SlideShare a Scribd company logo
- 1 -
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดทาแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
หรือยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณเพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
คานา
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ได้ถูกกาหนดและนามาใช้กับพื้นที่คุ้มครอง
โดยเฉพาะการสนับสนุนการบริหารจัดการด้านงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมของโครงการ และ
การมีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการตัดสินใจและร่วมพัฒนาพื้นที่
คุ้มครองของประเทศ
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นเครื่องมือขั้นพื้นฐานที่มีเป้ าหมายเพื่อสนับสนุนทางด้านการจัดการ
งบประมาณอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะในประเทศที่กาลังพัฒนาหลายๆ ประเทศได้นาเอาแผนธุรกิจมาใช้กับพื้นที่
คุ้มครอง แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นแผนการจัดการกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับงบประมาณ โดยมีการ
พิจารณาดาเนินการอย่างละเอียดสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบันจะระบุถึงงบการลงทุนกับรายได้ที่
เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ มีการวางแผนและการดาเนินงานที่เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายกับรายได้ให้มี
ความสมดุลกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ฉะนั้น แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองมีบทบาทในการสนับสนุนเป้ าหมายและวัตถุประสงค์การ
อนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองโดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการแก้ไข
ปัญหาการจัดการที่เกิดขึ้ น แผนธุรกิจจึงมีความสาคัญในการสนับสนุนเงินงบประมาณ
ที่ดาเนินงานจัดดาเนินการอย่างมีส่วนร่วมโดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ดังกล่าวแล้วว่าการดาเนินงานจัดทาแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการมีส่วนร่วมจาก
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาพัฒนาแผนธุรกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่
คุ้มครองฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายวางแผน ฝ่ายจัดการพื้นที่นักวิชาการ ผู้มีอานาจตัดสินใจและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภาคส่วนอื่น ทั้งนี้เพื่อต้องการให้พื้นที่คุ้มครองมีหรือให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ แผนธุรกิจ
จะอธิบายถึงเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ของพื้นที่คุ้มครอง การสนับสนุนงานดาเนินงานประจาวัน
ประจาเดือนหรือประจาปี มีการขับเคลื่อนกระบวนการตามระยะเวลา โดยอยู่ภายใต้กรอบกฎหมาย ระเบียบ
ที่เกี่ยวข้อง อัตรากาลัง (ที่มีการพัฒนา) งบประมาณและการบริหารของระบบนิเวศ
แผนธุรกิจสาหรับพื้นที่คุ้มครอง (Business Plans for Protected Areas)
จากบทนิยามศัพท์ของคาว่าแผนธุรกิจ (Business Plan) ได้ให้ความหมายไว้ว่าเป็นเอกสารที่ได้
จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ การค้า เป็นยุทธศาสตร์วิธีการสนับสนุนโครงการเพื่อให้มีผลกาไร
ในช่วงเวลาของแผน ฉะนั้น แผนธุรกิจเป็นเครื่องมือหนึ่งที่นามาใช้ในการลงทุน รูปแบบของแผนธุรกิจแต่
- 2 -
ละประเทศและวัฒนธรรม หากเป็นแผนที่ทันสมัยจะเป็นหลักการของบริษัทที่จะต้องทาตามวัตถุประสงค์
และให้ยุทธศาสตร์ของโครงการประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ความต้องการทางด้านการเงินรายได้จาก
กิจกรรม มีการกาหนดตัวชี้วัดเป็นการอนุญาตให้ใช้ทรัพยากรที่ต้องการและสามารถปรับแผนยุทธศาสตร์
ด้านช่องว่างของงบประมาณได้
แผนธุรกิจได้ถูกนามาใช้ในทางธุรกิจการค้าและองค์กรที่ไม่หวังผลกาไร เร็วๆ นี้ก็ได้มี
การนาแผนธุรกิจมาใช้กับหน่วยงานภาครัฐเพิ่มมากขึ้นและนามาใช้งานเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครองซึ่ง
สามารถที่จะให้ผู้จัดการพื้นที่คุ้มครองกาหนดแผนกิจกรรม ความต้องการและโอกาส
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะมีคุณค่ามากเพื่อการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ร่วมงานตลอดจนผู้ให้
การสนับสนุน
ทาไมต้องนาแผนธุรกิจ (Business Plan) มาใช้กับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
พื้นที่คุ้มครองที่ได้มีการดาเนินงานเพื่อธุรกิจทางการค้าเป็นสินค้าสาธารณะที่ต้องได้รับการ
สนับสนุนจากภาษีและค่าธรรมเนียมผู้ใช้บริการ มิได้ดาเนินงานเพื่อหวังกาไรจากการลงทุนผู้ใช้บริการคือ
นักท่องเที่ยว เป็นรายได้ที่ไม่สมดุลเพื่อเปรียบเทียบกับการลงทุน รายได้ที่ได้จากการเสียค่าธรรมเนียมหรือ
งบประมาณที่ได้รับจากภาษีเท่านี้ อย่างไรก็ดีแผนธุรกิจจะเป็นผลสาเร็จของการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับ
จากเงินงบประมาณ พื้นที่คุ้มครองที่เป็นธุรกิจทางการค้าจะต้องมีผู้ส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาเกี่ยวข้อง
ประสิทธิภาพของการจัดการ สิ่งสาคัญที่สุดคือผู้เสียภาษี หน่วยงานของภาครัฐและการมีส่วนร่วมจาก
นานาชาติ
เงินงบประมาณของพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับเพื่อการบริหารงานในปัจจุบันจะได้รับจากรัฐบาล
จัดสรรให้ แต่หลายๆ พื้นที่คุ้มครองมีความต้องการเงินงบประมาณเพิ่มขึ้น งบประมาณรายปีที่ได้รับไม่
เพียงพอในการบริหารงาน จึงได้มีการหาแหล่งทุนจากพื้นที่อื่นหรือจากแหล่งอื่นมาสนับสนุน คือ ผู้ใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรจะต้องมีการใช้จ่าย เช่น โครงการ PES เป็นต้น รายได้จากการเก็บค่าธรรมเนียมเข้า
ไปใช้พื้นที่ แม้ว่าจะมีจานวนจากัด เพราะว่ารัฐบาลได้เรียบเก็บภาษีอยู่แล้ว
ในกรณีที่มีความต้องการเงินทุนสนับสนุนที่จากัดจากรัฐบาล หมายถึง งบประมาณจากรัฐบาล
สาหรับพื้นที่คุ้มครองที่ไม่เพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายเพื่อให้การปฏิบัติงานสาเร็จผลตามเป้าหมายวัตถุประสงค์
ของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ฉะนั้น แหล่งเงินงบประมาณสนับสนุนเพิ่มขึ้นจะต้องพึ่งพาจากผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียจากแหล่งต่างๆ เช่น จากการสนับสนุนจากสมาคมที่มีรายได้จากเศรษฐกิจ ซึ่งมีเป้ าหมายหรือเพื่อการ
สนับสนุนด้านการอนุรักษ์และบริการทางสังคม แผนธุรกิจจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่เกี่ยวกับการหาแหล่งเงินทุน
สาหรับใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จาต้องวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่จะได้รับและการบริการของระบบ
นิเวศในพื้นที่ การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนที่สนับสนุนและแผนยุทธศาสตร์การหาแหล่งทุน
- 3 -
ความเหมาะสมของแผนธุรกิจในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ขณะที่ได้มีการนาเอาแผนธุรกิจมาเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่จาเป็นใช้ในการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง จะต้องมีการกาหนดข้อมูลพื้นฐาน คือ มีกฎหมายที่อานวยให้ใช้ (Enabling legislation) หรือ
กาหนดให้กระทาได้ จาเป็นต้องจัดทากรอบงานและนโยบายในการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศแผน
ระบบพื้นที่คุ้มครอง (System Plan) มียุทธศาสตร์ในการดาเนินงานในระยะยาวและการกาหนดระดับ
ความสาคัญของพื้นที่คุ้มครองทั้งประเทศ
แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่จะต้องมีเฉพาะพื้นที่หรือ Site Plan จะต้องกาหนดเป็น
แผนรายปี หรืออาจจะกาหนดเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ 10 ปี แผนการจัดการระดับพื้นที่ควรจะได้มี
ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการจัดการจะต้องกาหนดให้ชัดเจนและสามารถที่จะปฏิบัติได้ เช่น
การกาหนดเขตการจัดการในระยะยาวเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่เฉพาะได้
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่นาไปใช้เพื่อให้เกิดการจัดการที่มีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้ข้อมูลของพื้นที่และการกาหนดแผนการจัดการ (Management Plan) จึงจาเป็นต้องเตรียมไว้เป็น
พื้นฐานของการจัดการทาแผนธุรกิจ ในแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองจาต้องกาหนดแผนธุรกิจไว้ในระยะ
