SlideShare a Scribd company logo
โครงงานเรื่อง ไฟฟ้า  ชื่อผู้ทำโครงงาน นาย รัตนพล สินธุรัตน์ ชั้น ม.6/3     เลขที่ 6 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
                                                                       ประวัติ ก่อนที่จะมีความรู้ทางด้านไฟฟ้า มีผู้คนตระหนักถึงภัยของปลาไฟฟ้า ในสมัยอียิปต์โบราณพบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 250 ปีก่อนพุทธศักราช ว่าปลาไฟฟ้าเป็น "สายฟ้าแห่งแม่น้ำไนล์" และพรรณนาว่ามันเป็น "ผู้พิทักษ์" แก่ปลาอื่นๆ ทั้งมวล ทั้งนี้ยังค้นพบบันทึกอื่นๆ ทั้งในกรีกโบราณโรมันอาหรับ[1] ว่าการที่ถูกไฟช็อตโดยปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) และปลากระเบนไฟฟ้า เม่นไฟฟ้า (torpedo ray หรือ Electric ray) จะทำให้รู้สึกตัวชา และยังทราบว่าการช็อตเช่นนั้น สามารถทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ได้ด้วย[2]ผู้ป่วยที่ได้รับความเจ็บปวดจากการเป็นเกาต์หรือปวดหัว จะได้รับการรักษาโดยการสัมผัสปลาไฟฟ้า ซึ่งหวังว่าจะทำให้ผู้ป่วยกระตุกเป็นการรักษาฟื้นฟูอาการ ด้วยความบังเอิญจากการช็อตทำให้ค้นพบแหล่งกำเนิดแสงสว่าง
                                  ไฟฟ้า ไฟฟ้ามีหลากหลายสาขาย่อย อาทิเช่น ,[object Object]
ไฟฟ้ากระแส (Electric Current) ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของการไหลในกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์
สนามไฟฟ้า (Electric Field) ว่าด้วยผลที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าที่พยายามออกแรงเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง
พลังงานไฟฟ้า (Electric Energy) ว่าด้วยพลังงานที่มีโดยเกิดจากกระแสไฟฟ้าที่กระทำต่อสื่อไฟฟ้าต่างๆ
ไฟฟ้ากำลัง (Electric Power) ว่าด้วยขนาดของพลังงานไฟฟ้าที่ไปทำการเปลี่ยนแปลงหรือมาจากพลังงานอื่นๆ เช่น แสง,ความร้อนหรือพลังงานของเครื่องกล,[object Object]
2 แนวคิดทางไฟฟ้า
2.1 ประจุไฟฟ้า
2.2 กระแสไฟฟ้า
2.3 สนามไฟฟ้า
2.4 ศักย์ไฟฟ้า
2.5 แม่เหล็กไฟฟ้า
3 วงจรไฟฟ้า
3.1 วงจรอนุกรม

More Related Content

What's hot

เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
Saipanya school
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
Somporn Laothongsarn
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 

What's hot (18)

ไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Lesson18
Lesson18Lesson18
Lesson18
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 

Viewers also liked

โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Fátima Brás
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารChatu Tiktuk
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าrattanapon
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2rattanapon
 
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไรพระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
อลงกรณ์ อารามกูล
 
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า ไอ'แอม ม.มุก
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
niralai
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3krupornpana55
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
moochampz
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าChanida Manonom
 

Viewers also liked (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคาร
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไรพระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
 
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
 
งานกลุ่มที่5
งานกลุ่มที่5งานกลุ่มที่5
งานกลุ่มที่5
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 

Similar to โครงงานไฟฟ้า

เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
tearchersittikon
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าrattanapon
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
kapom7
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 

Similar to โครงงานไฟฟ้า (20)

เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

โครงงานไฟฟ้า

  • 1. โครงงานเรื่อง ไฟฟ้า ชื่อผู้ทำโครงงาน นาย รัตนพล สินธุรัตน์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 6 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
  • 2. ประวัติ ก่อนที่จะมีความรู้ทางด้านไฟฟ้า มีผู้คนตระหนักถึงภัยของปลาไฟฟ้า ในสมัยอียิปต์โบราณพบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 250 ปีก่อนพุทธศักราช ว่าปลาไฟฟ้าเป็น "สายฟ้าแห่งแม่น้ำไนล์" และพรรณนาว่ามันเป็น "ผู้พิทักษ์" แก่ปลาอื่นๆ ทั้งมวล ทั้งนี้ยังค้นพบบันทึกอื่นๆ ทั้งในกรีกโบราณโรมันอาหรับ[1] ว่าการที่ถูกไฟช็อตโดยปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) และปลากระเบนไฟฟ้า เม่นไฟฟ้า (torpedo ray หรือ Electric ray) จะทำให้รู้สึกตัวชา และยังทราบว่าการช็อตเช่นนั้น สามารถทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ได้ด้วย[2]ผู้ป่วยที่ได้รับความเจ็บปวดจากการเป็นเกาต์หรือปวดหัว จะได้รับการรักษาโดยการสัมผัสปลาไฟฟ้า ซึ่งหวังว่าจะทำให้ผู้ป่วยกระตุกเป็นการรักษาฟื้นฟูอาการ ด้วยความบังเอิญจากการช็อตทำให้ค้นพบแหล่งกำเนิดแสงสว่าง
  • 3.
  • 4. ไฟฟ้ากระแส (Electric Current) ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของการไหลในกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์
  • 5. สนามไฟฟ้า (Electric Field) ว่าด้วยผลที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าที่พยายามออกแรงเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง
  • 6. พลังงานไฟฟ้า (Electric Energy) ว่าด้วยพลังงานที่มีโดยเกิดจากกระแสไฟฟ้าที่กระทำต่อสื่อไฟฟ้าต่างๆ
  • 7.
  • 23.
  • 29.
  • 30. สนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้า (electric field) คือปริมาณซึ่งใช้บรรยายการที่ประจุไฟฟ้าทำให้เกิดแรงกระทำกับอนุภาคมีประจุภายในบริเวณโดยรอบ หน่วยของสนามไฟฟ้าคือ นิวตันต่อคูลอมบ์ หรือโวลต์ต่อเมตร (มีค่าเท่ากัน) สนามไฟฟ้านั้นประกอบขึ้นจากโฟตอนและมีพลังงานไฟฟ้าเก็บอยู่ ซึ่งขนาดของความหนาแน่นของพลังงานขึ้นกับกำลังสองของความหนานแน่นของสนาม ในกรณีของไฟฟ้าสถิต สนามไฟฟ้าประกอบขึ้นจากการแลกเปลี่ยนโฟตอนเสมือนระหว่างอนุภาคมีประจุ ส่วนในกรณีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้น สนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสนามแม่เหล็ก โดยมีการไหลของพลังงานจริง และประกอบขึ้นจากโฟตอนจริง
  • 31. กระแสไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าเราเรียกว่า กระแสไฟฟ้า ความเข้มของมันเราวัดในหน่วยแอมแปร์ กระแสไฟฟ้าสามารถเกิดขึ้นได้แม้ประจุเพียงเล็กน้อย ซึ่งประจุที่ว่านั้นโดยทั่วไปจะหมายถึงอิเล็กตรอน แต่ประจุที่ที่เคลื่อนที่ร่วมกันนั้นเรียกว่ากระแส มีการกำหนดแบบแผนการทิศทางของกระแสให้ประจุบวกเคลื่อนที่ หรือมีการเคลื่อนที่ของประจุจากส่วนที่เป็นขั้วบวกไปยังส่วนที่เป็นขั้วลบในวงจรไฟฟ้าอย่างชัดเจน การกำหนดแบบแผนทิศทางของกระแสไฟฟ้าดังกล่าวเรียกว่า กระแสสมมติ การเคลื่อนที่องประจุลบในวงจรไฟฟ้าเรียกว่า กระแสอิเล็กตรอน คือหนึ่งในรูปแบบที่นิยมในการกำหนดทิศทางของกระแส ดังนั้นจะเห็นได้ว่าทิศทางของกระแสสมมติ (ดูการเคลื่อนที่ของประจุบวก) จะเคลื่อนที่ตรงข้ามกับทิศทางของกระแสอิเล็กตรอน (ดูการเคลื่อนที่ของประจุลบ) อย่างไรก็ตามขึ้นอยู่ที่การใช้งาน กระแสอิเล็กตรอนใช้ในการรวมประจุให้ไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนกระแสสมมติก๋ใช้วิเคราะห์ได้ง่ายและกว้าง
