องมือนี้ประกอบด้วยทรงกลมเล็ก 2 ลูก ติดอยู่กับท่อนฉนวนน้ำหนักเบาผูกติดกับเชือกเบาให้แกว่งได้ในแนวนอน เมื่อให้ประจุกับทรงกลม A และทรงกลม B มีประจุถูกนำเข้าใกล้ๆ แรงดูดหรือแรงผลักระหว่างทรงกลม A และ B จะทำให้ท่อนฉนวนเกิดการหมุน ไปบิดการแขวน มุมที่หมุนสามารถวัดได้โดยการฉายแสงไปที่กระจกที่ติดอยู่กับการแขวน เมื่ออยู่ในจุดสมดุล แรงก็สามารถคำนวณได้จากกฎของนิวตันข้อ 1 กล่าวคือแรงอยู่ในภาวะสมดุล
  • 14. แสดงเครื่องมือที่ Coulomb ใช้วัดแรงไฟฟ้าระหว่างประจุทั้งสอง เมื่อประจุ Q 1 ถูกดันออกจาก Q 2 ทำให้เส้นใยสังเคราะห์บิดไปจนนิ่ง เมื่อแรงผลักถูกชดเชยโดยแรงคืนตัวของเส้นใยสังเคราะห์ที่บิด     จาก หลักการนี้ Coulomb สามารถวัดแรงเป็นฟังก์ชันของระยะทางระหว่างประจุ Q 1 และ Q 2 ได้ ในทำนองเดียวกัน Coulomb ยังสามารถวัดแรงดึงดูดได้อีกด้วย เมื่อประจุ Q 1 และ Q 2 คงที่ , Coulomb ค้นพบว่า ขนาดของแรงไฟฟ้า แปรผันตรงกับ ส่วนกลับ ของระยะทางระหว่างประจุทั้งสองยกกำลังสอง (1)
  • 15. Coulomb ทำการทดลองอีกชุดหนึ่ง พบว่า เมื่อระยะทางระหว่างประจุทั้งสองคงที่แล้ว ขนาดของแรงไฟฟ้า แปรผันตรงกับผลคูณประจุ Q 1 ของวัตถุหนึ่งกับประจุ Q 2 ของวัตถุอีกอันหนึ่ง (2) ให้นักเรียนนำสมการ (1) และ (2) มารวมกันเป็นสมการ ทั่วไปสำหรับแรงระหว่างประจุทั้งสอง (3)
  • 16. โดยที่ และ เป็นค่าประจุทั้งสอง                R เป็นระยะทางระหว่างประจุทั้งสอง                K c เป็นค่าคงที่ = 8.99 x 10 9 N-m 2 /c 2 เรียกว่า Coulomb’s law อ่านว่า กฎของคูลอมบ์        ตัวแปร R2 ในตัวส่วนเป็นคำกล่าวของ inverse-square law ( กฎกำลังสองผกผัน )
  • 17. นักเรียนสามารถหาทิศทางของการกระทำได้ โดยดูตามเส้นที่เชื่อมระหว่างประจุการใช้กฎของคูลอมบ์ สมการที่ (3) นักเรียนต้องระบุหน่วยของประจุไฟฟ้าของ และ และประเมินค่า kc ในปัจจุบัน หน่วยในระบบ SI ของประจุ เรียกว่า Coulomb มีสัญลักษณ์เป็น C ถ้าประจุจัดเป็น Coulombs, แรงเป็น Newtons และระยะทางเป็น meters, ค่า kc = 8.99 x 109 N-m2/C2
  • 18. ในบางครั้งนักเรียนจะเห็นกฎคูลอมบ์เขียนอยู่ในเทอมของค่าที่ ซึ่งเรียกว่า สภาพยอมของอวกาศอิสระ ซึ่งเป็นค่าคงที่ที่บอกว่า สนามไฟฟ้าที่เกิดจากประจุมีความสามารถในการผ่านอวกาศได้ง่ายหรือยาก โดยที่ ค่าคงที่ = 8.854 x 10 C /(N-m ) -12 2 2
