SlideShare a Scribd company logo
- 1 -
ส่วนที่ 1
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คานา
ฝั่งอันดามันของประเทศไทย มีพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งเขตห้ามล่าสัตว์ป่า
พื้นที่สงวนชีวมณฑล และพื้นที่ชุ่มน้าที่มีกฎหมายใช้บังคับแตกต่างกัน ซึ่งก็สามารถที่จะนามาจัดเป็นระบบ
พื้นที่คุ้มครองให้มีประโยชน์ร่วมกันได้ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ผลผลิตจากทรัพยากรทางทะเลและ
การบริการของระบบนิเวศหลายๆ อย่าง จากการปฏิบัติงานในพื้นที่สามารถที่จะวิเคราะห์ถึงภัยคุกคามและ
โอกาสในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การสนับสนุนเงินงบประมาณ และการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ลักษณะภูมิประเทศของทะเลฝั่งอันดามัน
พื้นที่คุ้มครองต่างๆ ในพื้นที่ฝั่งอันดามันมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ประกอบด้วยป่า
ชายเลน หญ้าทะเล แหล่งปะการัง เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่
ชายฝั่งจะมีแม่น้าสายสั้นจากเทือกเขาตะนาวศรีไหลลงสู่ทะเล ทาให้เกิดมลพิษทางน้าหลายแห่งและมี
ผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในทะเล ทาให้ชนิดพันธุ์เหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น อาจจะลด
จานวนลงหรือย้ายไปอาศัยอยู่ที่อื่น
มีชนิดพันธุ์หลายชนิดรวมทั้งปะการัง ป่าชายเลน หญ้าทะเล พื้นท้องทะเล ทาให้ชนิดพันธุ์
อาศัยอยู่ลาบากขึ้นจึงได้มีการอพยพย้ายออกจากพื้นที่ดังกล่าว จึงได้มีหน่วยงานนานาชาติเข้ามาสนับสนุน
ระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
มีโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหลายๆ โครงการที่ดาเนินการร่วมกับ
นานาชาติ หรือระหว่างประเทศ เช่น เมียนมาร์ มาเลเซีย อินเดีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย และมัลดีฟร์
ในการอนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลร่วมกัน หน่วยงานที่สนับสนุนประกอบด้วย Novad, the World Bank, FAO,
GEF, NOAA และ SIDA ในโครงการยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรทางทะเล การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
การสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์อ่าวเบงกอล การป้องกันการเกิดมลพิษทางทะเล เป็นการดาเนินงานที่
ร่วมมือกันระหว่างประเทศ
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ในมาตรา 8 ได้กาหนดให้ประเทศภาคี
สมาชิกดาเนินการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ทั้งทางบกและทางทะเล ได้กาหนด
วิธีการอนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลที่เรียกว่า Ecologicallyand Biologically Sensitive Areas: EBSAs ซึ่งมี
หลักเกณฑ์ในการพิจารณา คือ
- 2 -
 เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะ มีชนิดพันธุ์หรือถิ่นที่อาศัยเฉพาะถิ่น หรือหาได้ยาก
 มีบทบาทในการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ และอาศัยอยู่อย่างปลอดภัย
 เป็นพื้นที่ที่สาคัญในการฟื้นฟูชนิดพันธุ์
 มีคุณค่าและเสี่ยงต่อการถูกทาลาย
 มีผลผลิตทางชีวภาพสูง และ
 มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง
จากข้อเสนอของโครงการ EBSA กาหนดให้วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่มีผลกระทบต่อ
พื้นที่ การประเมินผลกระทบและกาหนดลาดับความสาคัญที่จะต้องพิจารณาแก้ไขปรับปรุง
นอกจากนี้ในการประชุมของภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อ
ปี 2010 กาหนดให้ช่วงปี 2011-2020 เรียกว่า Aichi Targets ได้มีข้อเสนอในการดาเนินงาน:
 ให้มีการจัดการทรัพยากรทางทะเลโดยเฉพาะปลา และพืชในทะเล และมีการใช้
ประโยชน์มิให้ลดจานวนลง และให้หลีกเลี่ยงการจับปลาเกินปริมาณให้ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้ง
ผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก
 พื้นที่ที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ต้องจัดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
 กาหนดให้มีการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่น หรือชนิดพันธุ์ที่รุกราน โดยการห้ามนาเข้าไป
ยังพื้นที่
 งดเว้นจากการทาลายทรัพยากรปะการัง อันอาจจะเกิดจากมลพิษทางทะเล หรือการ
เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
 กาหนดให้มีการสงวนพื้นที่ โดยเฉพาะมีคุณค่าทางความหลากหลายทางชีวภาพ และ
การบริการของระบบนิเวศ และที่เชื่อมต่อกับระบบนิเวศอื่นอย่างบูรณาการ
 ชนิดพันธุ์ที่คุกคาม หรือลดจานวนลงจะต้องมีแผนการป้ องกัน และดาเนินการมิให้ลด
จานวนลง
 ให้การสนับสนุนทางการเงินงบประมาณให้เพียงพอ และขอการสนับสนุนจากแหล่งทุน
สนับสนุนที่เกี่ยวข้องได้
ความสาคัญของการขอรับการสนับสนุนจากนานาชาติในระยะยาว จะเกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ระดับของน้าทะเลยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากภูเขาน้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย
รวมทั้งการกระทาของมนุษย์ที่มีผลกระทบทาให้น้าทะเลเกิดมีกรดเพิ่มขึ้น จะทาให้เกิดผลกระทบกับปะการัง
ปลา และสิ่งมีชีวิตทางทะเล การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศจึงต้องได้รับการแก้ไขภายใต้อนุสัญญา
UNFCCC ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันดูแลรักษาพื้นที่ป่า เพื่อให้ป่าไม้เก็บกักคาร์บอนและป้ องกันสังคม
สิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝั่งทะเล
- 3 -
แนวทางที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์
มนุษย์เราเป็นสัตว์ผู้ล่าที่สาคัญจาการใช้ชนิดพันธุ์ทางทะเล และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์ อุปกรณ์ และวิธีการที่ใช้แตกต่างกัน และพัฒนาให้ทันสมัยมากขึ้น ที่ขึ้นอยู่
กับนวัตกรรม ประเพณี วัฒนธรรม และการตลาด ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจะไม่สามารถคาดการณ์ได้
สาหรับการเลี่ยนแปลงวิถีการดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นเป็นหลักการที่จะทาเป็นแนวคิด
ในการ เปลี่ยนอาชีพที่มีรายได้จากการประมงเป็นรายได้จากการท่องเที่ยว จะดาเนินการได้อย่างไร
นวัตกรรมทางการจัดการ
ถิ่นที่อาศัยทางทะเลจะถูกหยิบยกมาพิจารณาว่า การจัดการขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่แตกต่าง
กันของหน่วยงานรับผิดชอบท้องทะเลลึก อาจจะได้รับการป้องกันจากกรมประมง การใช้เครื่องมือประมงน้า
ลึกทาให้เกิดการทาลายปะการัง การจัดการจึงต้องกาหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์การจัดการร่วมกันระหว่าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและให้สัมพันธ์กับระบบนิเวศ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ-สังคม ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะชุมชน หน่วยงานของรัฐบาล ทหารเรือ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ องค์การภาคเอกชน
และผู้มีอานาจการจัดการ
การกาหนดเขตการจัดการในแผนยุทธศาสตร์ เป็นสิ่งที่สาคัญในการใช้การบริการของ
ระบบนิเวศ นักวิทยาศาสตร์ทางทะเลควรจะได้พิจารณากาหนดว่า ถิ่นที่อาศัยบริเวณใดที่มีการจับปลามาก
การเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัย โดยการกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองและกาหนดเขตการใช้ประโยชน์ตาม
วัตถุประสงค์ โดยมีการกาหนดเป็นระบบการจัดการ หรือประเภทการจัดการตามรูปแบบขององค์กร IUCN
