SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 2
กฎของโอห์มและหน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
สาระการเรียนรู้
2.1 กฎของโอห์ม
2.2 การนากฎของโอห์มไปใช้
2.3 หน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
2.4 กำลังไฟฟ้ำ
2.5 พลังงานไฟฟ้ า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ า และความ
ต้านทานไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง
2. เขียนกฎของโอห์มและนาไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง
3. บอกหน่วยวัดแรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า ความต้านทานไฟฟ้ า ได้อย่าง
ถูกต้อง
4. คานวณหาค่า กาลังไฟฟ้ า พลังงานไฟฟ้ า ได้อย่างถูกต้อง
2.1 กฎของโอห์ม
ในวงจรไฟฟ้ำใด ๆ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ แหล่งจ่ายพลังงาน
ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า และตัวต้ำนทำนหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ำที่จะใส่เข้ำไปในวงจรไฟฟ้ำ
นั้น ๆ เพรำะฉะนั้น ควำมสำคัญของวงจรที่จะต้องคำนึงถึงเมื่อมีกำรต่อวงจรไฟฟ้ำ
คือ ทำอย่ำงไรจึงจะไม่ให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนเข้ำไปในวงจรมำกเกินไปซึ่งจะทำ
ให้อุปกรณ์ไฟฟ้ำชำรุดเสียหำยหรือวงจรไหม้เสียหำยได้
ยอร์จซีมอนโอห์มนักฟิสิกส์ชำวเยอรมันให้ควำมสำคัญของวงจรไฟฟ้ำ และ
สรุปเป็นกฎออกมำดังนี้ คือ
1.ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจรนั้นจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้ า
2. ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรนั้นจะเป็นปฏิภาคโดยกลับกับความต้านทานไฟฟ้า
เมื่อรวมควำมสัมพันธ์ทั้ง 2 เข้าด้วยกัน โดยที่ค่า k เป็นค่าคงที่ของตัวนาไฟฟ้ า จะได้สูตร
ถ้ำให้ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำเท่ำเดิมต่ออยู่กับวงจรใดๆ แรงดันไฟฟ้ำที่เพิ่มขึ้นจะทำให้
กระแสไฟฟ้ำเพิ่มขึ้นตำมควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น แรงดันไฟฟ้ำ 20 โวลต์ ไฟฟ้ า
กระแสตรงต่ออยู่กับความต้านทานไฟฟ้ า 20 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านวงจร 1
แอมแปร์ ดังรูปที่ 2.1 (ก.)
แต่ถ้ำเปลี่ยนเป็นแรงดันไฟฟ้ำเป็น 40 โวลต์ กระแสไฟฟ้ าก็จะเพิ่มขึ้นตามทันที เป็น 2 แอมแปร์
ดังรูปที่ 2.1(ข.) หรือในทำนองเดียวกัน ถ้ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำเปลี่ยนแปลงไป โดยให้
แรงดันไฟฟ้ำคงที่ จะทำให้กระแสไฟฟ้ำจะเปลี่ยนตำมไปด้วย
2.2 การนากฎของโอห์มไปใช้
ต้องกำรหำกระแสไฟฟ้ำ (I) ให้ปิด I จะได้ดังรูป
ต้องกำรหำแรงดันไฟฟ้ำ (E) ให้ปิด E จะได้ ดังรูป
ต้องกำรหำค่ำควำมต้ำนทำน (R) ให้ปิด R จะได้ ดังรูป
2.3 หน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
2.3.1 แรงดันไฟฟ้ าและความต่างศักย์ไฟฟ้ า
เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสองตัวโดยมีการต่อตัวนาไฟฟ้าถึงกัน
ทั้งสองประจุทาให้ อิเล็กตรอนไหล ออกจากประจุไฟฟ้าที่เป็นลบไปสู่ประจุไฟฟ้าที่เป็นบวก การไหล
ของอิเล็กตรอนจะไหลต่อเนื่องกัน แรงที่ผลักกันให้อิเล็กตรอนไหลได้มากหรือไหลได้น้อย นั้นคือ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากความต่างศักย์ของประจุไฟฟ้า แต่เนื่องจากศักย์ของประจุไฟฟ้าแต่ละตัววัด
เป็นโวลต์ด้วย และแรงดันไฟฟ้าก็ต้องวัดเป็นโวลต์ตาม ความต่างศักย์ระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสองตัว ซึ่ง
จะทาให้เกิดมี แรงดันไฟฟ้าขึ้นได้นี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โวลต์เตจ (Voltage) ดังนั้นแรงดันที่ทาให้
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในตัวนาแล้วทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นนั้น อาจเรียกว่า –แรงเคลื่อนไฟฟ้า –
แรงดันไฟฟ้า-ความต่างศักย์ไฟฟ้า
2.3.1.1 หน่วยของแรงดันไฟฟ้ า
แรงดันไฟฟ้าเขียนแทนได้ด้วย E มีหน่วยเป็นโวลต์(Volt)ใช้ตัวย่อว่าV คือความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น 1 โวลต์ ระหว่างสองจุด เกิดขึ้นจากงานที่ใช้ไป 1 จูล (Joule)
เพื่อทาให้ปริมาณไฟฟ้าเคลื่อนที่ไประหว่างจุดทั้งสองได้ 1 คูลอมป์ หรือ แรงเคลื่อน
1 โวลต์ หมายถึง แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ทาให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ไหลผ่านความ