สั้นๆ (เช่น 3-5 ปี) และสามารถปรับแผนได้แผนธุรกิจจะต้องมีข้อมูลของพื้นที่และอธิบายกิจกรรมที่กาหนด
กลไกการตลาดการจัดการและงบประมาณที่ต้องการ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและยุทธศาสตร์การหา
แหล่งงบประมาณ
กรณีที่โครงการ CATSPA ได้นาเอาวิธีการ Financial Sustainability Scorecard มาใช้กับพื้นที่
คุ้มครอง จะทาให้เห็นถึงการดาเนินงานของแผนธุรกิจ คือ แผนธุรกิจของพื้นที่คุ้มครอง
จะวิเคราะห์ถึงช่องว่างของงบประมาณในการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครองและทาให้มีโอกาสใน
การปรับปรุงค่าใช้จ่ายในการลงทุนหรือแหล่งทุนที่จะดาเนินการ การวิเคราะห์ช่องว่างของงบประมาณจะ
เป็นสิ่งสาคัญที่เป็นพื้นฐานของแผนธุรกิจ (เช่น ยุทธศาสตร์เชิงธุรกิจ ลาดับความสาคัญ ข้อมูลของ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเครื่องมือในการวางแผนและประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แผนงานรายปี (Annual Work Plan) จะต้องนามาใช้ในการดาเนินการในแต่ละพื้นที่ในแต่ละปี
กิจกรรมเฉพาะจะต้องสัมพันธ์กับงบประมาณที่กาหนดให้ เพื่อใช้เป็นตัวชี้วัดความสาเร็จในการพัฒนาพื้นที่
คุ้มครอง มีข้อสังเกตถึงองค์ประกอบของแผนธุรกิจจะต้องอธิบายตัวหัวข้อรายละเอียดที่แตกต่างกันไป
ตามแต่ละพื้นที่ของพื้นที่คุ้มครอง
องค์ประกอบของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
สาหรับวิธีการกาหนดรูปแบบหรือองค์ประกอบของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นเอกสารที่มีประโยชน์ต่อ
พื้นที่คุ้มครอง โดยการสนับสนุนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทางการดาเนินงานที่เป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้
มีการหาแหล่งทุนภายนอกมาดาเนินงาน
- 4 -
1. คานา
เป็ นเรื่องปกติของการที่จะกาหนดโครงการต่างๆ จะต้องมีคานาของโครงการ
เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของพื้นที่คุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของรัฐบาลหรือหน่วยงานที่
รับผิดชอบ เป็นการอธิบายถึงความสาคัญของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่าง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้มีส่วนร่วมอื่นๆ มีตารางองค์ประกอบตามบทสรุปด้านความสาคัญของแผนธุรกิจ
รวมทั้งวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่และงบประมาณที่กาหนด
2. วิสัยทัศน์
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองที่
ชัดเจน โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ที่เหมาะสม
3. ข้อมูลพื้นฐาน
แผนธุรกิจในขั้นตอนนี้จะแบ่งออกเป็นหลายหัวข้อย่อยได้หลายอย่างเป็นการอธิบายถึง
ลักษณะของภูมิประเทศของพื้นที่คุ้มครอง ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรม มีแผนที่และขอบเขตพื้นที่ชัดเจน มี
การแสดงถึงประวัติและสถานภาพตามกฎหมายในการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองและการจัดการพื้นที่การ
สนับสนุนข้อมูลรายละเอียด เพื่อดูแนวโน้มของงบประมาณ จานวนนักท่องเที่ยว แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
อาจจะมีการวิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย ความเป็นไปได้หรือความเสี่ยง (SWOT Analysis) ไว้ในแผนดังกล่าวด้วย
4. ขั้นตอนของโปรแกรมงาน
การกาหนดแผนธุรกิจไว้ในระยะเวลาของการจัดการพื้นที่คุ้มครองว่าเป็นระยะเวลา
กี่ปี จะอธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการดาเนินงาน เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์ การจัดการการท่องเที่ยว การ
ประชาสัมพันธ์ การบริหารกิจกรรมที่ต้องดาเนินการและการสนับสนุนกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมที่
ต้องการงบประมาณจากแหล่งเงินทุนภายนอก แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะสัมพันธ์กับงบประมาณที่บ่งบอก
ถึงรายละเอียดในแต่ละปี (Annual Work plan)
5. ข้อมูลเชิงการตลาด
เป็นข้อมูลที่จะใช้ในแผนยุทธศาสตร์การตลาดหรือแผนธุรกิจทางการค้า ซึ่งไม่เคยพบใน
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง อย่างไรก็ดีแผนธุรกิจที่กาหนดจะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การตลาดโดยการ
ตัดสินใจ กลไกการตลาดเพื่อเป็นแนวทางการบริหารพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจของชาติ รวมทั้งราคา การแข่งขันและลูกค้า
- 5 -
6. ข้อมูลด้านการเงิน
จะเป็นส่วนที่ประกอบด้วยแผนธุรกิจในหลายๆ กิจกรรมที่มีข้อมูลทางด้านการเงิน
งบประมาณที่ต้องการของแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละเรื่อง มีการปรึกษาร่วมกัน เรื่องของทรัพยากร
ที่สนับสนุนพื้นที่คุ้มครองและความยั่งยืนของแหล่งทุน การรายงานเรื่องแนวโน้มของสถานการณ์ที่จะ
เป็นไปได้ การป้ องกัน การเกิดช่องว่างของการจัดการและงบประมาณที่จะอธิบายถึงผลสัมฤทธิ์ของการ
จัดการได้
7. ยุทธศาสตร์ทางด้านงบประมาณ
ส่วนนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญที่สุดในเรื่องของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่อยู่บนพื้นฐาน
ของข้อมูลดังกล่าวแล้วเป็นยุทธศาสตร์ในการลดช่องว่างทางด้านการเงินสาหรับการจัดการพื้นที่โดยการ
พัฒนา ลาดับความสาคัญของกิจกรรม การเพิ่มงบประมาณโดยการพิจารณาถึงพื้นที่เป็นสาคัญ รวมถึงการ
พิจารณาถึงข้อมูลที่เป็นกลไกของรายได้ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสัมปทาน ค่าบริการของระบบนิเวศและ
งบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่นๆ เช่น การบริจาค กองทุนและโครงการร่วมในพื้นที่ เป็นต้น ซึ่งจะเป็น
ยุทธศาสตร์ทางการลงทุน สุดท้ายการหวังผลกาไรที่กาหนดขึ้นมา เช่น นโยบายการจัดการพื้นที่คุ้มครองสี
เขียว การใช้พลังงานทดแทน การกาจัดมลพิษหรือการร่วมลงทุน
8. บทสรุป
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่เป็นขั้นตอนสุดท้าย คือ การสรุปแผนยุทธศาสตร์ที่เป็นไปได้และ
การนาข้อมูลสู่สาธารณะพิจารณา โดยมีเอกสารแนบพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง จะต้องสรุปกาหนดขั้นตอน
และการกาหนดโครงสร้างการบริหาร ผลประโยชน์ที่จะได้รับทางการเงิน กฎระเบียบ กรอบงานต่างๆ ที่เป็น
ประโยชน์อันอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
ขั้นตอนต่อไปของโครงการ CATSPA
โครงการ CATSPA จะต้องพิจารณาถึงเวลาที่จะกาหนดในเรื่องการพัฒนาแผนธุรกิจสาหรับ
พื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย การกาหนดแผนธุรกิจของพื้นที่คุ้มครองนาร่องเพื่อให้เป็นแนวทางในการ
ดาเนินงานสาหรับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ต่อไป การกาหนดแผนธุรกิจจะกาหนดให้สอดคล้องกับการบริหาร
พื้นที่คุ้มครองของประเทศ โดยการดาเนินงานเฉพาะพื้นที่และควรดาเนินงานหลังจากที่ได้ดาเนินการแผน
ระบบพื้นที่คุ้มครองแล้ว อย่างไรก็ตามการพัฒนางานด้านนี้ก็จะต้องดาเนินการต่อไปตามความสาคัญของ
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่เป็นเรื่องใหม่และต้องได้รับการสนับสนุนในการจัดทาแผนจากหน่วยงาน
รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
- 6 -
รายละเอียดที่จะต้องกาหนดในแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่-แผนที่แสดงที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครอง ลักษณะภูมิประเทศและ
ขอบเขตที่ตั้ง
 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง-ชนิดพันธุ์พืช/สัตว์ ถิ่นที่อาศัย คุณค่าในการอนุรักษ์
รวมถึงการบริการของระบบนิเวศ
 สถิตินักท่องเที่ยวและการจัดการแหล่งท่องเที่ยว
 กฎหมายและกฎระเบียบที่ใช้บังคับในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 โครงสร้างการบริการพื้นที่คุ้มครอง (บุคลากร ภาระหน้าที่รับผิดชอบ บทบาทของ
หน่วยงาน)
 ข้อมูลที่แสดงสถิติด้านงบประมาณในอดีตที่ได้รับจัดสรรจากภาครัฐและรายได้จากการเก็บ
ค่าธรรมเนียม
ส่วนที่ 2 กิจกรรม/โครงการของแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ให้รวบรวมกิจกรรม/โครงการ การดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย
มีรายละเอียดที่แสดงถึงจานวนเงินงบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงาน
 การจัดการทรัพยากร – เป็ นกิจกรรมการจัดการชนิดพันธุ์หรือการวิจัยในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับชนิดพันธุ์ การฟื้นฟูระบบนิเวศ การจัดการไฟป่า การป้ องกันพื้นที่ทางวัฒนธรรม กฎหมายที่
ใช้บังคับและวิธีการจัดการที่เหมาะสม
 การจัดการท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กับชุมชน-เป็นข้อมูลเกี่ยวกับนักท่องเที่ยวและการ