(ประเภทที่ 1-6)
ในการจัดแบ่งเป็นเขตคุ้มครองหรือประเภทของพื้นที่คุ้มครอง เพื่ออนุรักษ์สิ่งมีชีวิตทุก
ประเภทในท้องทะเล เช่น ประเภทอนุรักษ์อย่างเข้มข้น จะทาให้มีการอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการ
ดารงชีวิตของปลาท้องถิ่นเดิมหรือชนิดที่มีการอพยพย้ายถิ่น ระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเลอาจจะกาหนดให้
เป็นแนวเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเมียนมาร์ ซึ่งก็มีตัวอย่างที่
RedReaMarinePeacePark ระหว่างประเทศอิสราเอลและจอร์แดน มีการกาหนดแผนการจัดการ การวิจัย และ
การท่องเที่ยวร่วมกัน การกาหนดเป็นเขตแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศทางทะเล จะมีการร่วมกันใช้ประโยชน์
และป้ องกัน แต่อาจจะเกิดปัญหาข้อขัดแย้งได้ โดยเฉพาะการประมงหรือการจับปลา ซึ่งจะต้องมีหน่วยงาน
เข้ามารับพิจารณาร่วมกันของกระทรวงการต่างประเทศ
การพิจารณาจัดทาแนวเชื่อมต่อทางระบบนิเวศจะต้องพิจารณาถึงปัญหา หลีกเลี่ยงการ
ทาลาย โดยใช้หลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการจัดการ บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองควร
เข้ามามีส่วนร่วมให้มาก เพื่อให้มีความสมดุลระหว่างสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวทางของ
นโยบาย การปฏิบัติ และหลักวิทยาศาสตร์ การแก้ไขปัญหาจะต้องได้รับความร่วมมือระหว่างกรมประมง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และทหารเรือ
- 4 -
การกาหนดแผนการป้ องกันและการใช้ประโยชน์ของพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
ควรจะมีระยะทางเท่าไร ควรจะได้พิจารณาถึงขนาดของพื้นที่คุ้มครอง และถิ่นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทางทะเล
มีตัวอย่างหลายๆ พื้นที่คุ้มครองทางทะเลแล้ว การกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองทางทะเล เช่น ในประเทศ
เม็กซิโกปรากฎว่าเมื่อกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองแล้วมวลชีวภาพของปลาเพิ่มขึ้นถึง463%หรือ4ตันต่อเฮกแตร์
แต่การดาเนินงานดังกล่าวจะต้องได้รับความร่วมมือจากชาวประมงเป็นอย่างดี ทาให้รายได้ของชาวประมง
เพิ่มขึ้น
นโยบายของพื้นที่คุ้มครองทางทะเล บริเวณเขตหวงห้ามจะมีระยะประมาณ 3-5 กิโลเมตร
ขึ้นอยู่กับถิ่นที่อาศัยและประสิทธิภาพของการควบคุมป้ องกัน เพื่อประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริการของ
ระบบนิเวศ ระบบการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศจะทาให้เกิดเป็นพื้นที่ที่เรียกว่า “Peace Parks” เป็นแผน
ยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล
ในกรณีที่ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ควรจะได้พิจารณาผลประโยชน์:
 สามารถรองรับผลผลิตทางทะเลและลดการทาลาย
 สามารถสนับสนุนรายได้ ที่ผ่านกระบวนการการท่องเที่ยวและการทางานในพื้นที่
คุ้มครองเพื่อแก้ปัญหาความยากจน
 เพื่อเพิ่มปริมาณปลา และความหลากหลายของชนิดพันธุ์ภายในพื้นที่คุ้มครอง
 ป้องกันพื้นที่ถิ่นที่อาศัยที่มีความอ่อนไหว ปะการัง ป่าชายเลน หญ้าทะเล
 เป็นสถานที่สาหรับชนิดพันธุ์ที่ไม่สามารถอาศัยที่อื่นได้
 ป้องกันการประมงที่ไม่มีพื้นที่เป้าหมาย
 เป็นพื้นที่ที่แสดงให้เห็นว่าองค์ประกอบของระบบนิเวศที่เป็นพื้นที่สามารถตรวจสอบ
ได้
การนาเอาหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการจัดการ
งานศึกษาวิจัยที่ต้องได้รับการดาเนินงานหลักในพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่ง
 ระดับความสาคัญของถิ่นที่อาศัยแบบต่างๆที่ตั้งอยู่ในพื้นที่
 พื้นที่คุ้มครองทางทะเลอาจจะมีขนาดเล็กสุด 4-5 ตารางกิโลเมตร
 การป้องกันถิ่นที่อาศัยจะเป็นขั้นตอนที่สาคัญต่อชนิดพันธุ์ในการดารงชีวิตตลอดทั้งปี
 การวิเคราะห์ถึงความสาคัญของพื้นที่ที่สาคัญในมหาสมุทร เป็นแหล่งรอยแยกของพื้นที่
โลก
 ใช้ความรู้ท้องถิ่นเพื่อการจัดการประมงและกาหนดรูปแบบ
 ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นกับปะการัง การประมง เครื่องมือจับปลา
 ให้โอกาสแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กาหนดรูปแบบและการจัดการระบบนิเวศ โดยเฉพาะ
การตัดสินใจ คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเข้ามามีส่วนร่วมภายใต้ข้อตกลงและกระบวนการ
- 5 -
 กาหนดขอบเขตให้ชัดเจนและกาหนดกฎข้อบังคับของพื้นที่คุ้มครองและแบ่งเขตการใช้
ประโยชน์
 การปรับยุทธศาสตร์การจัดการให้เป็นให้เป็นบทเรียนและเป็นแนวทางปฏิบัติ
 สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยผลกระทบและการมีส่วนร่วมระหว่างนักวิจัย
 การจัดการความขัดแย้ง หรือการแก้ไขความขัดแย้ง คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่
คุ้มครอง สามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาได้
เศรษฐกิจของพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
ทรัพยากรธรรมชาติแถบชายฝั่งอันดามันมีคุณค่ามาก และเป็นที่ต้องการจัดการอย่างเข้มข้น
ปัจจุบันมีการจับปลาที่ผิดกฎหมายโดยใช้ระเบิดหรือยาเบื่อ หรือการเก็บรังนกนางแอ่นกินรัง เก็บไข่เต่า เป็น
ต้นมีงบประมาณในการบริหาร การบริการนักท่องเที่ยว การป้ องกัน การลักลอบทาไม้ทาลายป่าชายเลน ซึ่ง
งานวิจัยด้านนี้มีน้อยมาก การวิเคราะห์ทางการเงินงบประมาณ การใช้งบประมาณในการจัดการและแผน
ธุรกิจ การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง การฝึกอบรมเชิงคุณภาพทางทะเล การเฝ้าระวังดูแล
ปะการัง การพัฒนาสื่อความหมาย การท่องเที่ยว การดาน้าดูปะการัง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การบริการ
ของระบบนิเวศ การจัดตั้งกองทุน PES, CTF และการติดตามผล
การท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามา
ท่องเที่ยวจานวนมาก จะต้องมีการพัฒนาให้เพิ่มเติม โดยเฉพาะความพึงพอใจในการจ่ายของนักท่องเที่ยว
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคการประมง
การทานากุ้ง การเปลี่ยนแปลงวิธีการจับปลาที่ใช้ระเบิดอย่างผิดกฎหมาย ชาวเลซึ่งอาศัยการ
จับปลาเพื่อดารงชีพโดยใช้กับดัก ส่วนใหญ่จะเป็นผู้มีฐานะยากจน ควรจะได้มีการฝึกอบรมการจับปลาให้
ถูกต้องตามวิธีการหรือถูกวิธีหรือฤดูกาล เหตุการณ์จากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ทาให้เกิดการลดลง
ของผลผลิตทางการประมง และทาลายสิ่งแวดล้อมทางทะเล กรณีการหาปลาหรือจับลาโดยอวนลาก ทาให้
เกิดปัญหากับการใช้ทรัพยากร และการทาลายแหล่งปะการัง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคเอกชน
บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันเป็นแหล่งอานวยแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ บริษัทการ
ปิโตรเลียม ได้สารวจและนามาใช้จากพื้นที่ของเมียนมาร์และได้ทาการขุดเจาะมาใช้ประโยชน์หลายๆ แห่ง
ซึ่งจะมีผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตทางทะเล
กิจกรรมของภาคเอกชนหรือรัฐบาลจากกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ควรมีกาลังและ
งบประมาณในการรับผิดชอบพื้นที่คุ้มครอง ถ้าหากเป็นไปได้ควรจะให้องค์กรภาคเอกชนดังกล่าวมีส่วน
- 6 -
สนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยการจัดตั้งเป็นกองทุนอนุรักษ์ เพื่อประโยชน์ทางสังคมและ
สิ่งแวดล้อม
ความเสี่ยงและโอกาสในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเล
และชายฝั่ง ควรจะได้พิจารณาร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พลังงานลมตามชายฝั่งเป็นพลังงานผลิต
