SlideShare a Scribd company logo
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ พฤติกรรมของผู้นำ เป็นพฤติกรรมเฉพาะบุคคลที่มีตำแหน่ง หน้าที่เป็นตัวกำหนดบทบาท และจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลอื่น ๆ เพราะ  มีอำนาจในการชักจูงให้ผู้อื่นทำตาม ผู้นำ คือ บุคคลที่มีตำแหน่งพิเศษเหนือกว่าสมาชิกคนอื่น ซึ่งจะมีอำนาจ มีอิทธิพล มีความรู้ ความสามารถพิเศษอื่นๆ ที่ทำให้ได้รับการยกย่อง และจูงใจคนอื่นได้
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ เหตุผลสำคัญในการศึกษาผู้นำ 	๑. ในองค์การและกลุ่มต่าง ๆ ต้องมีผู้นำทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา เพื่อสั่งการไปตามแผนงานขององค์การ ทำให้องค์การบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนด 	๒. ผู้นำเป็นพื้นฐานสำคัญของการทำงาน แต่สร้างได้ยากที่สุด เพราะทุกคนไม่สามารถเป็นผู้นำได้ทั้งหมด ด้วยผู้นำต้องมีคุณสมบัติพิเศษ มีพฤติกรรมแฝงเฉพาะตัว
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ 	๓. บุคลิกภาพของผู้นำ เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ และประสบการณ์ 	๔. องค์การและกลุ่มที่มีผู้นำไม่มีประสิทธิภาพ จะทำให้ประสบความล้มเหลวในการดำเนินการ ซึ่งสังเกตุได้จากประสิทธิผลของผลผลิต
ความหมายของภาวะผู้นำ Leadership คือกระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือมากกว่า พยายามใช้อิทธิพลของตนหรือกลุ่มตน กระตุ้น ชี้นำ ผลักดัน ให้บุคคลอื่น หรือกลุ่ม บุคคลอื่น มีความเต็มใจ และกระตือรือร้นในการทำสิ่งต่าง ๆ ตามต้องการ โดยมีความสำเร็จของกลุ่ม หรือองค์การเป็นเป้าหมาย ภาวะผู้นำจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับประสบการณ์และการฝึกฝนของแต่ละบุคคล
ประเภทที่ ๑ ผู้นำแบบเผด็จการ ประเภทที่ ๒ ผู้นำแบบประชาธิปไตย ประเภทที่ ๓ ผู้นำาทีไร้ทิศทาง  ลักษณะผู้นำ ๓ แบบ ในบุคคลหนึงอาจมีคุณสมบัติรวมทั้ง ๓ ลักษณะได้ ประเภทของผู้นำ
อำนาจของผู้นำ ๑) อำนาจตามกฎหมาย (Legitimate power) ๒) อำนาจในการให้รางวัล (Reward power) ๓) อำนาจในการบังคับ (Coercive power) ๔) อำนาจความเป็นผู้เชี่ยวชาญ (Expert power) ๕) อำนาจจากความเลื่อมใสศรัทธาของผู้อื่น (Referent power)
ประสิทธิภาพของผู้นำ ๑. ผลที่เกิดขึ้นของกลุ่ม (Outcome) เนื่องจากการนำ หรือ ภายใต้การนำของผู้นำ เช่นผลสำเร็จของการปฏิบัติงาน ๒. ทัศนคติของผู้ตาม (Attitude of Follower)ดูได้จากการมี คำร้องทุกข์การขอย้าย การขาดงาน การหยุดงาน ๓. คุณภาพของกระบวนการกลุ่ม (Quality of Group  Process)ประเมินจากความสนับสนุนด้านต่าง ๆ เช่น  ความสามัคคี ความร่วมมือ แรงจูงใจ การแก้ปัญหา การ ตัดสินใจ
ภาวะผู้ตาม(Followership) คุณลักษณะพฤติกรรมของผู้ตาม ๑. ผู้ตามแบบห่างเหิน เป็นคนเฉื่อยชา มีความเป็นอิสระ  แต่ มีความคิดสร้างสรรค์สูง ส่วนมากจะเป็นผู้ตามที่มีประสิทธิพล มีประสบการณ์การทำงาน และผ่านอุปสรรคมาก่อน ๒. ผู้ตามแบบปรับตาม เรียกว่า ผู้ตามแบบครับผม มีความ กระตือรือร้นในการทำงาน แต่ขาดความคิดสร้างสรรค์ ๓. ผู้ตามแบบเอาตัวรอด จะเลือกใช้ลักษณะผู้ตามแบบใด ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่จะเอื้อประโยชน์กับตัวเองให้มากที่สุด