จัดการ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ อุปกรณ์การสื่อความหมาย การเก็บเงินค่าธรรมเนียม การสัมปทาน
การรักษาความปลอดภัยให้นักท่องเที่ยว การบังคับใช้กฎหมายและการสร้างความร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น
 กิจกรรมการดาเนินงานและการบารุงรักษา – การซ่อมแซม การทดแทนและการฟื้ นฟู
สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ยานพาหนะและอุปกรณ์อื่นๆ
 การบริหารงาน – การบริหารบุคลากรในพื้นที่คุ้มครอง การวางแผน การบริหารงบประมาณ
งานวิชาการ การประชาสัมพันธ์ การจัดการหรือการพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ การสื่อสารและ
การจัดการข้อมูลการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านงบประมาณ
เป็นการแสดงถึงข้อมูลด้านงบประมาณที่ต้องใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่
คุ้มครอง
การพิจารณาถึงแหล่งเงินงบประมาณของพื้นที่ที่จะต้องใช้ในการขอรับการสนับสนุน
- 7 -
ข้อมูลด้านงบประมาณที่แสดงถึงจานวนที่ได้รับในอนาคต (ส่วนใหญ่แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
จะกาหนดระยะเวลาไว้5 ปี)
ข้อมูลด้านค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นตามความต้องการ แหล่งรายได้ตามกิจกรรมที่กาหนด
ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาช่องว่างของงบประมาณ
ในส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อการดาเนินงานด้านช่องว่างของงบประมาณ
ที่มีจากัด โดยมีหลักเกณฑ์ที่กาหนดและการจัดลาดับความสาคัญ
 มีเป้าหมายที่ชัดเจน
 มีนโยบายที่แน่นอน
 มีบุคลากรพร้อมในการปฏิบัติงาน
 ผลที่ได้รับสามารถตรวจวัดได้
 ควรจะได้มีการวิเคราะห์และลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่ไม่ได้รับงบประมาณ
ที่ไม่สามารถกาหนดวงเงินงบประมาณได้ เช่น ลาดับความสาคัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวกับ
การควบคุมชนิดพันธุ์ต่างถิ่น การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ป่าธรรมชาติ การฝึกอบรมการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
การวิจัยสิ่งใหม่ๆ เป็นต้น
 การลดค่าใช้จ่ายในส่วนที่ไม่จาเป็น เพื่อนาทรัพยากรงบประมาณไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ
เช่น การลดการใช้พลังงานสาธารณะโดยหันไปใช้พลังงานจากธรรมชาติ เช่น พลังงานจากน้า กังหันลม
น้าประปาภูเขา โดยการมีความร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น การนากลับมาใช้ใหม่ การสร้างแรงจูงใจให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ลดการใช้พลังงานที่สิ้นเปลือง หรือประหยัดการใช้พลังงาน หรือการใช้พลังงานทดแทน
อื่นๆ เป็นต้น
 การจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครอง (CTF) โดยวิธีการต่างๆ เช่น การเพิ่มค่าธรรมเนียม
ค่าใช้สถานที่เพื่อนาเงินรายได้มาจัดตั้งเป็นกองทุนอนุรักษ์ การมีส่วนร่วมกับผู้ใช้ประโยชน์ทางด้านการค้า
ภายในพื้นที่คุ้มครอง เช่น การให้สัมปทาน การขายของที่ระลึกต่างๆ การรับบริจาค ความร่วมมือกับ
หน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งอาสาสมัครทางานร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่ การทางาน
ร่วมกับองค์กรภาคเอกชน การศึกษาวิจัย และการนาเอาวิธีการค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) มาใช้กับ
โครงการ
ส่วนที่ 5 ยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
ยุทธศาสตร์ของแผนธุรกิจด้านการสื่อสารสู่สาธารณชนโดยการวิเคระห์ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ข่าวสารที่จะสื่อผ่านการประชาสัมพันธ์ตามวัตถุประสงค์ สื่อต่างๆ จะประกอบด้วย
 สื่อสิ่งพิมพ์
 E-media เช่น E-mail, website
 Social media เช่น Youtube, Facebook, Twitter
- 8 -
 ทีวี การแสดงนิทรรศการ หรือการแถลงข่าว
 การประชุมต่างๆ การรับฟังความคิดเห็น
 การประชุมเชิงปฏิบัติการ การร่วมประชุมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
 กิจกรรมในสถานศึกษา
 การจัดกิจกรรมในที่สาธารณะ เช่น ศูนย์การค้า
การสื่อความหมายควรจะได้พิจารณาถึงภาษาที่จะต้องใช้โดยการวิเคราะห์ถึงผู้ได้รับประโยชน์
หรือผู้ใช้ประโยชน์ เช่น การใช้ภาษาอังกฤษ จีน รัสเซีย ไทย หรือประเทศเพื่อนบ้าน
ส่วนที่ 6 บทสรุป
แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีบทสรุปหรือคานาหรือมีเอกสารประกอบ เช่น
 บทสรุปสาหรับผู้บริหารด้านการสนับสนุนแผนธุรกิจ
 เอกสารโครงการประกอบท้ายบท
 โครงสร้างการดาเนินงาน
 ตัวชี้วัดที่ได้จากการใช้งบประมาณ
 กฎเกณฑ์หรือกรอบการดาเนินงาน
คานาที่ดาเนินการสรุปหรือการให้ข้อคิดเห็นโดยผู้บริหารระดับสูง เช่น อธิบดีหรือรัฐมนตรีที่
รับผิดชอบ
นอกจากนี้แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีแผนการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อ
นาไปสู่ผู้ใช้ประโยชน์ การนาภาพมาประกอบในแผนธุรกิจ การกาหนดรูปแบบเอกสาร แผนที่ กร๊าฟ หรือ
ตัวอย่าง เป็นสิ่งสาคัญที่ต้องใช้ในแผนธุรกิจ
แนวทางการดาเนินงานเกี่ยวกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
การดาเนินงานเกี่ยวกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง (Protected Area Business Plan) ได้แบ่งการ
ดาเนินงานไว้5 ขั้นตอน หรือการแบ่งคณะทางานหรือผู้มีส่วนร่วมไว้5 กลุ่ม เพื่อพิจารณารายละเอียดของ
แผนธุรกิจ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วย (1) พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่มีความเข้าใจ
ในเรื่องแผนแม่บทการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (2) พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่มีความรู้และความต้องการด้าน
โครงการอนุรักษ์การท่องเที่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมการบริหารและการบารุงรักษา
(3) พนักงานเจ้าหน้าที่ในพื้นที่คุ้มครองและผู้มีความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงบประมาณจากส่วนกลาง
(4) ผู้แทนจากชุมชนท้องถิ่น ผู้แทนภาคธุรกิจ ผู้แทนภาคอุตสาหกรรม องค์กรภาคเอกชน หรือผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดการดาเนินงานของคณะทางานทั้ง 5 กลุ่มมีดังนี้
- 9 -
คณะทางานกลุ่มที่ 1 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับการกาหนดวิสัยทัศน์ ข้อมูลพื้นฐาน
การวิเคราะห์รายละเอียดโดยใช้ SWOT Analysis
รายละเอียดการทางานของกลุ่มที่ 1 นี้จะช่วยในการกาหนดขั้นตอนในการพัฒนาแผนธุรกิจ
พิจารณาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา ข้อมูลที่จาเป็นที่ต้องนามาใช้ในแผนธุรกิจตามความต้องการให้ปรากฎ
อยู่ในเอกสารตามวัตถุประสงค์ของแผนธุรกิจ การวิเคราะห์ถึงช่องว่างของเงินงบประมาณตามแผนปฏิบัติ
งานของพื้นที่คุ้มครอง การกาหนดวิสัยทัศน์ของแผนที่เป็นแนวเชื่อมต่อของเรื่องต่างๆ การบริหาร
งบประมาณจะต้องมีความโปร่งใสและการกาหนดแนวทางปฏิบัติ
ในบทคานาจะประกอบด้วยคาอธิบายรายละเอียดของพื้นที่ที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครอง ลักษณะทาง
ภูมิศาสตร์ แผนที่แสดงรูปร่าง ขอบเขต รวมทั้งรายละเอียดของพื้นที่ใกล้เคียงและแผนที่แสดงที่ตั้งของพื้น
ที่ว่าตั้งอยู่ส่วนใดของประเทศ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง มีความจาเป็นที่ต้องอธิบายถึงรายละเอียดของชนิดพันธุ์
คุณค่าของการอนุรักษ์รวมทั้งการบริการของระบบนิเวศ กิจกรรมการอนุรักษ์รวมถึงปัจจัยอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องทางวัฒนธรรม บทบาทของชุมชนท้องถิ่น ศาสนา หรือคุณค่าทางวัฒนธรรมในพื้นที่ ข้อมูล
เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครอง กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่ต้องใช้ในการจัดการ
ขณะเดียวกันก็จะนาเอาประวัติการดาเนินงาน งบประมาณและแหล่งทุนในอดีต
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วีการ SWOT Analysis
คณะทางานกลุ่มที่ 2 พิจารณารายละเอียดการดาเนินงานด้านการจัดลาดับความสาคัญของ
กิจกรรม
คณะทางานกลุ่มที่ 2 นี้ จะดาเนินการจัดเรียงลาดับความสาคัญของกิจกรรมต่างๆ
ตามหลักการดาเนินงานของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องจัดลาดับความสาคัญ เพื่อให้มี
การดาเนินงานและมีการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ถูกต้องตามลาดับก่อนหลัง ทั้งที่มีหรือได้รับงบประมาณ
แล้วและยังไม่มีงบประมาณ ลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่จะมีความสอดคล้องกับ