ไฟฟ้าที่สะอาด สามารถที่จะนามาใช้ในพื้นที่คุ้มครองได้ร่วมกับฟาร์มกุ้ง หอย ปู ปลา เป็นต้น
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากชุมชนในเมือง
บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันเป็นที่ตั้งของจังหวัดต่างๆ เช่น ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง
สตูล มีการท่องเที่ยวประจาจังหวัดควรที่จะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบจะต้องมีบทบาทในการดูแลรักษา
ชายหาด การขนส่ง การค้า การกาจัดขยะ ป้ องกันการใช้ประโยชน์เกินความสามารถในการรองรับได้ของ
พื้นที่ จะต้องกาหนดไว้ในแผนการจัดการ ป้องกันมลพิษทางน้า ของเสีย และการเกิดมลพิษต่างๆ
การบริการของระบบนิเวศในพื้นที่บริเวณฝั่งทะเลอันดามัน
กรอบของระบบพื้นที่คุ้มครองจะสนับสนุนกิจกรรมของการบริการของระบบนิเวศจาก
ทะเลและชายฝั่ง การบริการแหล่งนิเวศนี้เป็นสิ่งที่ประชาชนได้รับจากระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง แบ่ง
ออกได้ 4 ประเภท กล่าวคือ ด้านการเป็นแหล่งผลิต ด้านการเกื้อหนุน ด้านการควบคุมกลไกของระบบและ
ด้านวัฒนธรรม
การบริการด้านการเป็นแหล่งผลิต
 ปลา
 สิ่งแวดล้อมที่ต้องการจับปลา
 การป้องกันชนิดพันธุ์ที่เป็นเภสัชกรรม
 ชนิดพันธุ์ที่ใช้เลี้ยงเพื่อพิพิธภัณฑ์ปลา
 ทรัพยากรที่เป็นทราย หินกรวด
 แร่ธาตุ น้ามัน แก๊ส
 พลังงานคลื่น/ลม
 ให้ที่อยู่อาศัยสาหรับชนิดพันธุ์
 ให้พลังงานจากคลื่นและน้าขึ้น-น้าลง
การบริการด้านการเกื้อหนุน
 รักษาคุณภาพของน้า
 การหมุนเวียนของแร่ธาตุ
 การป้องกันชายฝั่งจากลมพายุ
- 7 -
 ผลผลิตอินทรีย์จากการหมุนเวียนของกระบวนการ
 การอพยพเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์
การบริการด้านการควบคุมกลไกของระบบ
 ควบคุมน้าท่วม
 ป้องกันการพังทลายของดินหรือการตกตะกอน
 รักษาพื้นที่ชายฝั่ง
 รักษาความหลากหลายทางชีววิทยา
การบริการด้านวัฒนธรรม
 การพักผ่อนหย่อนใจและการท่องเที่ยว
 วัฒนธรรม ด้านจิตใจ ความสงบ
ความสาคัญของการบริการของระบบนิเวศสามารถศึกษาได้ข้อมูลจากประวัติศาสตร์ต่างๆ
ของพื้นที่ เช่น การค้าระหว่างอินเดียกับศรีลังกา ที่มีการเดินเรือขนส่งสินค้าทางเศรษฐกิจ การรับวัฒนธรรม
ทางศาสนา เมื่อ 2000 ปีก่อน แหล่งการค้าต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน กรอบของการกาหนดยุทธศาสตร์การ
จัดการควรจะมีการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพสังคมและเศรษฐกิจ
การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
ความสาคัญของงานศึกษาวิจัยประกอบด้วย
 ข้อมูลพื้นฐานในปัจจุบันด้านถิ่นที่อาศัยและความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล
โดยเฉพาะข้อมูลที่ยังไม่ทราบรายละเอียด
 ติดตามผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการ
 เทคนิคและเป้าหมายการฟื้นฟู
 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
 ผลจากการกาหนดเขตจากปลา
 การจัดการป่าชายเลน
 เศรษฐกิจด้านการบริการของระบบนิเวศ
 ผลผลิตจากธรรมชาติ
 ผลผลิตจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้าที่มีผลกระทบจากผลผลิตธรรมชาติ
 ผลกระทบจากการพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเล
 ผลการอพยพเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์อื่นที่จะนาผลไปใช้ในการจัดทาแนว
เชื่อมต่อ
- 8 -
การศึกษาวิจัยจะต้องได้รับการอนุญาตจากผู้ที่มีอานาจดูแลรักษาพื้นที่คุ้มครอง และควรจะ
ทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับสถาบันวิจัย เช่น ศูนย์วิจัยชีววิทยาทางทะเลภูเก็ต สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ศูนย์
ศึกษาทางทะเล ตลอดจนหน่วยงานนานาชาติที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาวิจัยอาจจะนาเครื่องมือ เทคนิคใหม่ๆ มาใช้ เช่น ดาวเทียม เครื่องจับพิกัดจีพีเอส
หรืออุปกรณ์ทาแผนที่อื่นๆ ซึ่งมีงานวิจัยทางทะเลอาจจะมีราคาสูง แต่ก็มีประโยชน์มากมายต่อการจัดการ
ทรัพยากรทางทะเลของไทย เช่น การสารวจแหล่งปะการรัง ป่าชายเลน ชนิดพันธุ์ปลาและการท่องเที่ยวทาง
ทะเลและชายฝั่ง
การนาหลักวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
มีตัวอย่างมากมายที่ได้นาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ในการจัดการ เช่น
 การอนุรักษ์ความสาคัญของถิ่นที่อยู่อาศัยที่มีระยะทางอยู่ห่างกัน
 ขนาดของพื้นที่คุ้มครอง
 กระบวนการเจริญเติบโตของชนิดพันธุ์กับการอนุรักษ์พื้นที่อย่างเข้มข้นและเวลา
 วิเคราะห์ถิ่นที่อาศัยในแต่ละพื้นที่ที่สาคัญทางทะเล
 ความร่วมมือทางการจัดการเรื่องประมง
 การทาปะการังเทียม
 การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการพื้นที่ ตามประเพณีวัฒนธรรมในการ
จัดการทรัพยากร
 การกาหนดแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
 การนาเอาบทเรียนจากการจัดการทางทะเลมาใช้พิจารณา
 ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและ
ชายฝั่ง
 สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยและการติดตามผละกระทบจากการจัดการและความ
ร่วมมือ ตลอดจนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
 ผลกระทบการจัดการแก้ไขความขัดแย้งทางทะเล การใช้บทบาทหน้าที่ของ
คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองมาใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้
- 9 -
ส่วนที่ 2
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
อนุสัญญานานาชาติ
การกาหนดอนุสัญญานานาชาติให้เกิดขึ้น ก็เพื่อต้องการให้นานาประเทศ ดาเนินการ มี
มาตรการการจัดการพื้นที่คุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีความเหลื่อมล้ากันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน
โดยเฉพาะทางทะเลหรือมหาสมุทร เช่น
1.อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้าหรือ Ramsar Convention ปี 1971 (ประเทศไทยได้ให้
สัตยาบันเมื่อปี 1998) เป็นอนุสัญญาที่ให้ความคุ้มครองสิ่งแวดล้อมด้านถิ่นที่อยู่อาศัยบริเวณที่เป็นแหล่งน้า
ต่างๆเพื่อประโยชน์ของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าทั้งประจาถิ่นและชนิดที่อพยพ และเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์หลายๆ
พื้นที่ในประเทศไทยก็ได้มีการกาหนดให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้า ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่คุ้มครอง เช่น อุทยาน
แห่งชาติทางทะเล หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า
2.กฎหมายทางทะเล ปี 1982 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 1998) เป็นกฎหมายที่ให้
ความคุ้มครองถิ่นที่อาศัยทางทะเล สิทธิในการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ขอบเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของที่
ต้องการให้เป็นเขตเศรษฐกิจ ในระยะ 200 ไมล์ทะเล การสารวจ การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรและ
การใช้ประโยชน์
3.อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่มรดกโลก ปี 1972 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 1987) โดย
เป้ าประสงค์ของกฎหมายนี้เพื่อให้นานาประเทศร่วมมือกัน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมให้
เป็นมรดกของชนรุ่นต่อๆ ไปในอนาคต สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และมีแผนการจัดการ พร้อมกันให้เป็น