ต้านทาน 1 โอห์ม
2.3.1.2 การแปลงหน่วย ของโวลต์ เปลี่ยนจากหน่วยที่เล็กกว่า และใหญ่กว่าโวลต์
ตัวอย่างที่ 2.1 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้ า ขนาด 0.125 โวลต์(V) เป็น มิลลิโวลต์(mV)
วิธีทา จาก 1 V = 1,000 mV
0.125 V = 1,000 ×0.125 mV
= 125 mV
ตอบ แรงดันไฟฟ้ำ ขนำด 0.125 โวลต์ เท่ากับ 125 มิลลิโวลต์
ตัวอย่างที่ 2.2 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้ า ขนาด 1,200 โวลต์(V) เป็น กิโลโวลต์(KV)
ตัวอย่างที่ 2.3 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้า ขนาด 10 เมกะโวลต์(MV) เป็น โวลต์(V)
2.3.2 กระแสไฟฟ้ า
กำรนำเอำตัวนำไฟฟ้ำมำต่อระหว่ำงขั้วบวก และ ขั้วลบ ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ำ
กระแสตรง (DC) จะพบว่า อิเล็กตรอนที่อยู่ทางขั้วลบจะวิ่งผ่านตัวนาเข้าหาโปรตอนทาง
ขั้วบวกทันที การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้เรียกว่า กระแสอิเล็กตรอน (Electron Current)
และในทางตรงข้ามจะเกิด กระแสของประจุบวกไหลสวนกลับกระแสอิเล็กตรอน อีกด้วย
ซึ่งเรียกกระแสนี้ว่า กระแสสมมุติ หรือ กระแสนิยม ( Conventional Current) หรือเรียกอีก
อย่างหนึ่ง ว่า กระแสไฟฟ้ า (Electric Current)
2.3.2.1 หน่วยของกระแสไฟฟ้ า
ตัวอย่างที่ 2.4 จงเปลี่ยนหน่วยกระแสไฟฟ้ า ขนาด 5,000 µA เป็น กระแสไฟฟ้ าขนาด mA
ตัวอย่างที่ 2.5 จงเปลี่ยนหน่วยกระแสไฟฟ้ า ขนาด 12 A เป็น กระแสไฟฟ้ าขนาด mA
2.3.3 ความต้านทานไฟฟ้ า
ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ หมำยถึง กำรต้ำนทำนกำรไหลของกระแสไฟฟ้ำ ซึ่งมีหน่วยวัด
เป็นโอห์มใช้สัญลักษณ์ Ω ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ 1 โอห์ม คือ ความต้านทานต่อ
กระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ที่ไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ า แล้วทาให้เกิดกาลังไฟฟ้ า 1 วัตต์
2.3.3.1 หน่วยวัดความต้านทานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าและเล็กกว่า โอห์มได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.6 จงเปลี่ยนหน่วยความต้านทานไฟฟ้า ขนาด 500 Ω เป็น ต้านทานไฟฟ้า ขนาด kΩ
ตัวอย่างที่ 2.7 จงเปลี่ยนหน่วยความต้านทานไฟฟ้า ขนาด 1.2 MΩ เป็น ต้านทานไฟฟ้า ขนาด Ω
2.4 กาลังไฟฟ้ า (Electrical Power)
กาลังไฟฟ้า คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรือ อัตราของการ
ทางานจากลักษณะหนึ่งไปสู่อีกลักษณะหนึ่ง โดยกาลังไฟฟ้าเขียนแทนด้วย
P และมีหน่วยเป็น Watt (W)
กาลังไฟฟ้า คือ ผลคูณของแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า
2.4.1 สูตรการหาค่ากาลังไฟฟ้ า
จำกสูตรกำลังไฟฟ้ำเรำสำมำรถหำค่ำได้E และ I ได้อีก
จำกสมกำรทั้งหมด สำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ของสูตรต่ำง ๆ ในรูปของวงกลมได้ดังนี้
2.4.2 การแปลงหน่วยของกาลังไฟฟ้ า
1,000 วัตต์ (W) = 1 กิโลวัตต์ (kW)
1,000 กิโลวัตต์ (kW) = 1 เมกะวัตต์ (MW)
1 กาลังม้า (Hp) = 746 วัตต์ (W)
ตัวอย่างที่ 2.8 จากวงจรรูปที่ 4.4 ต้องการทราบว่ากาลังไฟฟ้าเกิดขึ้นกับตัวต้านทานมีค่าเท่าไร
ตัวอย่างที่ 2.9 จากรูปที่ 4.5 เมื่อแรงดันไฟฟ้า 50 V ต่อเข้ากับตัวต้านทาน 1 kΩ จงหาค่า
กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นกับตัวต้านทานมีค่าเท่าไร
2.5 พลังงานไฟฟ้ า (Electrical Energy)
พลังงำนไฟฟ้ำ หมำยถึง กำลังไฟฟ้ำที่ถูกนำไปใช้ในระยะเวลำหนึ่ง ซึ่ง คือผลคูณ
ของกำลังไฟฟ้ำ เป็น วัตต์ กับเวลำที่ใช้งำน เป็น วินำที เขียนแทนด้วย W
2.5.1 สูตรและการคานวณหาค่าพลังงานไฟฟ้ า
2.5.2 หน่วยของพลังงานไฟฟ้ า
หน่วยของพลังงานไฟฟ้า อาจใช้เป็นวัตต์– วินาที หรือ กิโลวัตต์ – ชั่วโมง
แต่หน่วยของพลังงานไฟฟ้า จะนิยมใช้ยูนิต (Unit) ซึ่งใช้ในการคิดค่าไฟฟ้านั่นเอง
ตัวอย่างที่ 2.10 มอเตอร์ปั้มน้ำตัวหนึ่งใช้แรงดันไฟฟ้ำ220 V มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 3 A
จงคานวณหา
ก.มอเตอร์ปั้มน้ำตัวนี้ใช้กำลังไฟฟ้ำเท่ำไร
ข.มอเตอร์ปั้มน้ำตัวนี้มีขนำดกี่แรงม้ำ
ค.ในหนึ่งวันใช้มอเตอร์ปั้มน้ำเป็นเวลำนำน 3 ชั่วโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร
ง.ถ้าค่าไฟฟ้ ายูนิตละ 4 บาท จะเสียค่าไฟฟ้ าเท่าไร
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2