แผนแม่บท คณะทางานควรจะได้พิจารณาวางแผนและให้มีความสอดคล้องกับงบประมาณที่จะได้รับการ
จัดสรร ซึ่งจะมีรายละเอียดในการจัดการ 4 เรื่องหลัก คือ
1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ประกอบด้วยกิจกรรมการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
วัฒนธรรม การจัดการชนิดพันธุ์ การวิจัย การฟื้นฟูชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์การป้ องกันไฟป่า การจัดการ
ข้อมูลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2. การจัดการท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กับชุมชน
ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องการจัดการสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว
การรักษาความปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยวและเอกสารการสื่อ
- 10 -
ความหมาย การเก็บค่าธรรมเนียม การสัมปทานภายในพื้นที่คุ้มครอง การบังคับใช้กฎหมายเพื่อรักษาความ
ปลอดภัยและคุ้มครองพื้นที่คุ้มครองโดยเฉพาะกิจกรรมที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
3. กิจกรรมด้านปฏิบัติการและการบารุงรักษา
ประกอบด้วยกิจกรรมที่ต้องการจัดการและปฏิบัติการด้านโครงสร้างของพื้นที่คุ้มครอง เช่น
สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินเท้า หรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ ลานกางเต้นท์ที่ได้กาหนดไว้ในกิจกรรม การ
บารุงรักษา การวิเคราะห์การป้ องกัน โครงสร้างด้านสิ่งก่อสร้างที่จะต้องซ่อมแซม ทดแทน การปรับปรุง
สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินเท้า เส้นทางรถยนต์และกิจกรรมอื่นๆ
4. การบริหาร
ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน การบริหารงบประมาณ กิจกรรม
สานักงาน การสื่อสาร การเก็บข้อมูล การทางานร่วมกับบุคคลอื่นหรือการมีส่วนร่วมจากภาคีในแต่ละ
ประเภทของกิจกรรม การร่วมกันอภิปรายและพิจารณาถึงรายละเอียดและการระบุยอดเงินงบประมาณในแต่
ละกิจกรรม
คณะทางานกลุ่มที่ 3 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับสถานภาพทางการเงินและงบประมาณและการ
บริหารงบประมาณ
คณะทางานกลุ่มที่ 3 นี้จะดาเนินการที่เน้นหนักไปในเรื่องของการเงินและงบประมาณเป็น
การสร้งความเข้าใจระหว่างการจัดการทรัพยากรกับเงินงบประมาณ ข้อดีข้อเสียจากการจัดการงบประมาณที่
ไม่ได้จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม
การบริหารงบประมาณควรจะได้แสดงให้ชัดเจนไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดงบประมาณรายปี
หรือระยะเวลา 5 ปี ตามข้อเสนอของแผนยุทธศาสตร์ความจาเป็นที่ต้องใช้จ่ายงบประมาณ รวมทั้งการจัดเก็บ
รายได้เพื่อนาไปใช้ในกิจกรรม (1) การจัดการทรัพยากร (2) การท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น (3) การ
ดาเนินงานและการบารุงรักษา และ (4) การบริหาร
การพิจารณาเกี่ยวกับเงินงบประมาณ จะต้องอธิบายรายละเอียดข้อมูลแหล่งเงินงบประมาณ
เช่น แหล่งเงินทุน แนวโน้มการได้รับการสนับสนุน และทรัพยากรที่ต้องการ พนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะต้อง
ดาเนินการในส่วนที่ขาดหายไป ความต้องการในอนาคตจะเกิดขึ้นได้อย่างไร การลงทุน การใช้เงิน
งบประมาณจะมีความสัมพันธ์กับรายได้อย่างไร รายละเอียดจะแสดงให้เห็นว่าแต่ละกิจกรรมมีความต้องการ
เงินงบประมาณเท่าไร
- 11 -
ตารางแสดงข้อมูลประกอบการพิจารณา (คณะทางานกลุ่มที่ 3)
กิจกรรม
เงินงบประมาณที่
ได้รับ
ความต้องการเงิน
งบประมาณ
ส่วนที่ขาดหายไป
1. การจัดการทรัพยากร
1.1
1.2
1.3
1.4
อื่นๆ
2. การท่องเที่ยว/ชุมชน
ท้องถิ่น
2.1
2.2
2.3
2.4
อื่นๆ
3. การปฏิบัติการ/บารุงรักษา
3.1
3.2
3.3
3.4
อื่นๆ
4. การบริหาร
4.1
4.2
4.3
4.4
อื่นๆ
- 12 -
คณะทางานกลุ่มที่ 4 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การปิดช่องว่างของงบประมาณ
รายละเอียดของคณะทางานกลุ่มที่ 4 จะต้องพิจารณาว่าทาอย่างไรที่จะเพิ่มเงินงบประมาณ
ดาเนินการให้มากขึ้น ซึ่งจะต้องทราบถึงเป้าหมายของการดาเนินงาน การทบทวนกิจกรรม เป้ าหมายของการ
จัดการ การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เพื่อการหาแหล่งเงินงบประมาณมาใช้ในกิจกรรมและแหล่งทุนสนับสนุน
มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดกิจกรรมที่ (1) มีเป้ าหมายการจัดการที่ชัดเจน (2) เป็นไปตามนโยบาย (3)
สามารถปฏิบัติได้ปราศจากการถูกรบกวนจากบุคคลภายนอก (4) มีผลกาไรจากกิจกรรม
แผนธุรกิจจะต้องอธิบายถึงความสาคัญของโครงการ/กิจกรรมเพื่อแสดงงบประมาณ
ในแต่ละกิจกรรมและความต้องการ เช่น การจัดการทรัพยากรที่มีการควบคุมชนิดพันธุ์ต่างถิ่น การนาชนิด
พันธุ์คืนสู่ป่าธรรมชาติ การฝึกอบรมพนักงานลาดตระเวน การวิจัย การท่องเที่ยวและการสร้างความร่วมมือ
กับชุมชนท้องถิ่น การรักษาความปลอดภัย การจัดทาหรื อการหมายแนวเขตให้ชัดเจน
การทางานร่วมกับคณะกรรมการที่ปรึกษาหรือการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ หรือการดาเนินงาน
ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ การศึกษา การประชาสัมพันธ์ การปฏิบัติงานและการบารุงรักษาสิ่งก่อสร้าง
การจัดทาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ทาถนน กิจกรรมลานกางเต้นท์การพัฒนาบุคลากร พนักงานเจ้าหน้าที่และ
การสื่อสาร เป็นต้น
การปรับลดค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นการบริหารงบประมาณภายในพื้นที่คุ้มครองและให้บรรลุเป้ าหมาย
ของกิจกรรม
1. การลดค่าใช้จ่ายที่เป็นสาธารณูปโภค โดยการจัดทาหรือผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้า หรือ
ใช้กังหันลม หรือกิจกรรมที่ร่วมกับชุมชน
2. การขยายกิจกรรมที่เรียกว่ารีไซเคิล
3. การแสวงหาแหล่งทุนจากองค์กรภายนอก
แผนยุทธศาสตร์หลักจาต้องพิจารณาถึงงบประมาณใหม่หรือความคิดไปการสนับสนุนจาก
คณะทางาน
1. การเพิ่มค่าธรรมเนียมการเข้าพื้นที่
2. ทางานร่วมกับธุรกิจการค้า โดยเฉพาะกิจกรรมการสัมปทาน
3. จัดทาสื่อประเภทที่ต้องสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เช่น ป้ ายแสดงต่างๆ แผน
ที่ เอกสาร คาแนะนา เป็นต้น
4. พัฒนากลไกการตลาด โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร
5. พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ด้านความร่วมมือโดยการชี้แจงข้อมูลที่ด่านเก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ
6. การจัดหาแหล่งทุนจากภายนอกไม่ว่าจะเป็นระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
ให้คณะทางานพิจารณาถึงแนวทางการพัฒนา แหล่งเงินสนับสนุนจากภายนอก โดยเฉพาะการ
จัดตั้งกองอนุรักษ์ (CTF)
- 13 -
คณะทางานกลุ่มที่ 5 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์
รายละเอียดของคณะทางานกลุ่มที่ 5 จะต้องพิจารณาถึงวิธีการประชาสัมพันธ์ เพื่อนาแผนธุรกิจ
พื้นที่คุ้มครองไปสู่ผู้ใช้ประโยชน์หรือผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ยุทธศาสตร์จะแสดงรายละเอียดการกาหนดข้อมูล
ข่าวสาร การสื่อสารและเครื่องมืออุปกรณ์
การเผยแพร่ข้อมูลจะต้องพิจารณา
1. สื่อสิ่งพิมพ์
2. การใช้ e-media
3. ทีวี การแถลงข่าว/การสรุปข่าว
4. การประชาพิจารณ์
5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
6. การจัดกิจกรรมในสถานศึกษา
7. การจัดนิทรรศการ
สาหรับการดาเนินงานในเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง สามารถกระทาได้ดังนี้
1. การสรุปข่าว/ข่าวย่อย
2. การรายงาน
3. การจัดนิทรรศการ
4. จดหมายข่าว
5. วีดีโอ
6. สมาร์ทโฟน
สาหรับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลควรจะพิจารณาถึงภาษาที่จะสื่อถึงผู้ใช้ประโยชน์ เช่น
ภาษาไทย อังกฤษ จีน รัสเซีย เป็นต้น การจัดทาเอกสารและการจัดหาแหล่งทุนควรจะได้กาหนดไว้ใน
แผนธุรกิจ
ประการสุดท้ายคือ แนวโน้มความเป็นไปได้ในอนาคตของแผนธุรกิจที่จะทาให้เกิดคุณค่าใน
การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพต่อไป
- 14 -
เอกสารประกอบที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
1. Daniel, Navid (2013). Business Plans for Protected Areas. CATSPA Project.
2. Exmoor National Park Business Plan 2013-2013. June 2012. United Kingdom.
3. National Park Service, U.S. Department of the Interior. (July 2003) Yellowstone National
Park Business Plan. Wyoming U.S.A.
4. North York Moors National Park Business Plan 2012-2015. North York Moors National
Park Authority. United Kingdom.