ทุนสนับสนุนในกิจกรรมบางอย่างที่เกี่ยวข้อง สาหรับพื้นที่คุ้มครองทางทะเล เป็นหมู่เกาะตะรุเตาก็สามรถ
กาหนดให้เป็นพื้นที่มรดกโลกได้
4.อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 1992 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี
2004) กรอบของกฎหมายได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อรักษา
คุ้มครองป้องกันด้านชนิดพันธุ์ ระบบนิเวศและพันธุกรรม สิทธิในการใช้ประโยชน์และการเข้าถึงพันธุกรรม
อนุสัญญานี้ได้ให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในและนอกถิ่นกาเนิด
โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง ที่ได้ประกาศจัดตั้งตามกฎหมายของประเทศนั้นๆ
5.อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ปี 1992 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี
1994) และ Kyoto Protocal ปี 1997 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 2002) วัตถุประสงค์ของอนุสัญญา
- 10 -
ฉบับนี้เพื่อป้ องกันการเกิดภาวะเรือนกระจก ที่ทาให้เกิดโลกร้อนขึ้นจนเป็นปัญหากับมนุษย์ เช่นความแห้ง
แล้ง ฝนตกหนักน้าท่วม น้าแข็งขั้วโลกละลาย ทาให้เกิดผลกระทบกับทรัพยากรชายฝั่งและทะเล
6.องค์กรทางทะเลเกี่ยวกับการขนส่ง (International Maritime Organization : IMO) เป็น
สนธิสัญญาทางทะเลเกี่ยวกับการให้ความปลอดภัยแก่น้าทะเล ป้ องกันการเกิดมลพิษทางทะเลที่เกิดจากการ
ขนส่งสินค้าหรือการเดินเรือ
7.อนุสัญญาว่าด้วยการประมง เป็นอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับปลา กาหนดประเภทเครื่องมือ
ที่ใช้ในการประมงและวิธีการเข้าถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล
8.พื้นที่สงวนชีวภาพมณฑล (MAB) ขององค์การ UNESCO เป็นพื้นฐานของการพัฒนา
ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ โดยเฉพาะเป็นกิจกรรมการวิจัยด้านความสามารถของพื้นที่
ธรรมชาติ
9.มรดกอาเซียนทางอุทยานแห่งชาติ เมื่อปี 2003 มนตรีความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม
ประเทศอาเซียน ได้ให้ความสนใจในการอนุรักษ์พื้นที่ผ่านกระบวนการรักษาไว้ การใช้ประโยชน์ที่มี
ทรัพยากรที่สาคัญร่วมกันของประเทศในกลุ่มอาเซียน เช่น หมู่เกาะตะรุเตา ที่ได้กาหนดให้เป็นอุทยาน
แห่งชาติทางทะเล
กฎหมายในระดับชาติของประเทศไทย
กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งพื้นที่ทางบกและ
ทางทะเล ประกอบด้วย
1.พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 ให้อานาจของรัฐบาลในการประกาศจัดตั้งพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติ โดยมีเป้ าหมายเพื่อการศึกษาและการพักผ่อนหย่อนใจ โดยบัญญัติข้อห้ามต่างๆ เช่น ห้ามยึดถือ
ครอบครองที่ดิน เผาป่า เก็บหาของป่าหรือทาลายพืชพรรณ ห้ามล่าสัตว์ เก็บ ดิน หิน แร่ธาตุต่างๆ ภายใน
พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
2.พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2503 (ปรับปรุงแก้ไขปี 2535) เป็นกฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและถิ่นที่อาศัย โดยการประกาศกาหนดเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเป็นการให้ความคุ้มครองแก่ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ห้ามล่าสัตว์ห่า ห้ามยึดถือครอบครอง
ที่ดินในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ห้ามเก็บของป่า เป็นต้น
3.พ.ร.บ.รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2518 (ปรับปรุงแก้ไขปี 2535) เป็นกฎหมายที่
กาหนดนโยบายการวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ กาหนดมาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัญหาน้า อากาศเสีย และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ การจัดทา EIA ในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์
- 11 -
ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการตั้งและบริการกองทุนสิ่งแวดล้อม ซึ่งก็ได้มีหลักการที่ใช้ดาเนินการใน
พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งด้วย
4.กฎหมายประมง ปี 2490 เป็นการกาหนดกฎเกณฑ์ในจับปลา กาหนดเครื่องมือสาหรับจับ
ปลา ห้ามจับปลาบางชนิด ห้ามจับเต่าทะเล และหมูทะเลหรือดูกอง การป้องกันพื้นที่แหล่งปะการัง ให้อานาจ
ผู้ว่าราชการจังหวัดในการออกใบอนุญาต หรือกาหนดพื้นที่สงวนพื้นที่สัมปทาน โดยการออกใบอนุญาต
การป้ องกันมิให้เกิดมลพิษทางทะเล จะมีอนุสัญญานานาชาติและบทบัญญัติบางมาตราใน
พ.ร.บ.ที่เกี่ยวข้อง เช่น
 Marine Pollution :MARPOL เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทะเลโดยเฉพาะ
 กฎหมายประมง พ.ศ.2490 ที่ห้ามทิ้งขยะมลพิษลงในน้า จะให้เกิดการทาลาย
สิ่งมีชีวิตทางทะเล
 กฎหมายเหมืองแร่ พ.ศ.2510 มีการบัญญัติห้ามมิให้เกิดมลพิษทางทะเลจากการทา
เหมืองแร่ในทะเลและชายฝั่ง
 กฎหมายปิโตรเลียม พ.ศ.2514 บัญญัติห้ามมิให้ผู้รับสัมปทานทาให้เกิดมลพิษ
เกี่ยวกับน้ามันรั่วไหลลงสู่น้าทะเล และควรจะให้มีการเตือนในพื้นที่ซึ่งมีการ
สารวจและดูดน้ามันจากท้องทะเล
บทสรุปจากกฎหมายของไทยในการคุ้มครองพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่ง
จากกฎหมายที่กล่าวแล้ว บางฉบับไม่ทันสมัยหรือใช้บังคับได้ ทาให้เกิดปัญหาทางการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งบ่อยครั้ง ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญด้านพื้นที่คุ้มครอง ดังนี้
 รูปแบบการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองควรจะมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
 มีการจัดการแบ่งประเภทของพื้นที่คุ้มครอง ตามหลักการขององค์กร IUCN
 การกาหนดเขตการจัดการตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
 ชุมชนที่เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครอง ควรกาหนดกฎเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่
ชัดเจน
 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้ถูกต้องตามกฎหมาย
(ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย)
 การแก้ไขปัญหามนุษย์กับสัตว์ป่า
 การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
 นาเอาวิธีการเรื่องการบริการของระบบนิเวศมาบังคับใช้ให้ได้ผล
 การกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
 ควรกาหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทาผิดกฎหมายอย่างเข้มงวด
- 12 -
มีข้อเสนอแนะจากที่ปรึกษาว่า ในกรณีที่พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้
สอดคล้องกัน
1.การปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ ที่ให้มีมาตรฐานในการคุ้มครองพื้นที่
คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง มีมาตรฐานและมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
2.มีความร่วมมือกันระหว่าง พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติกับพ.ร.บ.การประมง เพื่อการใช้
ประโยชน์อย่างยั่งยืนและร่วมกับอนุสัญญานานาชาติที่เกี่ยวข้องกับทางทะเล รวมทั้งการแบ่งเขตการจัดการ
3.สนับสนุนให้มีการควบคุมมลพิษทางทะเล จากเรือเดินสมุทร หรือเรือขนส่งสินค้า
หรือเรือประมงอย่างเข้มงวด
4.พัฒนากฎระเบียบและกฎหมายให้คานึงถึงภาวะเศรษฐกิจทางทะเลเป็นสาคัญ ให้
ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้าใจเรื่องค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) จากพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานให้เพียงพอ

