SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
- 1 -
การจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อการพัฒนาการเกษตร
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความนา
ตามที่ได้มีการประเมินระบบนิเวศในรอบสหัสวรรษ (MEA, 2005) พบว่า การเปลี่ยนแปลงของ
ระบบนิเวศที่สาคัญในระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการใช้ประโยชน์ที่ดินในอัตราส่วน
ที่สูงมาก พื้นที่ป่าไม้ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน รวมถึงแหล่งน้าต่างๆ ถูกนาไปใช้ประโยชน์โดยเฉพาะการใช้ที่ดิน
เพื่อการเกษตร พื้นที่ป่าไม้ชนิดต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ทางบกจานวน 9 ใน 14 ประเภท ประมาณว่า 20-50 %
ของพื้นที่เหล่านี้ได้เปลี่ยนไปเป็นพื้นที่การเกษตร ประเทศแถบโซนร้อนมีอัตราส่วนการทาลายที่สูงมาก
GEF (2014) ได้รายงานไว้ว่า ผลผลิตทางการเกษตรหลัก 3 ชนิด คือ ถั่วเหลือง เนื้อสัตว์และปาล์มน้ามันที่
ต้องใช้พื้นที่ดินเพื่อดาเนินการสูงถึง 80% โดยเฉพาะพื้นที่ป่าไม้แถบโซนร้อน ผลผลิตดังกล่าวเป็นสินค้าออก
ของประเทศที่สาคัญที่ใช้ดารงชีวิตของประชากรในประเทศ ขณะเดียวกันประชากรในพื้นที่ดังกล่าวก็ยังมี
การต่อสู้กับความอดยากและความยากจน
การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการประเมินพบว่าในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงใน
อัตราส่วนที่เร็วมาก หรือเร็วกว่าตัวเลขที่คาดคะเนไว้ในหลายๆ โครงการมีการศึกษาถึงการเพิ่มขึ้นของ
ประชากรโลกที่สัมพันธ์กับความต้องการอาหารเพิ่มขึ้นถึง 70% เป็นอย่างน้อย ในอีก 35 ปีข้างหน้า หรือ
อาจจะถึง 110% (Bruinsma, 2009) การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินดังกล่าวที่ถูกนามาใช้เพื่อทาการเกษตร
ทุ่งหญ้าเลี้ยงปศุสัตว์รวมถึงการพัฒนาชนบท เหล่านี้จึงเป็นภัยคุกคามที่ทาลายระบบนิเวศธรรมชาติ
Tilman et.al. (2011) รายงานว่า แนวโน้มการทาลายหรือการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ยังเพิ่มมาก
ขึ้น นับเป็นจานวนล้านล้านเฮกแตร์ ซึ่งมากกว่าที่คาดคิดไว้จะเกิดขึ้นในปี 2050 แต่มีบางกิจกรรมจากการทา
การเกษตรที่จะต้องมีการพัฒนาในหลายๆ ประการเพื่อทาให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น จากการคานวณพบว่าการใช้
ประโยชน์ที่ดินในปี 1961 จานวน 1.4 ล้านล้านเฮกแตร์ และในปี 2008 มีการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเป็นจานวน
1.5 ล้านล้านเฮกแตร์ ถึงแม้ว่าประชากรของโลกเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า จาก 3 ล้านล้านคนในปี 1961 เป็น
จานวน 6.8 ล้านล้านคนในปี 2008 (มากกว่าค่าเฉลี่ย 7.2 ล้านล้านคนในปี2014) การใช้พื้นที่ดินป่าไม้เพื่อทา
การเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้มีการทาลายระบบนิเวศธรรมชาติ ในปัจจุบัน
ผลผลิตจากพื้นที่การเกษตร ความต้องการด้านแก๊สชีวภาพ พลังงานและผลผลิตทางอาหาร จะต้องมีการ
พัฒนาเพิ่มผลผลิตจากพื้นที่ดินเกษตรเพื่อให้สามารถอานวยผลประโยชน์และมีคุณค่าในระดับท้องถิ่นได้
ผลผลิตอาหารจากภาคเกษตรกรรมที่เกิดขึ้นในโลกนี้ได้เกื้อกูลการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นที่
ยอมรับในทุกระดับ ว่าแนวคิดใหม่ๆ ของความต้องการพัฒนาด้านอาหารของมนุษย์และชนิดพันธุ์อื่นๆที่มี
อยู่ อาหารบางชนิดจะได้จากพื้นที่คุ้มครองเป็นความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองและผลผลิตทางการ
เกษตรจากการใช้บริการของระบบนิเวศ (MEA, 2005) ตามกรอบงานที่กาหนด ความยั่งยืนของการใช้
- 2 -
ประโยชน์ในอนาคต จะต้องดาเนินการเพิ่มผลผลิตให้มีประสิทธิภาพและการบริการของระบบนิเวศจาก
พื้นที่คุ้มครอง แนวคิดในการดาเนินงานเรื่องนี้จึงเป็นการสร้างความเข้าใจจากทฤษฎีต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพ ผลผลิตด้านอาหารจากพื้นที่คุ้มครอง
การเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดการสูญเสียความ
หลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นเรื่องของความหลากหลายหรือ
ความผันแปรของสิ่งมีชีวิตและความซับซ้อนของระบบสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศที่มีความหลากหลายในชนิด
พันธุ์และระบบนิเวศ ความซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตเป็นความหลากหลาย การกระจายและความมากน้อยชนิด
พันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้มีการค้นหาแหล่งที่อยู่
ใหม่ๆ การใช้ประโยชน์ที่ดินจะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาและสถานที่ อย่างไรก็ดีชนิดพันธุ์ที่มีกระดูก
สันหลังได้ถูกประเมินเป็นปริมาณมากน้อยไว้เช่น การจัดพิมพ์หนังสือ IUCN Red List of Threatened
Species
ที่ได้กาหนดชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม เพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของชนิดพันธุ์จากระดับที่ไม่มีข้อมูลจนถึงการ
สูญพันธุ์ที่ขึ้นอยู่กับปริมาณของชนิดพันธุ์ องค์กร IUCNได้จัดพิมพ์หนังสือครั้งสุดท้ายปรากฏว่าสถานภาพ
ของสัตว์จานวน 76,199 ชนิด (ชนิดพันธุ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า) พบว่า 22, 416 ชนิด
(30%) ได้รับภัยคุกคามจนใกล้จะสูญพันธุ์ จากการลดลงของระบบนิเวศ หากว่าไม่ได้รับการดูแลและการ
สนับสนุนจากประชาชนทุกระดับที่เกี่ยวข้องอัตราการสูญพันธุ์จะยังมีต่อไปในอนาคต
หากว่าจะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง
พบว่าได้มีมาตรการการอนุรักษ์ที่เพิ่มขึ้น จากสถิติปัจจุบัน ทั่วโลกที่มีพื้นที่คุ้มครองทางบกประมาณ 15.4%
และพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ประมาณ 3.4% โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครองทางทะเลประมาณ 8.4% ถูกกาหนดให้
เป็นเขตเศรษฐกิจ จากข้อมูลของ UNEP-WCMC (2014) รายงานว่าพื้นที่คุ้มครองทั่วโลกมีไม่ต่ากว่า 200,000
แห่ง พื้นที่คุ้มครองเหล่านี้มีการจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความเข้มแข็งในการจัดการและไม่รวมถึงพื้นที่
คุ้มครองที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชน หรือพื้นที่คุ้มครองที่ครอบครองของประชาชนที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ พื้นที่คุ้มครองหลายแห่งที่ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อการอนุรักษ์ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
และให้มีการจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อเป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ที่เป็นแหล่งผลิตทางด้านอาหาร
ปรากฏการณ์หลายๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ล่วงหน้าในอนาคตว่าระบบนิเวศจะมี
การเปลี่ยนแปลงที่สูงมาก แม้ว่าองค์กร IUCN ได้จัดพิมพ์หนังสือกาหนดชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่หาได้ยากถึง 733
ชนิด จากการพิสูจน์ของนักวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้องและรายงานไว้ว่า ถ้าหากมีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพิ่มขึ้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ภายในปี 2040 ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าที่ได้ยากมากว่า 1,000 ชนิด จะ
สูญหายไปจากถิ่นที่อาศัยเดิม ในเมื่อถิ่นที่อาศัยมีการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ก็ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจะเป็นสาเหตุหลักที่เกี่ยวข้อง ได้มีการวิเคราะห์แล้วว่ามีชนิดพันธุ์มากกว่า
2,334 ชนิด ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและจานวนชนิดพันธุ์ดังกล่าวก็อยู่ในสถานภาพที่
ต่ามาก
- 3 -
ความเสี่ยงหรือความไม่มั่นคงของนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศที่มีผลกระทบ
ต่อการดารงชีวิตมนุษย์เหตุการณ์ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การ
นาพลังงานมาใช้หรือหลายๆ อย่างรวมกัน จะต้องกาหนดให้เป็นนโยบายที่ชัดเจน อย่างไรก็ดีการสนับสนุน