ภาวะผู้ตาม(Followership) ๔. ผู้ตามแบบเฉื่อยชา ผู้ตามแบบนี้ชอบพึ่งพาผู้อื่น ขาด ความอิสระ ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๕. ผู้ตามแบบมีประสิทธิผล ผู้ตามแบบนี้เป็นผู้ที่ทีความ ตั้งใจในการปฏิบัติงานสูงมีความสามารถในการบริหาร จัดการงานได้ด้วยตนเอง
ลักษณะผู้ตามที่มีประสิทธิผล มีความสามรถในการบริหารจัดการตนเองได้ดี      มีความผูกพันธ์ต่อองค์การต่อวัตถุประสงค์  ทำงานเต็มศักยภาพ  และสุดความสามารถ  มีความกล้าหาญ  ซื่อสัตย์  และน่าเชื่อถือ
การรวมกลุ่มของมนุษย์ ความเชื่อและทัศนคติ ส่งผลเป็นพฤติกรรมของบุคคล หากมีสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวกับความเชื่อและทัศนคติของบุคคล บุคคลจะมีพฤติกรรมออกมาสอดคล้องกัน  ทัศนคติ เกิดจากการเรียนรู้ และมีความสำคัญต่อการตอบสนองทางสังคมของบุคคล หมายถึง บุคคลมีพฤติกรรมอย่างใด หรือทำสิ่งใด ทัศนคติจะเป็นเครื่องกำหนดให้เกิดทิศทางของการแสดงออกพฤติกรรม
การรวมกลุ่มของมนุษย์ องค์ประกอบสำคัญ ๓ ประการ ๑. Cognition Component  เกี่ยวกับความรู้ ความเชื่อ ต่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เชื่อว่ากิจกรรมนี้ดี ก็จะมีทัศนคติที่ดี ๒. Feeling Component เกี่ยวกับความรู้สึกของบุคคล มี อารมณ์มา เกี่ยวข้อง เช่น รู้สึกชอบกิจกรรมนี้ ก็จะมี ทัศนคติที่ดีต่อความร่วมมือ ๓. Action Tendency Component คือ ความโน้มเอียงที่จะแสดงพฤติกรรมตามองค์ประกอบข้างต้น เช่น ร่วมมือ
การรวมกลุ่มของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑. การชักชวน Persuasion  การปรับทัศนคติโดยการได้รับ การอธิบายแนะนำ บอกเล่าหรือให้ได้รับความรู้เพิ่มเติม ๒. การเปลี่ยนกลุ่ม Group Change กลุ่มมีอิทธิพลต่อ ทัศนคติ เช่น ขี้เกียจเรียนเพราะอยู่กับกลุ่มขี้เกียจเรียน ๓. การโฆษณา Propaganda คือ การชวนเชื่อให้บุคคลได้รับ รู้และเปลี่ยนทัสนคติ โดยการสร้างสิ่งแปลกใหม่
การรวมกลุ่มของมนุษย์ อุปสรรคต่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑. การเลือกรับรู้ Selective Perception บุคคลจะเลือกรับรู้ ในสิ่งที่ตนต้องการเท่านั้น ๒. การหลีกเลี่ยง Avoidance บุคคลจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ตนคิด ว่าจะทำให้ตนลำบาก เกิดความทุกข์ ๓. การสนับสนุนของกลุ่ม Group Support การที่อยู่ในกลุ่ม ใดๆ แล้วได้รับการยอมรับ จะไม่อยากเปลี่ยนกลุ่มใหม่
การรวมกลุ่มของมนุษย์ สรุป    เมื่อบุคคลต้องอาศัยอยู่ในสังคม ต้องเรียนรู้กระบวนการ ทางสังคม เพื่อให้กระทำพฤติกรรมได้สอดคล้องกับบรรทัด ฐานทางสังคมและเป็นที่ยอมรับของสังคม   สังคมมีการเปลี่ยนแปลงและคาดหวังให้บุคคล มีพฤติกรรม  ทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของสังคม      บุคคลจะพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ต้องผ่านการฝึกหัดเป็น สมาชิกที่สังคมยอมรับในแต่ละกลุ่มสังคม