5. Masoala National Park Business Plan (2002) Madagascar.
----------------------------------------------------

More Related Content

Viewers also liked

คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
UNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES book
UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
UNDP
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
Jaae Watcharapirak
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
Auraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
Auraphin Phetraksa
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
UNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
UNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
UNDP
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
Jaae Watcharapirak
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
Sarinee Achavanuntakul
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
UNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
yah2527
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
Auraphin Phetraksa
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
UNDP
 

Viewers also liked (18)

คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
UNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
UNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
UNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
UNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
UNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
UNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
UNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
UNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
UNDP
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
UNDP
 

More from UNDP (18)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
 

แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง

  • 1.
  • 2. - 1 - รายงานข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดทาแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง หรือยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณเพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA คานา แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ได้ถูกกาหนดและนามาใช้กับพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะการสนับสนุนการบริหารจัดการด้านงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมของโครงการ และ การมีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการตัดสินใจและร่วมพัฒนาพื้นที่ คุ้มครองของประเทศ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นเครื่องมือขั้นพื้นฐานที่มีเป้ าหมายเพื่อสนับสนุนทางด้านการจัดการ งบประมาณอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะในประเทศที่กาลังพัฒนาหลายๆ ประเทศได้นาเอาแผนธุรกิจมาใช้กับพื้นที่ คุ้มครอง แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองเป็นแผนการจัดการกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับงบประมาณ โดยมีการ พิจารณาดาเนินการอย่างละเอียดสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบันจะระบุถึงงบการลงทุนกับรายได้ที่ เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ มีการวางแผนและการดาเนินงานที่เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายกับรายได้ให้มี ความสมดุลกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ฉะนั้น แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองมีบทบาทในการสนับสนุนเป้ าหมายและวัตถุประสงค์การ อนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองโดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการแก้ไข ปัญหาการจัดการที่เกิดขึ้ น แผนธุรกิจจึงมีความสาคัญในการสนับสนุนเงินงบประมาณ ที่ดาเนินงานจัดดาเนินการอย่างมีส่วนร่วมโดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังกล่าวแล้วว่าการดาเนินงานจัดทาแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการมีส่วนร่วมจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาพัฒนาแผนธุรกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่ คุ้มครองฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายวางแผน ฝ่ายจัดการพื้นที่นักวิชาการ ผู้มีอานาจตัดสินใจและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภาคส่วนอื่น ทั้งนี้เพื่อต้องการให้พื้นที่คุ้มครองมีหรือให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ แผนธุรกิจ จะอธิบายถึงเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ของพื้นที่คุ้มครอง การสนับสนุนงานดาเนินงานประจาวัน ประจาเดือนหรือประจาปี มีการขับเคลื่อนกระบวนการตามระยะเวลา โดยอยู่ภายใต้กรอบกฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง อัตรากาลัง (ที่มีการพัฒนา) งบประมาณและการบริหารของระบบนิเวศ แผนธุรกิจสาหรับพื้นที่คุ้มครอง (Business Plans for Protected Areas) จากบทนิยามศัพท์ของคาว่าแผนธุรกิจ (Business Plan) ได้ให้ความหมายไว้ว่าเป็นเอกสารที่ได้ จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจ การค้า เป็นยุทธศาสตร์วิธีการสนับสนุนโครงการเพื่อให้มีผลกาไร ในช่วงเวลาของแผน ฉะนั้น แผนธุรกิจเป็นเครื่องมือหนึ่งที่นามาใช้ในการลงทุน รูปแบบของแผนธุรกิจแต่
  • 3. - 2 - ละประเทศและวัฒนธรรม หากเป็นแผนที่ทันสมัยจะเป็นหลักการของบริษัทที่จะต้องทาตามวัตถุประสงค์ และให้ยุทธศาสตร์ของโครงการประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ความต้องการทางด้านการเงินรายได้จาก กิจกรรม มีการกาหนดตัวชี้วัดเป็นการอนุญาตให้ใช้ทรัพยากรที่ต้องการและสามารถปรับแผนยุทธศาสตร์ ด้านช่องว่างของงบประมาณได้ แผนธุรกิจได้ถูกนามาใช้ในทางธุรกิจการค้าและองค์กรที่ไม่หวังผลกาไร เร็วๆ นี้ก็ได้มี การนาแผนธุรกิจมาใช้กับหน่วยงานภาครัฐเพิ่มมากขึ้นและนามาใช้งานเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครองซึ่ง สามารถที่จะให้ผู้จัดการพื้นที่คุ้มครองกาหนดแผนกิจกรรม ความต้องการและโอกาส แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะมีคุณค่ามากเพื่อการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ร่วมงานตลอดจนผู้ให้ การสนับสนุน ทาไมต้องนาแผนธุรกิจ (Business Plan) มาใช้กับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองที่ได้มีการดาเนินงานเพื่อธุรกิจทางการค้าเป็นสินค้าสาธารณะที่ต้องได้รับการ สนับสนุนจากภาษีและค่าธรรมเนียมผู้ใช้บริการ มิได้ดาเนินงานเพื่อหวังกาไรจากการลงทุนผู้ใช้บริการคือ นักท่องเที่ยว เป็นรายได้ที่ไม่สมดุลเพื่อเปรียบเทียบกับการลงทุน รายได้ที่ได้จากการเสียค่าธรรมเนียมหรือ งบประมาณที่ได้รับจากภาษีเท่านี้ อย่างไรก็ดีแผนธุรกิจจะเป็นผลสาเร็จของการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับ จากเงินงบประมาณ พื้นที่คุ้มครองที่เป็นธุรกิจทางการค้าจะต้องมีผู้ส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาเกี่ยวข้อง ประสิทธิภาพของการจัดการ สิ่งสาคัญที่สุดคือผู้เสียภาษี หน่วยงานของภาครัฐและการมีส่วนร่วมจาก นานาชาติ เงินงบประมาณของพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับเพื่อการบริหารงานในปัจจุบันจะได้รับจากรัฐบาล จัดสรรให้ แต่หลายๆ พื้นที่คุ้มครองมีความต้องการเงินงบประมาณเพิ่มขึ้น งบประมาณรายปีที่ได้รับไม่ เพียงพอในการบริหารงาน จึงได้มีการหาแหล่งทุนจากพื้นที่อื่นหรือจากแหล่งอื่นมาสนับสนุน คือ ผู้ใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรจะต้องมีการใช้จ่าย เช่น โครงการ PES เป็นต้น รายได้จากการเก็บค่าธรรมเนียมเข้า ไปใช้พื้นที่ แม้ว่าจะมีจานวนจากัด เพราะว่ารัฐบาลได้เรียบเก็บภาษีอยู่แล้ว ในกรณีที่มีความต้องการเงินทุนสนับสนุนที่จากัดจากรัฐบาล หมายถึง งบประมาณจากรัฐบาล สาหรับพื้นที่คุ้มครองที่ไม่เพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายเพื่อให้การปฏิบัติงานสาเร็จผลตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ ของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ฉะนั้น แหล่งเงินงบประมาณสนับสนุนเพิ่มขึ้นจะต้องพึ่งพาจากผู้มีส่วนได้ส่วน เสียจากแหล่งต่างๆ เช่น จากการสนับสนุนจากสมาคมที่มีรายได้จากเศรษฐกิจ ซึ่งมีเป้ าหมายหรือเพื่อการ สนับสนุนด้านการอนุรักษ์และบริการทางสังคม แผนธุรกิจจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่เกี่ยวกับการหาแหล่งเงินทุน สาหรับใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จาต้องวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่จะได้รับและการบริการของระบบ นิเวศในพื้นที่ การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนที่สนับสนุนและแผนยุทธศาสตร์การหาแหล่งทุน