แนวทางการดาเนินงานให้ได้ผลในอนาคตจากภาคส่วนต่างๆ ของประชาชน เราต้องอนุรักษ์ระบบนิเวศให้
สมบูรณ์มีประสิทธิภาพในด้านการจัดการผลประโยชน์เพื่อผลผลิตของชนิดพันธุ์รวมทั้งทรัพยากรมนุษย์
และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ
1. การบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครองกับความเชื่อมโยงของผลผลิตทางด้านอาหาร
ผลของการประเมินระบบนิเวศในรอบสหัสวรรษ(MEA,2005) รายงานว่าการบริการของระบบ
นิเวศมีความเชื่อมโยงโดยตรงกับการบริการผลผลิตทางด้านอาหารของมนุษย์ รวมถึงอานวยผลผลิตด้าน
การเกษตรอื่นๆ เช่น พืชพันธุ์ ผลผลิตทางด้านการประมง พืชเภสัชกรรม น้าที่สะอาดและสัตว์ป่า การบริการ
ด้านการเกื้อกูล เช่น การเกิดความอุดมสมบูรณ์ของดิน การสังเคราะห์แสงของพืช วัฏจักรของแร่ธาตุ การ
ควบคุมสัตว์ผู้ล่าที่ทาลายพืชผลทางการเกษตรหรือแหล่งอาหาร (เช่น แมลงและหนู เป็นต้น) การบริการด้าน
การควบคุมกลไกของระบบ เช่น การอนุรักษ์แหล่งต้นน้า การถ่ายละอองเรณูพันธุ์ไม้การควบคุมภูมิอากาศ
การดูดซับคาร์บอน และการดักจับมลพิษในพื้นที่ชุ่มน้า การบริการทางด้านวัฒนธรรม เช่น การบริการด้าน
ความสุขทางจิตใจที่เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเพณี องค์ความรู้ท้องถิ่นเกี่ยวกับผลผลิตของ
อาหาร ซึ่งการบริการด้านวัฒนธรรมนี้จะสัมพันธ์กับผลผลิตทางด้านอาหาร รวมทั้งการบริการด้านการ
เกื้อหนุนและการควบคุมกลไกการบริการของระบบนิเวศ ที่เน้นหนักไปในเรื่องกระบวนการของระบบนิเวศ
และลักษณะทางกายภาพที่นาไปสู่ความปลอดภัยของแหล่งอาหาร คุณค่าของอาหารและความสาคัญต่างๆ ที่
ไม่สามารถระบุคุณค่าได้
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ด้านการบริการของระบบนิเวศสามารถที่จะดาเนินการได้
โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ในพื้นที่คุ้มครอง เช่น การประเมินมูลค่าของการบริการระบบนิเวศ มีค่าประมาณ
125-145 ล้านล้านล้านเหรียญสหรัฐต่อปี แต่ความสูญเสียด้านการบริการของระบบนิเวศอย่างน้อยปีละ 4.5
ล้านล้านล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าของการบริการของระบบนิเวศไม่สามารถที่จะนามาคานวณได้หรือไม่
สามารถจะชดเชยความสูญเสียของระบบนิเวศได้ที่ใช้บริการแล้วสูญเสียไปเลย มูลค่าบางอย่างของระบบ
นิเวศไม่สามารถบอกถึงราคาที่เป็นสินค้าได้ หรือมีการจัดการในแนวคิดของการตลาดได้ จึงจาเป็นต้องใช้
หลักเศรษฐศาสตร์กาหนดมูลค่าเพื่อให้เป็นนโยบายที่นาสู่สาธารณชนได้
การจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อการการอนุรักษ์พันธุกรรม ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศให้มีความ
เชื่อมโยงกับการดารงชีวิตของมนุษย์ ส่วนใหญ่แล้วพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยระบบนิเวศที่สมบูรณ์ใน
ระดับต่างๆ การสนับสนุนงบประมาณจากภาคส่วนอื่นๆที่ต้องใช้ดาเนินการดูแลรักษาไว้เพื่อให้มีการบริการ
ของระบบนิเวศ เพื่อสร้างความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศให้อานวยประโยชน์ทางด้านผลผลิตของอาหาร
จากข้อเท็จจริงพบว่าความสมบูรณ์ของระบบนิเวศจะประกอบด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบ ปราศจากภัย
คุกคามจากภายนอก พื้นที่ขนาดใหญ่ที่มีความอุดมสมบูรณ์จะมีความสามารถในการรองรับการเปลี่ยนแปลง
- 4 -
ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น ประโยชน์
ทางด้านผลผลิตของอาหารหลายอย่างที่เกิดจากการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการของ
ระบบนิเวศ โดยผ่านกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ
2. ความเชื่อมโยงระหว่างผลผลิตทางด้านอาหารกับการลดลงของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
มีการศึกษาพบว่า การพัฒนาในด้านต่างๆ ของมนุษย์จะสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์พื้นที่ดิน
ตามความต้องการเพื่อให้พื้นที่ดินสามารถรองรับและสนับสนุนผลผลิตของระบบนิเวศได้ หรือกล่าวอย่าง