More Related Content

What's hot

ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
Jack Hades Sense
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
Proud N. Boonrak
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
Hling Jung
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
athapol anunthavorasakul
 
Leadership 02เปลี่ยนแปลง
Leadership 02เปลี่ยนแปลงLeadership 02เปลี่ยนแปลง
Leadership 02เปลี่ยนแปลงpannika
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
CUPress
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
Prathum Charoenroop
 
10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template
ทวิพันธ์ พัวสรรเสริญ
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 

What's hot (20)

ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
Leadership 02เปลี่ยนแปลง
Leadership 02เปลี่ยนแปลงLeadership 02เปลี่ยนแปลง
Leadership 02เปลี่ยนแปลง
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 

More from Tuk Diving

บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
Tuk Diving
 
Que sera sera
Que sera seraQue sera sera
Que sera sera
Tuk Diving
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)Tuk Diving
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
Tuk Diving
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 

More from Tuk Diving (9)

บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
 
C
CC
C
 
Que sera sera
Que sera seraQue sera sera
Que sera sera
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (8)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 

ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ

  • 1. ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ พฤติกรรมของผู้นำ เป็นพฤติกรรมเฉพาะบุคคลที่มีตำแหน่ง หน้าที่เป็นตัวกำหนดบทบาท และจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลอื่น ๆ เพราะ มีอำนาจในการชักจูงให้ผู้อื่นทำตาม ผู้นำ คือ บุคคลที่มีตำแหน่งพิเศษเหนือกว่าสมาชิกคนอื่น ซึ่งจะมีอำนาจ มีอิทธิพล มีความรู้ ความสามารถพิเศษอื่นๆ ที่ทำให้ได้รับการยกย่อง และจูงใจคนอื่นได้
  • 2. ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ เหตุผลสำคัญในการศึกษาผู้นำ ๑. ในองค์การและกลุ่มต่าง ๆ ต้องมีผู้นำทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา เพื่อสั่งการไปตามแผนงานขององค์การ ทำให้องค์การบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนด ๒. ผู้นำเป็นพื้นฐานสำคัญของการทำงาน แต่สร้างได้ยากที่สุด เพราะทุกคนไม่สามารถเป็นผู้นำได้ทั้งหมด ด้วยผู้นำต้องมีคุณสมบัติพิเศษ มีพฤติกรรมแฝงเฉพาะตัว
  • 3. ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ ๓. บุคลิกภาพของผู้นำ เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ และประสบการณ์ ๔. องค์การและกลุ่มที่มีผู้นำไม่มีประสิทธิภาพ จะทำให้ประสบความล้มเหลวในการดำเนินการ ซึ่งสังเกตุได้จากประสิทธิผลของผลผลิต
  • 4. ความหมายของภาวะผู้นำ Leadership คือกระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือมากกว่า พยายามใช้อิทธิพลของตนหรือกลุ่มตน กระตุ้น ชี้นำ ผลักดัน ให้บุคคลอื่น หรือกลุ่ม บุคคลอื่น มีความเต็มใจ และกระตือรือร้นในการทำสิ่งต่าง ๆ ตามต้องการ โดยมีความสำเร็จของกลุ่ม หรือองค์การเป็นเป้าหมาย ภาวะผู้นำจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับประสบการณ์และการฝึกฝนของแต่ละบุคคล
  • 5. ประเภทที่ ๑ ผู้นำแบบเผด็จการ ประเภทที่ ๒ ผู้นำแบบประชาธิปไตย ประเภทที่ ๓ ผู้นำาทีไร้ทิศทาง ลักษณะผู้นำ ๓ แบบ ในบุคคลหนึงอาจมีคุณสมบัติรวมทั้ง ๓ ลักษณะได้ ประเภทของผู้นำ
  • 6. อำนาจของผู้นำ ๑) อำนาจตามกฎหมาย (Legitimate power) ๒) อำนาจในการให้รางวัล (Reward power) ๓) อำนาจในการบังคับ (Coercive power) ๔) อำนาจความเป็นผู้เชี่ยวชาญ (Expert power) ๕) อำนาจจากความเลื่อมใสศรัทธาของผู้อื่น (Referent power)