  • 4. - 3 - ความเหมาะสมของแผนธุรกิจในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ขณะที่ได้มีการนาเอาแผนธุรกิจมาเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่จาเป็นใช้ในการจัดการพื้นที่ คุ้มครอง จะต้องมีการกาหนดข้อมูลพื้นฐาน คือ มีกฎหมายที่อานวยให้ใช้ (Enabling legislation) หรือ กาหนดให้กระทาได้ จาเป็นต้องจัดทากรอบงานและนโยบายในการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศแผน ระบบพื้นที่คุ้มครอง (System Plan) มียุทธศาสตร์ในการดาเนินงานในระยะยาวและการกาหนดระดับ ความสาคัญของพื้นที่คุ้มครองทั้งประเทศ แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่จะต้องมีเฉพาะพื้นที่หรือ Site Plan จะต้องกาหนดเป็น แผนรายปี หรืออาจจะกาหนดเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ 10 ปี แผนการจัดการระดับพื้นที่ควรจะได้มี ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการจัดการจะต้องกาหนดให้ชัดเจนและสามารถที่จะปฏิบัติได้ เช่น การกาหนดเขตการจัดการในระยะยาวเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่เฉพาะได้ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่นาไปใช้เพื่อให้เกิดการจัดการที่มีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้ข้อมูลของพื้นที่และการกาหนดแผนการจัดการ (Management Plan) จึงจาเป็นต้องเตรียมไว้เป็น พื้นฐานของการจัดการทาแผนธุรกิจ ในแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองจาต้องกาหนดแผนธุรกิจไว้ในระยะ สั้นๆ (เช่น 3-5 ปี) และสามารถปรับแผนได้แผนธุรกิจจะต้องมีข้อมูลของพื้นที่และอธิบายกิจกรรมที่กาหนด กลไกการตลาดการจัดการและงบประมาณที่ต้องการ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและยุทธศาสตร์การหา แหล่งงบประมาณ กรณีที่โครงการ CATSPA ได้นาเอาวิธีการ Financial Sustainability Scorecard มาใช้กับพื้นที่ คุ้มครอง จะทาให้เห็นถึงการดาเนินงานของแผนธุรกิจ คือ แผนธุรกิจของพื้นที่คุ้มครอง จะวิเคราะห์ถึงช่องว่างของงบประมาณในการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครองและทาให้มีโอกาสใน การปรับปรุงค่าใช้จ่ายในการลงทุนหรือแหล่งทุนที่จะดาเนินการ การวิเคราะห์ช่องว่างของงบประมาณจะ เป็นสิ่งสาคัญที่เป็นพื้นฐานของแผนธุรกิจ (เช่น ยุทธศาสตร์เชิงธุรกิจ ลาดับความสาคัญ ข้อมูลของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเครื่องมือในการวางแผนและประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง แผนงานรายปี (Annual Work Plan) จะต้องนามาใช้ในการดาเนินการในแต่ละพื้นที่ในแต่ละปี กิจกรรมเฉพาะจะต้องสัมพันธ์กับงบประมาณที่กาหนดให้ เพื่อใช้เป็นตัวชี้วัดความสาเร็จในการพัฒนาพื้นที่ คุ้มครอง มีข้อสังเกตถึงองค์ประกอบของแผนธุรกิจจะต้องอธิบายตัวหัวข้อรายละเอียดที่แตกต่างกันไป ตามแต่ละพื้นที่ของพื้นที่คุ้มครอง องค์ประกอบของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง สาหรับวิธีการกาหนดรูปแบบหรือองค์ประกอบของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นเอกสารที่มีประโยชน์ต่อ พื้นที่คุ้มครอง โดยการสนับสนุนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทางการดาเนินงานที่เป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้ มีการหาแหล่งทุนภายนอกมาดาเนินงาน
  • 5. - 4 - 1. คานา เป็ นเรื่องปกติของการที่จะกาหนดโครงการต่างๆ จะต้องมีคานาของโครงการ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของพื้นที่คุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของรัฐบาลหรือหน่วยงานที่ รับผิดชอบ เป็นการอธิบายถึงความสาคัญของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่าง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้มีส่วนร่วมอื่นๆ มีตารางองค์ประกอบตามบทสรุปด้านความสาคัญของแผนธุรกิจ รวมทั้งวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่และงบประมาณที่กาหนด 2. วิสัยทัศน์ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองที่ ชัดเจน โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ที่เหมาะสม 3. ข้อมูลพื้นฐาน แผนธุรกิจในขั้นตอนนี้จะแบ่งออกเป็นหลายหัวข้อย่อยได้หลายอย่างเป็นการอธิบายถึง ลักษณะของภูมิประเทศของพื้นที่คุ้มครอง ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรม มีแผนที่และขอบเขตพื้นที่ชัดเจน มี การแสดงถึงประวัติและสถานภาพตามกฎหมายในการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองและการจัดการพื้นที่การ สนับสนุนข้อมูลรายละเอียด เพื่อดูแนวโน้มของงบประมาณ จานวนนักท่องเที่ยว แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง อาจจะมีการวิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย ความเป็นไปได้หรือความเสี่ยง (SWOT Analysis) ไว้ในแผนดังกล่าวด้วย 4. ขั้นตอนของโปรแกรมงาน การกาหนดแผนธุรกิจไว้ในระยะเวลาของการจัดการพื้นที่คุ้มครองว่าเป็นระยะเวลา กี่ปี จะอธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการดาเนินงาน เช่น กิจกรรมการอนุรักษ์ การจัดการการท่องเที่ยว การ ประชาสัมพันธ์ การบริหารกิจกรรมที่ต้องดาเนินการและการสนับสนุนกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมที่ ต้องการงบประมาณจากแหล่งเงินทุนภายนอก แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะสัมพันธ์กับงบประมาณที่บ่งบอก ถึงรายละเอียดในแต่ละปี (Annual Work plan) 5. ข้อมูลเชิงการตลาด เป็นข้อมูลที่จะใช้ในแผนยุทธศาสตร์การตลาดหรือแผนธุรกิจทางการค้า ซึ่งไม่เคยพบใน แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง อย่างไรก็ดีแผนธุรกิจที่กาหนดจะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การตลาดโดยการ ตัดสินใจ กลไกการตลาดเพื่อเป็นแนวทางการบริหารพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจของชาติ รวมทั้งราคา การแข่งขันและลูกค้า
  • 6. - 5 - 6. ข้อมูลด้านการเงิน จะเป็นส่วนที่ประกอบด้วยแผนธุรกิจในหลายๆ กิจกรรมที่มีข้อมูลทางด้านการเงิน งบประมาณที่ต้องการของแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละเรื่อง มีการปรึกษาร่วมกัน เรื่องของทรัพยากร ที่สนับสนุนพื้นที่คุ้มครองและความยั่งยืนของแหล่งทุน การรายงานเรื่องแนวโน้มของสถานการณ์ที่จะ เป็นไปได้ การป้ องกัน การเกิดช่องว่างของการจัดการและงบประมาณที่จะอธิบายถึงผลสัมฤทธิ์ของการ จัดการได้ 7. ยุทธศาสตร์ทางด้านงบประมาณ ส่วนนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญที่สุดในเรื่องของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่อยู่บนพื้นฐาน ของข้อมูลดังกล่าวแล้วเป็นยุทธศาสตร์ในการลดช่องว่างทางด้านการเงินสาหรับการจัดการพื้นที่โดยการ พัฒนา ลาดับความสาคัญของกิจกรรม การเพิ่มงบประมาณโดยการพิจารณาถึงพื้นที่เป็นสาคัญ รวมถึงการ พิจารณาถึงข้อมูลที่เป็นกลไกของรายได้ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสัมปทาน ค่าบริการของระบบนิเวศและ งบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่นๆ เช่น การบริจาค กองทุนและโครงการร่วมในพื้นที่ เป็นต้น ซึ่งจะเป็น ยุทธศาสตร์ทางการลงทุน สุดท้ายการหวังผลกาไรที่กาหนดขึ้นมา เช่น นโยบายการจัดการพื้นที่คุ้มครองสี เขียว การใช้พลังงานทดแทน การกาจัดมลพิษหรือการร่วมลงทุน 8. บทสรุป แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่เป็นขั้นตอนสุดท้าย คือ การสรุปแผนยุทธศาสตร์ที่เป็นไปได้และ การนาข้อมูลสู่สาธารณะพิจารณา โดยมีเอกสารแนบพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง จะต้องสรุปกาหนดขั้นตอน และการกาหนดโครงสร้างการบริหาร ผลประโยชน์ที่จะได้รับทางการเงิน กฎระเบียบ กรอบงานต่างๆ ที่เป็น ประโยชน์อันอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ขั้นตอนต่อไปของโครงการ CATSPA โครงการ CATSPA จะต้องพิจารณาถึงเวลาที่จะกาหนดในเรื่องการพัฒนาแผนธุรกิจสาหรับ พื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย การกาหนดแผนธุรกิจของพื้นที่คุ้มครองนาร่องเพื่อให้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงานสาหรับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ต่อไป การกาหนดแผนธุรกิจจะกาหนดให้สอดคล้องกับการบริหาร พื้นที่คุ้มครองของประเทศ โดยการดาเนินงานเฉพาะพื้นที่และควรดาเนินงานหลังจากที่ได้ดาเนินการแผน ระบบพื้นที่คุ้มครองแล้ว อย่างไรก็ตามการพัฒนางานด้านนี้ก็จะต้องดาเนินการต่อไปตามความสาคัญของ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองที่เป็นเรื่องใหม่และต้องได้รับการสนับสนุนในการจัดทาแผนจากหน่วยงาน รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