More Related Content

What's hot

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
yah2527
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
Radda Larpnun
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Chutchavarn Wongsaree
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
UNDP
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
Utai Sukviwatsirikul
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
yah2527
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Utai Sukviwatsirikul
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
Utai Sukviwatsirikul
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
UNDP
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
Sirinoot Jantharangkul
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
Utai Sukviwatsirikul
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
12 sampling
12 sampling12 sampling
12 sampling
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
วิระพล ภิมาลย์, เภสัชกรรมบำบัดโรคมะเร็งเต้านม
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 

Viewers also liked

Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
UNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
UNDP
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
UNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
UNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES book
UNDP
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
yah2527
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
UNDP
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010chorchamp
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
UNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
yah2527
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
UNDP
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
UNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
Auraphin Phetraksa
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
UNDP
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
UNDP
 
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-208 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2UNDP
 
The Doi Inthanon Business Plan
The Doi Inthanon Business Plan The Doi Inthanon Business Plan
The Doi Inthanon Business Plan
UNDP
 

Viewers also liked (20)

Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-208 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
 
The Doi Inthanon Business Plan
The Doi Inthanon Business Plan The Doi Inthanon Business Plan
The Doi Inthanon Business Plan
 

Similar to กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง

ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
UNDP
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
UNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 

Similar to กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง (6)

ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
UNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
UNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
UNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
UNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
UNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
UNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
UNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
UNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
UNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
UNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
UNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 

กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง

  • 1.
  • 2. - 1 - ส่วนที่ 1 กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คานา ฝั่งอันดามันของประเทศไทย มีพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งเขตห้ามล่าสัตว์ป่า พื้นที่สงวนชีวมณฑล และพื้นที่ชุ่มน้าที่มีกฎหมายใช้บังคับแตกต่างกัน ซึ่งก็สามารถที่จะนามาจัดเป็นระบบ พื้นที่คุ้มครองให้มีประโยชน์ร่วมกันได้ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ผลผลิตจากทรัพยากรทางทะเลและ การบริการของระบบนิเวศหลายๆ อย่าง จากการปฏิบัติงานในพื้นที่สามารถที่จะวิเคราะห์ถึงภัยคุกคามและ โอกาสในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การสนับสนุนเงินงบประมาณ และการจัดการอย่างมีส่วนร่วม ลักษณะภูมิประเทศของทะเลฝั่งอันดามัน พื้นที่คุ้มครองต่างๆ ในพื้นที่ฝั่งอันดามันมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ประกอบด้วยป่า ชายเลน หญ้าทะเล แหล่งปะการัง เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ ชายฝั่งจะมีแม่น้าสายสั้นจากเทือกเขาตะนาวศรีไหลลงสู่ทะเล ทาให้เกิดมลพิษทางน้าหลายแห่งและมี ผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในทะเล ทาให้ชนิดพันธุ์เหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น อาจจะลด จานวนลงหรือย้ายไปอาศัยอยู่ที่อื่น มีชนิดพันธุ์หลายชนิดรวมทั้งปะการัง ป่าชายเลน หญ้าทะเล พื้นท้องทะเล ทาให้ชนิดพันธุ์ อาศัยอยู่ลาบากขึ้นจึงได้มีการอพยพย้ายออกจากพื้นที่ดังกล่าว จึงได้มีหน่วยงานนานาชาติเข้ามาสนับสนุน ระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง มีโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหลายๆ โครงการที่ดาเนินการร่วมกับ นานาชาติ หรือระหว่างประเทศ เช่น เมียนมาร์ มาเลเซีย อินเดีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย และมัลดีฟร์ ในการอนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลร่วมกัน หน่วยงานที่สนับสนุนประกอบด้วย Novad, the World Bank, FAO, GEF, NOAA และ SIDA ในโครงการยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรทางทะเล การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน การสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์อ่าวเบงกอล การป้องกันการเกิดมลพิษทางทะเล เป็นการดาเนินงานที่ ร่วมมือกันระหว่างประเทศ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ในมาตรา 8 ได้กาหนดให้ประเทศภาคี สมาชิกดาเนินการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ทั้งทางบกและทางทะเล ได้กาหนด วิธีการอนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลที่เรียกว่า Ecologicallyand Biologically Sensitive Areas: EBSAs ซึ่งมี หลักเกณฑ์ในการพิจารณา คือ
  • 3. - 2 -  เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะ มีชนิดพันธุ์หรือถิ่นที่อาศัยเฉพาะถิ่น หรือหาได้ยาก  มีบทบาทในการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ และอาศัยอยู่อย่างปลอดภัย  เป็นพื้นที่ที่สาคัญในการฟื้นฟูชนิดพันธุ์  มีคุณค่าและเสี่ยงต่อการถูกทาลาย  มีผลผลิตทางชีวภาพสูง และ  มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง จากข้อเสนอของโครงการ EBSA กาหนดให้วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่มีผลกระทบต่อ พื้นที่ การประเมินผลกระทบและกาหนดลาดับความสาคัญที่จะต้องพิจารณาแก้ไขปรับปรุง นอกจากนี้ในการประชุมของภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อ ปี 2010 กาหนดให้ช่วงปี 2011-2020 เรียกว่า Aichi Targets ได้มีข้อเสนอในการดาเนินงาน:  ให้มีการจัดการทรัพยากรทางทะเลโดยเฉพาะปลา และพืชในทะเล และมีการใช้ ประโยชน์มิให้ลดจานวนลง และให้หลีกเลี่ยงการจับปลาเกินปริมาณให้ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้ง ผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก  พื้นที่ที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ต้องจัดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ  กาหนดให้มีการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่น หรือชนิดพันธุ์ที่รุกราน โดยการห้ามนาเข้าไป ยังพื้นที่  งดเว้นจากการทาลายทรัพยากรปะการัง อันอาจจะเกิดจากมลพิษทางทะเล หรือการ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ  กาหนดให้มีการสงวนพื้นที่ โดยเฉพาะมีคุณค่าทางความหลากหลายทางชีวภาพ และ การบริการของระบบนิเวศ และที่เชื่อมต่อกับระบบนิเวศอื่นอย่างบูรณาการ  ชนิดพันธุ์ที่คุกคาม หรือลดจานวนลงจะต้องมีแผนการป้ องกัน และดาเนินการมิให้ลด จานวนลง  ให้การสนับสนุนทางการเงินงบประมาณให้เพียงพอ และขอการสนับสนุนจากแหล่งทุน สนับสนุนที่เกี่ยวข้องได้ ความสาคัญของการขอรับการสนับสนุนจากนานาชาติในระยะยาว จะเกี่ยวข้องกับการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ระดับของน้าทะเลยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากภูเขาน้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย รวมทั้งการกระทาของมนุษย์ที่มีผลกระทบทาให้น้าทะเลเกิดมีกรดเพิ่มขึ้น จะทาให้เกิดผลกระทบกับปะการัง ปลา และสิ่งมีชีวิตทางทะเล การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศจึงต้องได้รับการแก้ไขภายใต้อนุสัญญา UNFCCC ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันดูแลรักษาพื้นที่ป่า เพื่อให้ป่าไม้เก็บกักคาร์บอนและป้ องกันสังคม สิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝั่งทะเล
  • 4. - 3 - แนวทางที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มนุษย์เราเป็นสัตว์ผู้ล่าที่สาคัญจาการใช้ชนิดพันธุ์ทางทะเล และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์ อุปกรณ์ และวิธีการที่ใช้แตกต่างกัน และพัฒนาให้ทันสมัยมากขึ้น ที่ขึ้นอยู่ กับนวัตกรรม ประเพณี วัฒนธรรม และการตลาด ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจะไม่สามารถคาดการณ์ได้ สาหรับการเลี่ยนแปลงวิถีการดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นเป็นหลักการที่จะทาเป็นแนวคิด ในการ เปลี่ยนอาชีพที่มีรายได้จากการประมงเป็นรายได้จากการท่องเที่ยว จะดาเนินการได้อย่างไร นวัตกรรมทางการจัดการ ถิ่นที่อาศัยทางทะเลจะถูกหยิบยกมาพิจารณาว่า การจัดการขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่แตกต่าง กันของหน่วยงานรับผิดชอบท้องทะเลลึก อาจจะได้รับการป้องกันจากกรมประมง การใช้เครื่องมือประมงน้า ลึกทาให้เกิดการทาลายปะการัง การจัดการจึงต้องกาหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์การจัดการร่วมกันระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและให้สัมพันธ์กับระบบนิเวศ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ-สังคม ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วน เสียที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะชุมชน หน่วยงานของรัฐบาล ทหารเรือ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ องค์การภาคเอกชน และผู้มีอานาจการจัดการ การกาหนดเขตการจัดการในแผนยุทธศาสตร์ เป็นสิ่งที่สาคัญในการใช้การบริการของ ระบบนิเวศ นักวิทยาศาสตร์ทางทะเลควรจะได้พิจารณากาหนดว่า ถิ่นที่อาศัยบริเวณใดที่มีการจับปลามาก การเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัย โดยการกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองและกาหนดเขตการใช้ประโยชน์ตาม วัตถุประสงค์ โดยมีการกาหนดเป็นระบบการจัดการ หรือประเภทการจัดการตามรูปแบบขององค์กร IUCN (ประเภทที่ 1-6) ในการจัดแบ่งเป็นเขตคุ้มครองหรือประเภทของพื้นที่คุ้มครอง เพื่ออนุรักษ์สิ่งมีชีวิตทุก ประเภทในท้องทะเล เช่น ประเภทอนุรักษ์อย่างเข้มข้น จะทาให้มีการอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการ ดารงชีวิตของปลาท้องถิ่นเดิมหรือชนิดที่มีการอพยพย้ายถิ่น ระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเลอาจจะกาหนดให้ เป็นแนวเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเมียนมาร์ ซึ่งก็มีตัวอย่างที่ RedReaMarinePeacePark ระหว่างประเทศอิสราเอลและจอร์แดน มีการกาหนดแผนการจัดการ การวิจัย และ การท่องเที่ยวร่วมกัน การกาหนดเป็นเขตแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศทางทะเล จะมีการร่วมกันใช้ประโยชน์ และป้ องกัน แต่อาจจะเกิดปัญหาข้อขัดแย้งได้ โดยเฉพาะการประมงหรือการจับปลา ซึ่งจะต้องมีหน่วยงาน เข้ามารับพิจารณาร่วมกันของกระทรวงการต่างประเทศ การพิจารณาจัดทาแนวเชื่อมต่อทางระบบนิเวศจะต้องพิจารณาถึงปัญหา หลีกเลี่ยงการ ทาลาย โดยใช้หลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการจัดการ บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองควร เข้ามามีส่วนร่วมให้มาก เพื่อให้มีความสมดุลระหว่างสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวทางของ นโยบาย การปฏิบัติ และหลักวิทยาศาสตร์ การแก้ไขปัญหาจะต้องได้รับความร่วมมือระหว่างกรมประมง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และทหารเรือ