  • 32. ศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า หรือ เรียกว่าศักดาไฟฟ้า คือระดับของพลังงานศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใดๆ ในสนามไฟฟ้า จากรูป ศักย์ไฟฟ้าที่ A สูงกว่าศักย์ไฟฟ้าที่ B เพราะว่าพลังงานศักย์ไฟฟ้าที่ A สูงกว่าที่ B ศักย์ไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ศักย์ไฟฟ้าบวก เป็นศักย์ของจุดที่อยู่ในสนามของประจุบวก และศักย์ไฟฟ้าลบ เป็นศักย์ของจุดที่อยู่ในสนามของประจุลบ ศักย์ไฟฟ้าจะมีค่ามากที่สุดที่ประจุต้นกำเนิดสนาม และมีค่าน้อยลง เมื่อห่างออกไป จนกระทั่งเป็นศูนย์ที่ ระยะอนันต์ (infinity) ในการวัดศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใดๆ วัดจากจำนวนพลังงานศักย์ไฟฟ้า ที่เกิดจากการเคลื่อนประจุทดสอบ +1 หน่วย ไปยังจุดนั้น ดังนั้น จึงให้นิยามของศักย์ไฟฟ้าได้ว่า ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใดๆ ในสนามไฟฟ้า คือ พลังงานนี้สิ้นเปลืองไปในการเคลื่อนประจุ ทดสอบ +1 หน่วยประจุจาก infinity มายังจุดนั้น หรือจากจุดนั้นไปยัง infinity ศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์
  • 33. แม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า คือ แท่งแม่เหล็กที่เกิดจากอำนาจไฟฟ้า โดยการพันขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลรอบๆแกนแม่เหล็ก วงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า เป็นการนำเอาสายไฟฟ้าหรือตัวนำไฟฟ้าที่เป็นเส้นทางเดินให้กระแสไฟฟ้าสามารถ ไหลผ่านต่อถึงกันได้นั้นเราเรียกว่า วงจรไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่อยู่ภายในวงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟไปยัง อุปกรณ์ไฟฟ้า ดังการแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นโดยการต่อแบตเตอรี่ต่อเข้ากับหลอดไฟ หลอดไฟฟ้าสว่างได้เพราะว่ากระแสไฟฟ้าสามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจรไฟฟ้าและเมื่อ หลอดไฟฟ้าดับก็เพราะว่ากระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจร เนื่องจากสวิตซ์เปิดวงจรไฟฟ้าอยู่นั่นเอง
  • 34. วงจรอนุกรม วงจรอนุกรมหมายถึง การนำเอาอุปกรณ์ทางไฟฟ้ามาต่อกันในลักษณะที่ปลายด้านหนึ่งของอุปกรณ์ตัวที่ 1 ต่อเข้ากับอุปกรณ์ตัวที่ 2 จากนั้นนำปลายที่เหลือของอุปกรณ์ตัวที่ 2 ไปต่อกับอุปกรณ์ตัวที่ 3 และจะต่อลักษณะนี้ไปเรื่อยๆ ซึ่งการต่อแบบนี้จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียวกระแสไฟฟ้าภายในวงจร อนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกๆจุด ค่าความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมนั้นคือการนำเอาค่าความต้านทานทั้งหมดนำมา รวมกันส่วนแรงดันไฟฟ้าในวงจรอนุกรมนั้นแรงดันจะปรากฏคร่อมตัวต้านทานทุกตัว ที่จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านซึ่งแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะมีค่าไม่เท่ากันโดยสา มารถคำนวณหาได้จากกฎของโอห์ม RT = R1 + R2 + R3 + R4 + R5 RT = ค่าความต้านทานรวมหรือค่าความต้านทานทั้งหมด R1 ค่าความต้านทานตัวที่ 1 R2 ค่าความต้านทานตัวที่ 2 R3 ค่าความต้านทานตัวที่ 3 R4 ค่าความต้านทานตัวที่ 4 R5 ค่าความต้านทานตัวที่ 5
  • 35. กระแสไฟฟ้าภายในวงจรอนุกรม เนื่องจากกระแสไฟฟ้าภายในวงจรอนุกรมมีการไหลในทิศทางเดียว ดังนั้นกระแสไฟฟ้าภายในวงจรอนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกจุด จากสมการ IT = I1 = I2 = I3 ความต้านทานรวมในวงจรอนุกรม ค่าความต้านทานรวมในวงจรอนุกรมนั้น คำนวณได้โดยนำค่าความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละตัวมารวมกัน จากสมการ RT = R1 + R2 + R3 + R4 +…….