  • 7. - 6 - รายละเอียดที่จะต้องกาหนดในแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่-แผนที่แสดงที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครอง ลักษณะภูมิประเทศและ ขอบเขตที่ตั้ง  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง-ชนิดพันธุ์พืช/สัตว์ ถิ่นที่อาศัย คุณค่าในการอนุรักษ์ รวมถึงการบริการของระบบนิเวศ  สถิตินักท่องเที่ยวและการจัดการแหล่งท่องเที่ยว  กฎหมายและกฎระเบียบที่ใช้บังคับในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง  โครงสร้างการบริการพื้นที่คุ้มครอง (บุคลากร ภาระหน้าที่รับผิดชอบ บทบาทของ หน่วยงาน)  ข้อมูลที่แสดงสถิติด้านงบประมาณในอดีตที่ได้รับจัดสรรจากภาครัฐและรายได้จากการเก็บ ค่าธรรมเนียม ส่วนที่ 2 กิจกรรม/โครงการของแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครอง ให้รวบรวมกิจกรรม/โครงการ การดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย มีรายละเอียดที่แสดงถึงจานวนเงินงบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงาน  การจัดการทรัพยากร – เป็ นกิจกรรมการจัดการชนิดพันธุ์หรือการวิจัยในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับชนิดพันธุ์ การฟื้นฟูระบบนิเวศ การจัดการไฟป่า การป้ องกันพื้นที่ทางวัฒนธรรม กฎหมายที่ ใช้บังคับและวิธีการจัดการที่เหมาะสม  การจัดการท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กับชุมชน-เป็นข้อมูลเกี่ยวกับนักท่องเที่ยวและการ จัดการ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ อุปกรณ์การสื่อความหมาย การเก็บเงินค่าธรรมเนียม การสัมปทาน การรักษาความปลอดภัยให้นักท่องเที่ยว การบังคับใช้กฎหมายและการสร้างความร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น  กิจกรรมการดาเนินงานและการบารุงรักษา – การซ่อมแซม การทดแทนและการฟื้ นฟู สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ยานพาหนะและอุปกรณ์อื่นๆ  การบริหารงาน – การบริหารบุคลากรในพื้นที่คุ้มครอง การวางแผน การบริหารงบประมาณ งานวิชาการ การประชาสัมพันธ์ การจัดการหรือการพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ การสื่อสารและ การจัดการข้อมูลการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านงบประมาณ เป็นการแสดงถึงข้อมูลด้านงบประมาณที่ต้องใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ คุ้มครอง การพิจารณาถึงแหล่งเงินงบประมาณของพื้นที่ที่จะต้องใช้ในการขอรับการสนับสนุน
  • 8. - 7 - ข้อมูลด้านงบประมาณที่แสดงถึงจานวนที่ได้รับในอนาคต (ส่วนใหญ่แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง จะกาหนดระยะเวลาไว้5 ปี) ข้อมูลด้านค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นตามความต้องการ แหล่งรายได้ตามกิจกรรมที่กาหนด ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาช่องว่างของงบประมาณ ในส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อการดาเนินงานด้านช่องว่างของงบประมาณ ที่มีจากัด โดยมีหลักเกณฑ์ที่กาหนดและการจัดลาดับความสาคัญ  มีเป้าหมายที่ชัดเจน  มีนโยบายที่แน่นอน  มีบุคลากรพร้อมในการปฏิบัติงาน  ผลที่ได้รับสามารถตรวจวัดได้  ควรจะได้มีการวิเคราะห์และลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่ไม่ได้รับงบประมาณ ที่ไม่สามารถกาหนดวงเงินงบประมาณได้ เช่น ลาดับความสาคัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวกับ การควบคุมชนิดพันธุ์ต่างถิ่น การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ป่าธรรมชาติ การฝึกอบรมการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ การวิจัยสิ่งใหม่ๆ เป็นต้น  การลดค่าใช้จ่ายในส่วนที่ไม่จาเป็น เพื่อนาทรัพยากรงบประมาณไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ เช่น การลดการใช้พลังงานสาธารณะโดยหันไปใช้พลังงานจากธรรมชาติ เช่น พลังงานจากน้า กังหันลม น้าประปาภูเขา โดยการมีความร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น การนากลับมาใช้ใหม่ การสร้างแรงจูงใจให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ลดการใช้พลังงานที่สิ้นเปลือง หรือประหยัดการใช้พลังงาน หรือการใช้พลังงานทดแทน อื่นๆ เป็นต้น  การจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครอง (CTF) โดยวิธีการต่างๆ เช่น การเพิ่มค่าธรรมเนียม ค่าใช้สถานที่เพื่อนาเงินรายได้มาจัดตั้งเป็นกองทุนอนุรักษ์ การมีส่วนร่วมกับผู้ใช้ประโยชน์ทางด้านการค้า ภายในพื้นที่คุ้มครอง เช่น การให้สัมปทาน การขายของที่ระลึกต่างๆ การรับบริจาค ความร่วมมือกับ หน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งอาสาสมัครทางานร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่ การทางาน ร่วมกับองค์กรภาคเอกชน การศึกษาวิจัย และการนาเอาวิธีการค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) มาใช้กับ โครงการ ส่วนที่ 5 ยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ยุทธศาสตร์ของแผนธุรกิจด้านการสื่อสารสู่สาธารณชนโดยการวิเคระห์ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ข่าวสารที่จะสื่อผ่านการประชาสัมพันธ์ตามวัตถุประสงค์ สื่อต่างๆ จะประกอบด้วย  สื่อสิ่งพิมพ์  E-media เช่น E-mail, website  Social media เช่น Youtube, Facebook, Twitter
  • 9. - 8 -  ทีวี การแสดงนิทรรศการ หรือการแถลงข่าว  การประชุมต่างๆ การรับฟังความคิดเห็น  การประชุมเชิงปฏิบัติการ การร่วมประชุมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  กิจกรรมในสถานศึกษา  การจัดกิจกรรมในที่สาธารณะ เช่น ศูนย์การค้า การสื่อความหมายควรจะได้พิจารณาถึงภาษาที่จะต้องใช้โดยการวิเคราะห์ถึงผู้ได้รับประโยชน์ หรือผู้ใช้ประโยชน์ เช่น การใช้ภาษาอังกฤษ จีน รัสเซีย ไทย หรือประเทศเพื่อนบ้าน ส่วนที่ 6 บทสรุป แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีบทสรุปหรือคานาหรือมีเอกสารประกอบ เช่น  บทสรุปสาหรับผู้บริหารด้านการสนับสนุนแผนธุรกิจ  เอกสารโครงการประกอบท้ายบท  โครงสร้างการดาเนินงาน  ตัวชี้วัดที่ได้จากการใช้งบประมาณ  กฎเกณฑ์หรือกรอบการดาเนินงาน คานาที่ดาเนินการสรุปหรือการให้ข้อคิดเห็นโดยผู้บริหารระดับสูง เช่น อธิบดีหรือรัฐมนตรีที่ รับผิดชอบ นอกจากนี้แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีแผนการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อ นาไปสู่ผู้ใช้ประโยชน์ การนาภาพมาประกอบในแผนธุรกิจ การกาหนดรูปแบบเอกสาร แผนที่ กร๊าฟ หรือ ตัวอย่าง เป็นสิ่งสาคัญที่ต้องใช้ในแผนธุรกิจ แนวทางการดาเนินงานเกี่ยวกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง การดาเนินงานเกี่ยวกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง (Protected Area Business Plan) ได้แบ่งการ ดาเนินงานไว้5 ขั้นตอน หรือการแบ่งคณะทางานหรือผู้มีส่วนร่วมไว้5 กลุ่ม เพื่อพิจารณารายละเอียดของ แผนธุรกิจ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องกับแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วย (1) พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่มีความเข้าใจ ในเรื่องแผนแม่บทการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (2) พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่มีความรู้และความต้องการด้าน โครงการอนุรักษ์การท่องเที่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมการบริหารและการบารุงรักษา (3) พนักงานเจ้าหน้าที่ในพื้นที่คุ้มครองและผู้มีความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงบประมาณจากส่วนกลาง (4) ผู้แทนจากชุมชนท้องถิ่น ผู้แทนภาคธุรกิจ ผู้แทนภาคอุตสาหกรรม องค์กรภาคเอกชน หรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดการดาเนินงานของคณะทางานทั้ง 5 กลุ่มมีดังนี้
  • 10. - 9 - คณะทางานกลุ่มที่ 1 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับการกาหนดวิสัยทัศน์ ข้อมูลพื้นฐาน การวิเคราะห์รายละเอียดโดยใช้ SWOT Analysis รายละเอียดการทางานของกลุ่มที่ 1 นี้จะช่วยในการกาหนดขั้นตอนในการพัฒนาแผนธุรกิจ พิจารณาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา ข้อมูลที่จาเป็นที่ต้องนามาใช้ในแผนธุรกิจตามความต้องการให้ปรากฎ อยู่ในเอกสารตามวัตถุประสงค์ของแผนธุรกิจ การวิเคราะห์ถึงช่องว่างของเงินงบประมาณตามแผนปฏิบัติ งานของพื้นที่คุ้มครอง การกาหนดวิสัยทัศน์ของแผนที่เป็นแนวเชื่อมต่อของเรื่องต่างๆ การบริหาร งบประมาณจะต้องมีความโปร่งใสและการกาหนดแนวทางปฏิบัติ ในบทคานาจะประกอบด้วยคาอธิบายรายละเอียดของพื้นที่ที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครอง ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ แผนที่แสดงรูปร่าง ขอบเขต รวมทั้งรายละเอียดของพื้นที่ใกล้เคียงและแผนที่แสดงที่ตั้งของพื้น ที่ว่าตั้งอยู่ส่วนใดของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง มีความจาเป็นที่ต้องอธิบายถึงรายละเอียดของชนิดพันธุ์ คุณค่าของการอนุรักษ์รวมทั้งการบริการของระบบนิเวศ กิจกรรมการอนุรักษ์รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทางวัฒนธรรม บทบาทของชุมชนท้องถิ่น ศาสนา หรือคุณค่าทางวัฒนธรรมในพื้นที่ ข้อมูล เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครอง กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่ต้องใช้ในการจัดการ ขณะเดียวกันก็จะนาเอาประวัติการดาเนินงาน งบประมาณและแหล่งทุนในอดีต การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วีการ SWOT Analysis คณะทางานกลุ่มที่ 2 