  • 19. คราวนี้มาลองดูการนำกฎของคูลอมบ์ไปประยุกต์ใช้กันบ้าง 1.   เมื่อนักเรียนนำวัตถุมารวมกัน ? ถ้านักเรียนนำลูกบอลไม้สองลูกให้อยู่ห่างกัน 1 เมตร และทำการใส่ประจุให้ลูกบอลไม้ทั้งสองเป็น 1 Coulomb โดยลูกบอลไม้ที่หนึ่งเป็นประจุบวกและลูกบอลไม้ที่สองเป็นประจุลบ แต่โจทย์ต้องการใหนักเรียนถือมันไว้ให้ห่างกัน 1 เมตร ถามว่าแรงดึงมีค่าเป็นเท่าไร ? นั่นคือ นักเรียนต้องการใช้แรง 8.99 x 109 Newtons เพื่อยึดให้ลูกบอลไม้ทั้งสองอยู่ห่างกันอย่างนี้
  • 20. 2. คำนวณหาอัตราเร็วของอิเล็กตรอน นักเรียนสามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างแรงไฟฟ้าสถิตและแรงสู่ศูนย์กลาง โดยมองดูวงโคจรของอิเล็กตรอน และจินตนาการว่านักเรียนนั่งอยู่รอบ ๆ นักเรียนรู้มาแล้วว่า แต่ ละอะตอมของไฮโดรเจนถูก สร้างขึ้น โดยมี อิเล็กตรอนหนึ่งตัวโคจรเป็นวงกลมรอบโปรตอน 1 ตัวเกิดคำถามว่า อิเล็กตรอนวิ่งพุ่งรอบ ๆ โปรตอนเร็วเท่าไร ?  
  • 21. นักเรียนต้องรู้ว่าแรงไฟฟ้าสถิตระหว่างอิเล็กตรอนและโปรตอน และสมมุติให้อิเล็กตรอนโคจรเป็นวงกลมรอบ ๆ โปรตอน , แรงไฟฟ้าสถิตเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง มวลของอิเล็กตรอนเป็น 9.11 x 10 -31 kg รัศมีของวงโคจรเป็น 5.29 x 10 -11 m นักเรียนรู้ว่า แรงระหว่างอิเล็กตรอนและโปรตอนมีค่าเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง
  • 22. 3.  มองหาแรงระหว่างประจุมากกว่าสองประจุ ? ปัญหาโดยทั่วไปแล้วมักจะมีจำนวนประจุมากกว่าสองประจุเสมอ ดังนั้นนักเรียนต้องใช้เวกเตอร์ (vectors ) เพื่อหาแรงสุทธิบนประจุไฟฟ้าใด ๆ ถ้านักเรียนมีประจุ 3 ประจุ F1 เป็นแรงบนประจุ Q เนื่องจาก ประจุลบ Q1 F2 เป็นแรงบนประจุ Q เนื่องจาก ประจุลบ Q2 แรง F1 และ F2 รวมกันได้ F สุทธิ สมมุติว่า Q1 = Q2 = -1.0 x 10-18 C, Q = 3.0 x 10-18 C ถามว่า F สุทธิ มีค่าเท่าไร ? นักเรียนรู้ว่าขนาด F 1 = F 2 ดังนั้น แรงสุทธิ , F net = 2F 1 cos (45 0 ) = F 1 จากทฤษฏี พิธากอรัส ( Pythagorean theorem ) รู้ว่า = 45 0 ถามว่าขนาด F 1 = ?
  • 23. F สุทธิ = 2F 1 cos (45 0 ) = F 1 = 1.27 x 10 -4 N ขนาดของแรงสุทธิบนประจุ + Q เกิดจากผลรวมเวกเตอร์มีค่าเท่ากับ 1.27 x 10-4 N