  • 36. แรงดันไฟฟ้าในวงจรอนุกรม แรงดันไฟฟ้าในวงจรอนุกรมจะปรากฏคร่อมตัวต้านทานทุกตัวที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านซึ่งแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะมีค่าไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ดังนั้นจึงทำให้แรงดันไฟฟ้าภายในวงจรอนุกรมแต่ละจุดจะมีค่าไม่เท่ากัน โดยสามารถที่จะคำนวณได้จากการใช้กฎของโอห์ม ลักษณะคุณสมบัติของวงจรอนุกรม 1. ในวงจรหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของวงจรอนุกรมจะมีกระแสไหลผ่านในทิศทางเดียวเท่านั้น 2. แรงดันตกคร่อมที่ความต้านทานแต่ละตัวในวงจรเมื่อนำมาร่วมกันจะมีค่าเท่ากับแรงดันที่จ่ายให้กับวงจร 3. ค่าความต้านทานย่อยแต่ละตัวในวงจร เมื่อนำมารวมกันก็จะมีค่าเท่ากับค่าความต้านทานรวมกันทั้งหมดในวงจร 4. กำลังและพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ความต้านทานย่อยแต่ละตัวในวงจร เมื่อนำมารวมกันก็จะมีค่าเท่ากำลังและพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดในวงจร
  • 37. กระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน กระแสไฟฟ้าภายในวงจรขนานจะมีหลายค่าด้วยกัน ทั้งนี้เนื่องจากทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ามีมากกว่า 1 ทิศทาง ดังนั้น การคำนวณหาค่ากระแสไฟฟ้าจึงใช้กฎของ Kerchhoff,s Current Law โดยมีวิธีการคำนวณสองวิธีคือ 1. กระแสไฟฟ้ารวมภายในวงจร ( IT ) จะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลแยกในแต่ละทิศทาง ( I1 + I2 + I3 + I4+…..) 2. กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าสู่จุดๆ หนึ่งจะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดๆ นั้นเสมอ ลักษณะคุณสมบัติของวงจรขนาน 1. แรงดันที่ตกคร่อมที่อิลิเมนท์ หรือที่ความต้านทานทุกตัวของวงจรจะมีค่าเท่ากันเพราะว่าเป็นแรงดันตัวเดียวกันในจุดเดียวกัน 2. กระแสที่ไหลในแต่ละสาขาย่อยของวงจร เมื่อนำมารวมกันจะมีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลผ่านวงจรทั้งหมดหรือกระแสรวมของวงจร 3. ค่าความนำไฟฟ้าในแต่ละสาขาย่อยของวงจร เมื่อนำมารวมกันจะมีค่าเท่ากับค่าความนำไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร 4. กำลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่อิลิเมนท์หรือค่าความต้านทานในแต่ละสาขาในวงจร เมื่อนำมาร่วมกันก็จะมีค่าเท่ากับกำลังและพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร
  • 38.
  • 39. ^Bullock,Theodore H. (2005),Electroreception, Springer, หน้า 5-7,ISBN 0387231927
  • 40. ^3.03.1Stewart,Joseph (2001),Intermediate Electromagnetic Theory, World Scientific, หน้า 50,ISBN 9-8102-4471-1
  • 41. ^Simpson, Brian (2003),Electrical Stimulation and the Reliefof Pain, Elsevier Health Sciences, หน้า 6-7,ISBN 0-4445-1258-6
  • 42. ^Frood, Arran (27 February2003),Riddle of 'Baghdad's batteries', BBC,http://news.bbc.co.uk/1/hi/sci/tech/2804257.stm, retrieved 2008-02-16
  • 43. ^Baigrie, Brian (2006),Electricity and Magnetism: A HistoricalPerspective, Greenwood Press, หน้า 7-8,ISBN 0-3133-3358-0
  • 44. ^Chalmers, Gordon (1937), "The Lodestone and the Understanding ofMatter in Seventeenth Century England",Philosophy of Science4 (1): 75-95,doi:10.1086/286445
  • 45. ^Srodes, James (2002),Franklin: The Essential FoundingFather, Regnery Publishing, หน้า 92-94,ISBN 0895261634It is uncertain if Franklin personallycarried out this experiment, but it is popularly attributed to him.
  • 46. ^Uman,Martin (1987) (PDF).All About Lightning. Dover Publications.ISBN 048625237X. http://ira.usf.edu/CAM/exhibitions/1998_12_McCollum/supplemental_didactics/23.Uman1.pdf.