  • 7. ประสิทธิภาพของผู้นำ ๑. ผลที่เกิดขึ้นของกลุ่ม (Outcome) เนื่องจากการนำ หรือ ภายใต้การนำของผู้นำ เช่นผลสำเร็จของการปฏิบัติงาน ๒. ทัศนคติของผู้ตาม (Attitude of Follower)ดูได้จากการมี คำร้องทุกข์การขอย้าย การขาดงาน การหยุดงาน ๓. คุณภาพของกระบวนการกลุ่ม (Quality of Group Process)ประเมินจากความสนับสนุนด้านต่าง ๆ เช่น ความสามัคคี ความร่วมมือ แรงจูงใจ การแก้ปัญหา การ ตัดสินใจ
  • 8. ภาวะผู้ตาม(Followership) คุณลักษณะพฤติกรรมของผู้ตาม ๑. ผู้ตามแบบห่างเหิน เป็นคนเฉื่อยชา มีความเป็นอิสระ  แต่ มีความคิดสร้างสรรค์สูง ส่วนมากจะเป็นผู้ตามที่มีประสิทธิพล มีประสบการณ์การทำงาน และผ่านอุปสรรคมาก่อน ๒. ผู้ตามแบบปรับตาม เรียกว่า ผู้ตามแบบครับผม มีความ กระตือรือร้นในการทำงาน แต่ขาดความคิดสร้างสรรค์ ๓. ผู้ตามแบบเอาตัวรอด จะเลือกใช้ลักษณะผู้ตามแบบใด ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่จะเอื้อประโยชน์กับตัวเองให้มากที่สุด
  • 9. ภาวะผู้ตาม(Followership) ๔. ผู้ตามแบบเฉื่อยชา ผู้ตามแบบนี้ชอบพึ่งพาผู้อื่น ขาด ความอิสระ ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๕. ผู้ตามแบบมีประสิทธิผล ผู้ตามแบบนี้เป็นผู้ที่ทีความ ตั้งใจในการปฏิบัติงานสูงมีความสามารถในการบริหาร จัดการงานได้ด้วยตนเอง
  • 10. ลักษณะผู้ตามที่มีประสิทธิผล มีความสามรถในการบริหารจัดการตนเองได้ดี      มีความผูกพันธ์ต่อองค์การต่อวัตถุประสงค์ ทำงานเต็มศักยภาพ  และสุดความสามารถ มีความกล้าหาญ  ซื่อสัตย์  และน่าเชื่อถือ
  • 11. การรวมกลุ่มของมนุษย์ ความเชื่อและทัศนคติ ส่งผลเป็นพฤติกรรมของบุคคล หากมีสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวกับความเชื่อและทัศนคติของบุคคล บุคคลจะมีพฤติกรรมออกมาสอดคล้องกัน ทัศนคติ เกิดจากการเรียนรู้ และมีความสำคัญต่อการตอบสนองทางสังคมของบุคคล หมายถึง บุคคลมีพฤติกรรมอย่างใด หรือทำสิ่งใด ทัศนคติจะเป็นเครื่องกำหนดให้เกิดทิศทางของการแสดงออกพฤติกรรม
  • 12. การรวมกลุ่มของมนุษย์ องค์ประกอบสำคัญ ๓ ประการ ๑. Cognition Component เกี่ยวกับความรู้ ความเชื่อ ต่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เชื่อว่ากิจกรรมนี้ดี ก็จะมีทัศนคติที่ดี ๒. Feeling Component เกี่ยวกับความรู้สึกของบุคคล มี อารมณ์มา เกี่ยวข้อง เช่น รู้สึกชอบกิจกรรมนี้ ก็จะมี ทัศนคติที่ดีต่อความร่วมมือ ๓. Action Tendency Component คือ ความโน้มเอียงที่จะแสดงพฤติกรรมตามองค์ประกอบข้างต้น เช่น ร่วมมือ
  • 13. การรวมกลุ่มของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑. การชักชวน Persuasion การปรับทัศนคติโดยการได้รับ การอธิบายแนะนำ บอกเล่าหรือให้ได้รับความรู้เพิ่มเติม ๒. การเปลี่ยนกลุ่ม Group Change กลุ่มมีอิทธิพลต่อ ทัศนคติ เช่น ขี้เกียจเรียนเพราะอยู่กับกลุ่มขี้เกียจเรียน ๓. การโฆษณา Propaganda คือ การชวนเชื่อให้บุคคลได้รับ รู้และเปลี่ยนทัสนคติ โดยการสร้างสิ่งแปลกใหม่
  • 14. การรวมกลุ่มของมนุษย์ อุปสรรคต่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑. การเลือกรับรู้ Selective Perception บุคคลจะเลือกรับรู้ ในสิ่งที่ตนต้องการเท่านั้น ๒. การหลีกเลี่ยง Avoidance บุคคลจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ตนคิด ว่าจะทำให้ตนลำบาก เกิดความทุกข์ ๓. การสนับสนุนของกลุ่ม Group Support การที่อยู่ในกลุ่ม ใดๆ แล้วได้รับการยอมรับ จะไม่อยากเปลี่ยนกลุ่มใหม่
  • 15. การรวมกลุ่มของมนุษย์ สรุป เมื่อบุคคลต้องอาศัยอยู่ในสังคม ต้องเรียนรู้กระบวนการ ทางสังคม เพื่อให้กระทำพฤติกรรมได้สอดคล้องกับบรรทัด ฐานทางสังคมและเป็นที่ยอมรับของสังคม สังคมมีการเปลี่ยนแปลงและคาดหวังให้บุคคล มีพฤติกรรม ทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของสังคม บุคคลจะพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ต้องผ่านการฝึกหัดเป็น สมาชิกที่สังคมยอมรับในแต่ละกลุ่มสังคม