พิจารณารายละเอียดการดาเนินงานด้านการจัดลาดับความสาคัญของ กิจกรรม คณะทางานกลุ่มที่ 2 นี้ จะดาเนินการจัดเรียงลาดับความสาคัญของกิจกรรมต่างๆ ตามหลักการดาเนินงานของแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองจะต้องจัดลาดับความสาคัญ เพื่อให้มี การดาเนินงานและมีการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่ถูกต้องตามลาดับก่อนหลัง ทั้งที่มีหรือได้รับงบประมาณ แล้วและยังไม่มีงบประมาณ ลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่จะมีความสอดคล้องกับ แผนแม่บท คณะทางานควรจะได้พิจารณาวางแผนและให้มีความสอดคล้องกับงบประมาณที่จะได้รับการ จัดสรร ซึ่งจะมีรายละเอียดในการจัดการ 4 เรื่องหลัก คือ 1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบด้วยกิจกรรมการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและ วัฒนธรรม การจัดการชนิดพันธุ์ การวิจัย การฟื้นฟูชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์การป้ องกันไฟป่า การจัดการ ข้อมูลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. การจัดการท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กับชุมชน ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องการจัดการสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว การรักษาความปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยวและเอกสารการสื่อ
  • 11. - 10 - ความหมาย การเก็บค่าธรรมเนียม การสัมปทานภายในพื้นที่คุ้มครอง การบังคับใช้กฎหมายเพื่อรักษาความ ปลอดภัยและคุ้มครองพื้นที่คุ้มครองโดยเฉพาะกิจกรรมที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น 3. กิจกรรมด้านปฏิบัติการและการบารุงรักษา ประกอบด้วยกิจกรรมที่ต้องการจัดการและปฏิบัติการด้านโครงสร้างของพื้นที่คุ้มครอง เช่น สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินเท้า หรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ ลานกางเต้นท์ที่ได้กาหนดไว้ในกิจกรรม การ บารุงรักษา การวิเคราะห์การป้ องกัน โครงสร้างด้านสิ่งก่อสร้างที่จะต้องซ่อมแซม ทดแทน การปรับปรุง สิ่งก่อสร้าง ถนน ทางเดินเท้า เส้นทางรถยนต์และกิจกรรมอื่นๆ 4. การบริหาร ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน การบริหารงบประมาณ กิจกรรม สานักงาน การสื่อสาร การเก็บข้อมูล การทางานร่วมกับบุคคลอื่นหรือการมีส่วนร่วมจากภาคีในแต่ละ ประเภทของกิจกรรม การร่วมกันอภิปรายและพิจารณาถึงรายละเอียดและการระบุยอดเงินงบประมาณในแต่ ละกิจกรรม คณะทางานกลุ่มที่ 3 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับสถานภาพทางการเงินและงบประมาณและการ บริหารงบประมาณ คณะทางานกลุ่มที่ 3 นี้จะดาเนินการที่เน้นหนักไปในเรื่องของการเงินและงบประมาณเป็น การสร้งความเข้าใจระหว่างการจัดการทรัพยากรกับเงินงบประมาณ ข้อดีข้อเสียจากการจัดการงบประมาณที่ ไม่ได้จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม การบริหารงบประมาณควรจะได้แสดงให้ชัดเจนไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดงบประมาณรายปี หรือระยะเวลา 5 ปี ตามข้อเสนอของแผนยุทธศาสตร์ความจาเป็นที่ต้องใช้จ่ายงบประมาณ รวมทั้งการจัดเก็บ รายได้เพื่อนาไปใช้ในกิจกรรม (1) การจัดการทรัพยากร (2) การท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น (3) การ ดาเนินงานและการบารุงรักษา และ (4) การบริหาร การพิจารณาเกี่ยวกับเงินงบประมาณ จะต้องอธิบายรายละเอียดข้อมูลแหล่งเงินงบประมาณ เช่น แหล่งเงินทุน แนวโน้มการได้รับการสนับสนุน และทรัพยากรที่ต้องการ พนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะต้อง ดาเนินการในส่วนที่ขาดหายไป ความต้องการในอนาคตจะเกิดขึ้นได้อย่างไร การลงทุน การใช้เงิน งบประมาณจะมีความสัมพันธ์กับรายได้อย่างไร รายละเอียดจะแสดงให้เห็นว่าแต่ละกิจกรรมมีความต้องการ เงินงบประมาณเท่าไร
  • 12. - 11 - ตารางแสดงข้อมูลประกอบการพิจารณา (คณะทางานกลุ่มที่ 3) กิจกรรม เงินงบประมาณที่ ได้รับ ความต้องการเงิน งบประมาณ ส่วนที่ขาดหายไป 1. การจัดการทรัพยากร 1.1 1.2 1.3 1.4 อื่นๆ 2. การท่องเที่ยว/ชุมชน ท้องถิ่น 2.1 2.2 2.3 2.4 อื่นๆ 3. การปฏิบัติการ/บารุงรักษา 3.1 3.2 3.3 3.4 อื่นๆ 4. การบริหาร 4.1 4.2 4.3 4.4 อื่นๆ
  • 13. - 12 - คณะทางานกลุ่มที่ 4 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การปิดช่องว่างของงบประมาณ รายละเอียดของคณะทางานกลุ่มที่ 4 จะต้องพิจารณาว่าทาอย่างไรที่จะเพิ่มเงินงบประมาณ ดาเนินการให้มากขึ้น ซึ่งจะต้องทราบถึงเป้าหมายของการดาเนินงาน การทบทวนกิจกรรม เป้ าหมายของการ จัดการ การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เพื่อการหาแหล่งเงินงบประมาณมาใช้ในกิจกรรมและแหล่งทุนสนับสนุน มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดกิจกรรมที่ (1) มีเป้ าหมายการจัดการที่ชัดเจน (2) เป็นไปตามนโยบาย (3) สามารถปฏิบัติได้ปราศจากการถูกรบกวนจากบุคคลภายนอก (4) มีผลกาไรจากกิจกรรม แผนธุรกิจจะต้องอธิบายถึงความสาคัญของโครงการ/กิจกรรมเพื่อแสดงงบประมาณ ในแต่ละกิจกรรมและความต้องการ เช่น การจัดการทรัพยากรที่มีการควบคุมชนิดพันธุ์ต่างถิ่น การนาชนิด พันธุ์คืนสู่ป่าธรรมชาติ การฝึกอบรมพนักงานลาดตระเวน การวิจัย การท่องเที่ยวและการสร้างความร่วมมือ กับชุมชนท้องถิ่น การรักษาความปลอดภัย การจัดทาหรื อการหมายแนวเขตให้ชัดเจน การทางานร่วมกับคณะกรรมการที่ปรึกษาหรือการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ หรือการดาเนินงาน ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ การศึกษา การประชาสัมพันธ์ การปฏิบัติงานและการบารุงรักษาสิ่งก่อสร้าง การจัดทาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ทาถนน กิจกรรมลานกางเต้นท์การพัฒนาบุคลากร พนักงานเจ้าหน้าที่และ การสื่อสาร เป็นต้น การปรับลดค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นการบริหารงบประมาณภายในพื้นที่คุ้มครองและให้บรรลุเป้ าหมาย ของกิจกรรม 1. การลดค่าใช้จ่ายที่เป็นสาธารณูปโภค โดยการจัดทาหรือผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้า หรือ ใช้กังหันลม หรือกิจกรรมที่ร่วมกับชุมชน 2. การขยายกิจกรรมที่เรียกว่ารีไซเคิล 3. การแสวงหาแหล่งทุนจากองค์กรภายนอก แผนยุทธศาสตร์หลักจาต้องพิจารณาถึงงบประมาณใหม่หรือความคิดไปการสนับสนุนจาก คณะทางาน 1. การเพิ่มค่าธรรมเนียมการเข้าพื้นที่ 2. ทางานร่วมกับธุรกิจการค้า โดยเฉพาะกิจกรรมการสัมปทาน 3. จัดทาสื่อประเภทที่ต้องสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เช่น ป้ ายแสดงต่างๆ แผน ที่ เอกสาร คาแนะนา เป็นต้น 4. พัฒนากลไกการตลาด โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร 5. พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ด้านความร่วมมือโดยการชี้แจงข้อมูลที่ด่านเก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ 6. การจัดหาแหล่งทุนจากภายนอกไม่ว่าจะเป็นระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ให้คณะทางานพิจารณาถึงแนวทางการพัฒนา แหล่งเงินสนับสนุนจากภายนอก โดยเฉพาะการ จัดตั้งกองอนุรักษ์ (CTF)
  • 14. - 13 - คณะทางานกลุ่มที่ 5 พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ รายละเอียดของคณะทางานกลุ่มที่ 5 จะต้องพิจารณาถึงวิธีการประชาสัมพันธ์ เพื่อนาแผนธุรกิจ พื้นที่คุ้มครองไปสู่ผู้ใช้ประโยชน์หรือผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ยุทธศาสตร์จะแสดงรายละเอียดการกาหนดข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสารและเครื่องมืออุปกรณ์ การเผยแพร่ข้อมูลจะต้องพิจารณา 1. สื่อสิ่งพิมพ์ 2. การใช้ e-media 3. ทีวี การแถลงข่าว/การสรุปข่าว 4. การประชาพิจารณ์ 5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดกิจกรรมในสถานศึกษา 7. การจัดนิทรรศการ สาหรับการดาเนินงานในเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง สามารถกระทาได้ดังนี้ 1. การสรุปข่าว/ข่าวย่อย 2. การรายงาน 3. การจัดนิทรรศการ 4. จดหมายข่าว 5. วีดีโอ 6. สมาร์ทโฟน สาหรับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลควรจะพิจารณาถึงภาษาที่จะสื่อถึงผู้ใช้ประโยชน์ เช่น ภาษาไทย อังกฤษ จีน รัสเซีย เป็นต้น การจัดทาเอกสารและการจัดหาแหล่งทุนควรจะได้กาหนดไว้ใน แผนธุรกิจ ประการสุดท้ายคือ แนวโน้มความเป็นไปได้ในอนาคตของแผนธุรกิจที่จะทาให้เกิดคุณค่าใน การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพต่อไป
  • 15. - 14 - เอกสารประกอบที่ควรศึกษาเพิ่มเติม 1. Daniel, Navid (2013). Business Plans for Protected Areas. CATSPA Project. 2. Exmoor National Park Business Plan 2013-2013. June 2012. United Kingdom. 3. National Park Service, U.S. Department of the Interior. (July 2003) Yellowstone National Park Business Plan. Wyoming U.S.A. 4. North York Moors National Park Business Plan 2012-2015. North York Moors National Park Authority. United Kingdom. 5. Masoala National Park Business Plan (2002) Madagascar. ----------------------------------------------------