More Related Content

What's hot

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมAekkarin Inta
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
ssuser920267
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์Theyok Tanya
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้าใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
kere2010
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
Nona Khet
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
podjarin
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
Ning Thanyaphon
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
Wichai Likitponrak
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็มการใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้าใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 

Viewers also liked

R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.
Renzo Luján
 
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and LibrariesLinking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
brandicopher
 
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenEstimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenadwiono
 
Autumn's tech tool
Autumn's tech toolAutumn's tech tool
Autumn's tech tool
peace1111
 
Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9
Arsela Eko Listiono
 
Mof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.EMof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.E
Renzo Luján
 
Factors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usageFactors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usage
zaa92
 
Lessonobservationformnbs
LessonobservationformnbsLessonobservationformnbs
Lessonobservationformnbs
ammyza
 
Come fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketingCome fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketing
PantaRhei AmC - Agenzia Inbound Marketing
 
Mukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawMukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawrandy_rasputra
 
Recipe project cupcakes autumn
Recipe project cupcakes   autumnRecipe project cupcakes   autumn
Recipe project cupcakes autumn
peace1111
 
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwaEkonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Dawid Sokolowski
 
Prepositions
PrepositionsPrepositions
Prepositions
Abeer Ghulam
 
Idioms
IdiomsIdioms
Idioms
Abeer Ghulam
 

Viewers also liked (15)

R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.
 
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and LibrariesLinking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
 
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenEstimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
 
Autumn's tech tool
Autumn's tech toolAutumn's tech tool
Autumn's tech tool
 
Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9
 
Mof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.EMof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.E
 
Factors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usageFactors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usage
 
Lessonobservationformnbs
LessonobservationformnbsLessonobservationformnbs
Lessonobservationformnbs
 
Come fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketingCome fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketing
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Mukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawMukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah saw
 
Recipe project cupcakes autumn
Recipe project cupcakes   autumnRecipe project cupcakes   autumn
Recipe project cupcakes autumn
 
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwaEkonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
 
Prepositions
PrepositionsPrepositions
Prepositions
 
Idioms
IdiomsIdioms
Idioms
 

Similar to สื่อหน่วยที่2

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
tearchersittikon
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Napasorn Juiin
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 

Similar to สื่อหน่วยที่2 (20)

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 

สื่อหน่วยที่2