  • 5. - 4 - การกาหนดแผนการป้ องกันและการใช้ประโยชน์ของพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง ควรจะมีระยะทางเท่าไร ควรจะได้พิจารณาถึงขนาดของพื้นที่คุ้มครอง และถิ่นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทางทะเล มีตัวอย่างหลายๆ พื้นที่คุ้มครองทางทะเลแล้ว การกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองทางทะเล เช่น ในประเทศ เม็กซิโกปรากฎว่าเมื่อกาหนดเป็นพื้นที่คุ้มครองแล้วมวลชีวภาพของปลาเพิ่มขึ้นถึง463%หรือ4ตันต่อเฮกแตร์ แต่การดาเนินงานดังกล่าวจะต้องได้รับความร่วมมือจากชาวประมงเป็นอย่างดี ทาให้รายได้ของชาวประมง เพิ่มขึ้น นโยบายของพื้นที่คุ้มครองทางทะเล บริเวณเขตหวงห้ามจะมีระยะประมาณ 3-5 กิโลเมตร ขึ้นอยู่กับถิ่นที่อาศัยและประสิทธิภาพของการควบคุมป้ องกัน เพื่อประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริการของ ระบบนิเวศ ระบบการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศจะทาให้เกิดเป็นพื้นที่ที่เรียกว่า “Peace Parks” เป็นแผน ยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ในกรณีที่ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ควรจะได้พิจารณาผลประโยชน์:  สามารถรองรับผลผลิตทางทะเลและลดการทาลาย  สามารถสนับสนุนรายได้ ที่ผ่านกระบวนการการท่องเที่ยวและการทางานในพื้นที่ คุ้มครองเพื่อแก้ปัญหาความยากจน  เพื่อเพิ่มปริมาณปลา และความหลากหลายของชนิดพันธุ์ภายในพื้นที่คุ้มครอง  ป้องกันพื้นที่ถิ่นที่อาศัยที่มีความอ่อนไหว ปะการัง ป่าชายเลน หญ้าทะเล  เป็นสถานที่สาหรับชนิดพันธุ์ที่ไม่สามารถอาศัยที่อื่นได้  ป้องกันการประมงที่ไม่มีพื้นที่เป้าหมาย  เป็นพื้นที่ที่แสดงให้เห็นว่าองค์ประกอบของระบบนิเวศที่เป็นพื้นที่สามารถตรวจสอบ ได้ การนาเอาหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการจัดการ งานศึกษาวิจัยที่ต้องได้รับการดาเนินงานหลักในพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่ง  ระดับความสาคัญของถิ่นที่อาศัยแบบต่างๆที่ตั้งอยู่ในพื้นที่  พื้นที่คุ้มครองทางทะเลอาจจะมีขนาดเล็กสุด 4-5 ตารางกิโลเมตร  การป้องกันถิ่นที่อาศัยจะเป็นขั้นตอนที่สาคัญต่อชนิดพันธุ์ในการดารงชีวิตตลอดทั้งปี  การวิเคราะห์ถึงความสาคัญของพื้นที่ที่สาคัญในมหาสมุทร เป็นแหล่งรอยแยกของพื้นที่ โลก  ใช้ความรู้ท้องถิ่นเพื่อการจัดการประมงและกาหนดรูปแบบ  ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นกับปะการัง การประมง เครื่องมือจับปลา  ให้โอกาสแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กาหนดรูปแบบและการจัดการระบบนิเวศ โดยเฉพาะ การตัดสินใจ คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเข้ามามีส่วนร่วมภายใต้ข้อตกลงและกระบวนการ
  • 6. - 5 -  กาหนดขอบเขตให้ชัดเจนและกาหนดกฎข้อบังคับของพื้นที่คุ้มครองและแบ่งเขตการใช้ ประโยชน์  การปรับยุทธศาสตร์การจัดการให้เป็นให้เป็นบทเรียนและเป็นแนวทางปฏิบัติ  สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยผลกระทบและการมีส่วนร่วมระหว่างนักวิจัย  การจัดการความขัดแย้ง หรือการแก้ไขความขัดแย้ง คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่ คุ้มครอง สามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาได้ เศรษฐกิจของพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง ทรัพยากรธรรมชาติแถบชายฝั่งอันดามันมีคุณค่ามาก และเป็นที่ต้องการจัดการอย่างเข้มข้น ปัจจุบันมีการจับปลาที่ผิดกฎหมายโดยใช้ระเบิดหรือยาเบื่อ หรือการเก็บรังนกนางแอ่นกินรัง เก็บไข่เต่า เป็น ต้นมีงบประมาณในการบริหาร การบริการนักท่องเที่ยว การป้ องกัน การลักลอบทาไม้ทาลายป่าชายเลน ซึ่ง งานวิจัยด้านนี้มีน้อยมาก การวิเคราะห์ทางการเงินงบประมาณ การใช้งบประมาณในการจัดการและแผน ธุรกิจ การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง การฝึกอบรมเชิงคุณภาพทางทะเล การเฝ้าระวังดูแล ปะการัง การพัฒนาสื่อความหมาย การท่องเที่ยว การดาน้าดูปะการัง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การบริการ ของระบบนิเวศ การจัดตั้งกองทุน PES, CTF และการติดตามผล การท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามา ท่องเที่ยวจานวนมาก จะต้องมีการพัฒนาให้เพิ่มเติม โดยเฉพาะความพึงพอใจในการจ่ายของนักท่องเที่ยว ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคการประมง การทานากุ้ง การเปลี่ยนแปลงวิธีการจับปลาที่ใช้ระเบิดอย่างผิดกฎหมาย ชาวเลซึ่งอาศัยการ จับปลาเพื่อดารงชีพโดยใช้กับดัก ส่วนใหญ่จะเป็นผู้มีฐานะยากจน ควรจะได้มีการฝึกอบรมการจับปลาให้ ถูกต้องตามวิธีการหรือถูกวิธีหรือฤดูกาล เหตุการณ์จากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ทาให้เกิดการลดลง ของผลผลิตทางการประมง และทาลายสิ่งแวดล้อมทางทะเล กรณีการหาปลาหรือจับลาโดยอวนลาก ทาให้ เกิดปัญหากับการใช้ทรัพยากร และการทาลายแหล่งปะการัง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคเอกชน บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันเป็นแหล่งอานวยแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ บริษัทการ ปิโตรเลียม ได้สารวจและนามาใช้จากพื้นที่ของเมียนมาร์และได้ทาการขุดเจาะมาใช้ประโยชน์หลายๆ แห่ง ซึ่งจะมีผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตทางทะเล กิจกรรมของภาคเอกชนหรือรัฐบาลจากกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ควรมีกาลังและ งบประมาณในการรับผิดชอบพื้นที่คุ้มครอง ถ้าหากเป็นไปได้ควรจะให้องค์กรภาคเอกชนดังกล่าวมีส่วน
  • 7. - 6 - สนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยการจัดตั้งเป็นกองทุนอนุรักษ์ เพื่อประโยชน์ทางสังคมและ สิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงและโอกาสในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการระบบพื้นที่คุ้มครองทางทะเล และชายฝั่ง ควรจะได้พิจารณาร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พลังงานลมตามชายฝั่งเป็นพลังงานผลิต ไฟฟ้าที่สะอาด สามารถที่จะนามาใช้ในพื้นที่คุ้มครองได้ร่วมกับฟาร์มกุ้ง หอย ปู ปลา เป็นต้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากชุมชนในเมือง บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันเป็นที่ตั้งของจังหวัดต่างๆ เช่น ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล มีการท่องเที่ยวประจาจังหวัดควรที่จะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบจะต้องมีบทบาทในการดูแลรักษา ชายหาด การขนส่ง การค้า การกาจัดขยะ ป้ องกันการใช้ประโยชน์เกินความสามารถในการรองรับได้ของ พื้นที่ จะต้องกาหนดไว้ในแผนการจัดการ ป้องกันมลพิษทางน้า ของเสีย และการเกิดมลพิษต่างๆ การบริการของระบบนิเวศในพื้นที่บริเวณฝั่งทะเลอันดามัน กรอบของระบบพื้นที่คุ้มครองจะสนับสนุนกิจกรรมของการบริการของระบบนิเวศจาก ทะเลและชายฝั่ง การบริการแหล่งนิเวศนี้เป็นสิ่งที่ประชาชนได้รับจากระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง แบ่ง ออกได้ 4 ประเภท กล่าวคือ ด้านการเป็นแหล่งผลิต ด้านการเกื้อหนุน ด้านการควบคุมกลไกของระบบและ ด้านวัฒนธรรม การบริการด้านการเป็นแหล่งผลิต  ปลา  สิ่งแวดล้อมที่ต้องการจับปลา  การป้องกันชนิดพันธุ์ที่เป็นเภสัชกรรม  ชนิดพันธุ์ที่ใช้เลี้ยงเพื่อพิพิธภัณฑ์ปลา  ทรัพยากรที่เป็นทราย หินกรวด  แร่ธาตุ น้ามัน แก๊ส  พลังงานคลื่น/ลม  ให้ที่อยู่อาศัยสาหรับชนิดพันธุ์  ให้พลังงานจากคลื่นและน้าขึ้น-น้าลง การบริการด้านการเกื้อหนุน  รักษาคุณภาพของน้า  การหมุนเวียนของแร่ธาตุ  การป้องกันชายฝั่งจากลมพายุ
  • 8. - 7 -  ผลผลิตอินทรีย์จากการหมุนเวียนของกระบวนการ  การอพยพเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์ การบริการด้านการควบคุมกลไกของระบบ  ควบคุมน้าท่วม  ป้องกันการพังทลายของดินหรือการตกตะกอน  รักษาพื้นที่ชายฝั่ง  รักษาความหลากหลายทางชีววิทยา การบริการด้านวัฒนธรรม  การพักผ่อนหย่อนใจและการท่องเที่ยว  วัฒนธรรม ด้านจิตใจ ความสงบ ความสาคัญของการบริการของระบบนิเวศสามารถศึกษาได้ข้อมูลจากประวัติศาสตร์ต่างๆ ของพื้นที่ เช่น การค้าระหว่างอินเดียกับศรีลังกา ที่มีการเดินเรือขนส่งสินค้าทางเศรษฐกิจ การรับวัฒนธรรม ทางศาสนา เมื่อ 2000 ปีก่อน แหล่งการค้าต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน กรอบของการกาหนดยุทธศาสตร์การ จัดการควรจะมีการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพสังคมและเศรษฐกิจ การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง ความสาคัญของงานศึกษาวิจัยประกอบด้วย  ข้อมูลพื้นฐานในปัจจุบันด้านถิ่นที่อาศัยและความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล โดยเฉพาะข้อมูลที่ยังไม่ทราบรายละเอียด  ติดตามผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการ  เทคนิคและเป้าหมายการฟื้นฟู  ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ  ผลจากการกาหนดเขตจากปลา  การจัดการป่าชายเลน  เศรษฐกิจด้านการบริการของระบบนิเวศ  ผลผลิตจากธรรมชาติ  ผลผลิตจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้าที่มีผลกระทบจากผลผลิตธรรมชาติ  ผลกระทบจากการพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเล  ผลการอพยพเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์อื่นที่จะนาผลไปใช้ในการจัดทาแนว เชื่อมต่อ
  • 9. - 8 - การศึกษาวิจัยจะต้องได้รับการอนุญาตจากผู้ที่มีอานาจดูแลรักษาพื้นที่คุ้มครอง และควรจะ ทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับสถาบันวิจัย เช่น ศูนย์วิจัยชีววิทยาทางทะเลภูเก็ต สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ศูนย์ ศึกษาทางทะเล ตลอดจนหน่วยงานนานาชาติที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวิจัยอาจจะนาเครื่องมือ เทคนิคใหม่ๆ มาใช้ เช่น ดาวเทียม เครื่องจับพิกัดจีพีเอส หรืออุปกรณ์ทาแผนที่อื่นๆ ซึ่งมีงานวิจัยทางทะเลอาจจะมีราคาสูง แต่ก็มีประโยชน์มากมายต่อการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลของไทย เช่น การสารวจแหล่งปะการรัง ป่าชายเลน ชนิดพันธุ์ปลาและการท่องเที่ยวทาง ทะเลและชายฝั่ง การนาหลักวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง มีตัวอย่างมากมายที่ได้นาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ในการจัดการ เช่น  การอนุรักษ์ความสาคัญของถิ่นที่อยู่อาศัยที่มีระยะทางอยู่ห่างกัน  ขนาดของพื้นที่คุ้มครอง  กระบวนการเจริญเติบโตของชนิดพันธุ์กับการอนุรักษ์พื้นที่อย่างเข้มข้นและเวลา  วิเคราะห์ถิ่นที่อาศัยในแต่ละพื้นที่ที่สาคัญทางทะเล  ความร่วมมือทางการจัดการเรื่องประมง  การทาปะการังเทียม  การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการพื้นที่ ตามประเพณีวัฒนธรรมในการ จัดการทรัพยากร  การกาหนดแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง  การนาเอาบทเรียนจากการจัดการทางทะเลมาใช้พิจารณา  ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและ ชายฝั่ง  สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยและการติดตามผละกระทบจากการจัดการและความ ร่วมมือ ตลอดจนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น  ผลกระทบการจัดการแก้ไขความขัดแย้งทางทะเล การใช้บทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองมาใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้
  • 10. - 9 - ส่วนที่ 2 กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อนุสัญญานานาชาติ การกาหนดอนุสัญญานานาชาติให้เกิดขึ้น ก็เพื่อต้องการให้นานาประเทศ ดาเนินการ มี มาตรการการจัดการพื้นที่คุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีความเหลื่อมล้ากันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยเฉพาะทางทะเลหรือมหาสมุทร เช่น 1.อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้าหรือ Ramsar Convention ปี 1971 (ประเทศไทยได้ให้ สัตยาบันเมื่อปี 1998) เป็นอนุสัญญาที่ให้ความคุ้มครองสิ่งแวดล้อมด้านถิ่นที่อยู่อาศัยบริเวณที่เป็นแหล่งน้า ต่างๆเพื่อประโยชน์ของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าทั้งประจาถิ่นและชนิดที่อพยพ และเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์หลายๆ พื้นที่ในประเทศไทยก็ได้มีการกาหนดให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้า ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่คุ้มครอง เช่น อุทยาน แห่งชาติทางทะเล หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 2.กฎหมายทางทะเล ปี 1982 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 1998) เป็นกฎหมายที่ให้ ความคุ้มครองถิ่นที่อาศัยทางทะเล สิทธิในการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ขอบเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของที่ ต้องการให้เป็นเขตเศรษฐกิจ ในระยะ 200 ไมล์ทะเล การสารวจ การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรและ การใช้ประโยชน์ 3.อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่มรดกโลก ปี 1972 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 1987) โดย เป้ าประสงค์ของกฎหมายนี้เพื่อให้นานาประเทศร่วมมือกัน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมให้ เป็นมรดกของชนรุ่นต่อๆ ไปในอนาคต สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และมีแผนการจัดการ พร้อมกันให้เป็น ทุนสนับสนุนในกิจกรรมบางอย่างที่เกี่ยวข้อง สาหรับพื้นที่คุ้มครองทางทะเล เป็นหมู่เกาะตะรุเตาก็สามรถ กาหนดให้เป็นพื้นที่มรดกโลกได้ 4.อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 1992 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 2004) กรอบของกฎหมายได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อรักษา คุ้มครองป้องกันด้านชนิดพันธุ์ ระบบนิเวศและพันธุกรรม สิทธิในการใช้ประโยชน์และการเข้าถึงพันธุกรรม อนุสัญญานี้ได้ให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในและนอกถิ่นกาเนิด โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง ที่ได้ประกาศจัดตั้งตามกฎหมายของประเทศนั้นๆ 5.อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ปี 1992 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 1994) และ Kyoto Protocal ปี 1997 (ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อปี 2002) วัตถุประสงค์ของอนุสัญญา
  • 11. - 10 - ฉบับนี้เพื่อป้ องกันการเกิดภาวะเรือนกระจก ที่ทาให้เกิดโลกร้อนขึ้นจนเป็นปัญหากับมนุษย์ เช่นความแห้ง แล้ง ฝนตกหนักน้าท่วม น้าแข็งขั้วโลกละลาย ทาให้เกิดผลกระทบกับทรัพยากรชายฝั่งและทะเล 6.องค์กรทางทะเลเกี่ยวกับการขนส่ง (International Maritime Organization : IMO) เป็น สนธิสัญญาทางทะเลเกี่ยวกับการให้ความปลอดภัยแก่น้าทะเล ป้ องกันการเกิดมลพิษทางทะเลที่เกิดจากการ ขนส่งสินค้าหรือการเดินเรือ 7.อนุสัญญาว่าด้วยการประมง เป็นอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับปลา กาหนดประเภทเครื่องมือ ที่ใช้ในการประมงและวิธีการเข้าถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล 8.พื้นที่สงวนชีวภาพมณฑล (MAB) ขององค์การ UNESCO เป็นพื้นฐานของการพัฒนา ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ โดยเฉพาะเป็นกิจกรรมการวิจัยด้านความสามารถของพื้นที่ ธรรมชาติ 9.มรดกอาเซียนทางอุทยานแห่งชาติ เมื่อปี 2003 มนตรีความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม ประเทศอาเซียน ได้ให้ความสนใจในการอนุรักษ์พื้นที่ผ่านกระบวนการรักษาไว้ การใช้ประโยชน์ที่มี ทรัพยากรที่สาคัญร่วมกันของประเทศในกลุ่มอาเซียน เช่น หมู่เกาะตะรุเตา ที่ได้กาหนดให้เป็นอุทยาน แห่งชาติทางทะเล กฎหมายในระดับชาติของประเทศไทย กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งพื้นที่ทางบกและ ทางทะเล ประกอบด้วย 1.พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 ให้อานาจของรัฐบาลในการประกาศจัดตั้งพื้นที่อุทยาน แห่งชาติ โดยมีเป้ าหมายเพื่อการศึกษาและการพักผ่อนหย่อนใจ โดยบัญญัติข้อห้ามต่างๆ เช่น ห้ามยึดถือ ครอบครองที่ดิน เผาป่า เก็บหาของป่าหรือทาลายพืชพรรณ ห้ามล่าสัตว์ เก็บ ดิน หิน แร่ธาตุต่างๆ ภายใน พื้นที่อุทยานแห่งชาติ 2.พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2503 (ปรับปรุงแก้ไขปี 2535) เป็นกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและถิ่นที่อาศัย โดยการประกาศกาหนดเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเป็นการให้ความคุ้มครองแก่ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ห้ามล่าสัตว์ห่า ห้ามยึดถือครอบครอง ที่ดินในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ห้ามเก็บของป่า เป็นต้น 3.พ.ร.บ.รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2518 (ปรับปรุงแก้ไขปี 2535) เป็นกฎหมายที่ กาหนดนโยบายการวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ กาหนดมาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัญหาน้า อากาศเสีย และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ การจัดทา EIA ในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์
  • 12. - 11 - ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการตั้งและบริการกองทุนสิ่งแวดล้อม ซึ่งก็ได้มีหลักการที่ใช้ดาเนินการใน พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งด้วย 4.กฎหมายประมง ปี 2490 เป็นการกาหนดกฎเกณฑ์ในจับปลา กาหนดเครื่องมือสาหรับจับ ปลา ห้ามจับปลาบางชนิด ห้ามจับเต่าทะเล และหมูทะเลหรือดูกอง การป้องกันพื้นที่แหล่งปะการัง ให้อานาจ ผู้ว่าราชการจังหวัดในการออกใบอนุญาต หรือกาหนดพื้นที่สงวนพื้นที่สัมปทาน โดยการออกใบอนุญาต การป้ องกันมิให้เกิดมลพิษทางทะเล จะมีอนุสัญญานานาชาติและบทบัญญัติบางมาตราใน พ.ร.บ.ที่เกี่ยวข้อง เช่น  Marine Pollution :MARPOL เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทะเลโดยเฉพาะ  กฎหมายประมง พ.ศ.2490 ที่ห้ามทิ้งขยะมลพิษลงในน้า จะให้เกิดการทาลาย สิ่งมีชีวิตทางทะเล  กฎหมายเหมืองแร่ พ.ศ.2510 มีการบัญญัติห้ามมิให้เกิดมลพิษทางทะเลจากการทา เหมืองแร่ในทะเลและชายฝั่ง  กฎหมายปิโตรเลียม พ.ศ.2514 บัญญัติห้ามมิให้ผู้รับสัมปทานทาให้เกิดมลพิษ เกี่ยวกับน้ามันรั่วไหลลงสู่น้าทะเล และควรจะให้มีการเตือนในพื้นที่ซึ่งมีการ สารวจและดูดน้ามันจากท้องทะเล บทสรุปจากกฎหมายของไทยในการคุ้มครองพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่ง จากกฎหมายที่กล่าวแล้ว บางฉบับไม่ทันสมัยหรือใช้บังคับได้ ทาให้เกิดปัญหาทางการ จัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งบ่อยครั้ง ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญด้านพื้นที่คุ้มครอง ดังนี้  รูปแบบการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองควรจะมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม  มีการจัดการแบ่งประเภทของพื้นที่คุ้มครอง ตามหลักการขององค์กร IUCN  การกาหนดเขตการจัดการตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ  ชุมชนที่เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครอง ควรกาหนดกฎเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่ ชัดเจน  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้ถูกต้องตามกฎหมาย (ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย)  การแก้ไขปัญหามนุษย์กับสัตว์ป่า  การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง  นาเอาวิธีการเรื่องการบริการของระบบนิเวศมาบังคับใช้ให้ได้ผล  การกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่น  ควรกาหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทาผิดกฎหมายอย่างเข้มงวด
  • 13. - 12 - มีข้อเสนอแนะจากที่ปรึกษาว่า ในกรณีที่พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ สอดคล้องกัน 1.การปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ ที่ให้มีมาตรฐานในการคุ้มครองพื้นที่ คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง มีมาตรฐานและมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม 2.มีความร่วมมือกันระหว่าง พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติกับพ.ร.บ.การประมง เพื่อการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืนและร่วมกับอนุสัญญานานาชาติที่เกี่ยวข้องกับทางทะเล รวมทั้งการแบ่งเขตการจัดการ 3.สนับสนุนให้มีการควบคุมมลพิษทางทะเล จากเรือเดินสมุทร หรือเรือขนส่งสินค้า หรือเรือประมงอย่างเข้มงวด 4.พัฒนากฎระเบียบและกฎหมายให้คานึงถึงภาวะเศรษฐกิจทางทะเลเป็นสาคัญ ให้ ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้าใจเรื่องค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) จากพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานให้เพียงพอ