ง่ายๆ ว่าความยั่งยืนขึ้นอยู่กับการพัฒนาการดารงชีวิตของมนุษย์ที่ต้องการเพิ่มการบริโภคทรัพยากรใน
ทิศทางเดียวกันเรียกว่าความสัมพันธ์การเพิ่มการบริโภคทรัพยากรในทิศทางเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์
หรือความเชื่อมโยงกัน ในการประชุมขององค์กร UNEP เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กล่าวถึงการ
ใช้ประโยชน์ทรัพยากรในทางเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด ให้มีการลดผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมให้มีผลประโยชน์
ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติมากที่สุด
ทฤษฎีเกี่ยวกับการผลิตอาหารที่เชื่อมโยงกับทรัพยากร หมายถึง การใช้ประโยชน์พื้นที่ดินใน
ปริมาณน้อย การลงทุนน้อยเพื่อผลผลิตที่ต้องการให้มากที่สุด โดยเฉพาะปริมาณและคุณภาพมากที่สุดต่อ
หน่วยเนื้อที่ การแก้ไขผลกระทบความเชื่อมโยง หมายถึง การลดความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่มา
ทาลายผลผลิตทางการเกษตรโดยลดการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้น หรือการขยายพื้นที่ทากินปลูกพืชเกษตร
ในขณะที่ความเชื่อมโยงที่มีผลกระทบที่ไม่ต้องการโดยเฉพาะการใช้สารเคมี เป็นต้น จากการที่มีความมั่นคง
และการขายผลผลิตทางการเกษตรให้มีความยั่งยืนได้ก็จะมีผลประโยชน์ในการดารงชีวิตของมนุษย์
Sayer and Cassman (2013) ได้เสนอผลการศึกษาด้านนวัตกรรมทางการเกษตร เพื่อต้องการ
เพิ่มผลผลิตทางด้านอาหารและต้องการให้ใช้ประโยชน์ที่ดินในจานวนน้อย การลดผลกระทบจาก
สิ่งแวดล้อมหรือภัยคุกคามในพื้นที่ ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยทางการเกษตรในหลายๆ ด้านเพื่อการเพิ่มผลผลิต
มากกว่าการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความสามารถของ
เกษตรกร สถาบันหรือหน่วยงาน นโยบายทางด้านเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันรัฐบาลได้พยายามที่จะดาเนินการ
บารุงรักษาหรือการฟื้ นฟูพื้นที่คุ้มครองให้มีความอุดมสมบูรณ์เพื่ออานวยผลประโยชน์ทางด้านผลผลิต
อาหารให้แก่ประชาชนในอนาคต
- 5 -
การพัฒนาผลผลิตทางด้านการเกษตรจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้ต้นทุนต่า
ผลจากการพัฒนาผลผลิตทางด้านอาหารจากการตัดแต่งพันธุกรรมจะทาให้มีผลผลิตทางอาหาร
เพิ่มขึ้น พื้นที่คุ้มครองจึงเป็นตัวเชื่อมโยงที่ทาให้เกิดกระบวนการดังกล่าว คือ มีพันธุกรรมแท้จากพื้นที่
คุ้มครอง ในทางปฏิบัติมีการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า ผลผลิตอาหารจากทรัพยากรธรรมชาติสามารถปรับปรุง
ได้โดยใช้เทคโนโลยีถึง 80% เช่น การปรับปรุงแหล่งน้า การพลังงาน เพื่อให้ได้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นแต่ใช้ต้นทุน
ต่า
เหตุการณ์ดังกล่าวจะพบเห็นได้บ่อยมาก ซึ่งเรามักจะเรียกว่าช่องว่างผลผลิต (ความแตกต่าง
ระหว่างผลผลิตในปัจจุบันกับผลผลิตตามเป็นจริง) ที่มีการใช้ทรัพยากรที่เพียงพอ เช่น น้า แร่ธาตุ เป็นต้น
มีการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีทางการเกษตร การควบคุมภัยธรรมชาติ การปิดช่องว่างดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยต่างๆ ที่คาดกว่าจะมีผลกระทบกับการบริการของระบบนิเวศ โดยมีการเน้นในเรื่องผลประโยชน์จาก
ผลผลิตอาหารอย่างยั่งยืน มีการใช้ประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองที่เพิ่มขึ้น เช่น
การควบคุมศัตรูพืช การผสมพันธุ์และวัฏจักรของแร่ธาตุ ซึ่งพื้นที่คุ้มครองมีส่วนช่วยอานวยผลประโยชน์ใน
สิ่งเหล่านี้ได้
ความเชื่อมโยงของประสิทธิภาพในการลงทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ ถึงแม้ว่าชนิดพันธุ์จะมี
ความหลากหลายสายพันธุ์และระบบจะให้ผลผลิตที่แตกต่างกัน การที่จะทาให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นจะต้องมีการ
พึ่งพาธรรมชาติด้วยเป็นอย่างน้อย (Gray et.al. 2014) ได้รายงานว่า ผลผลิตของข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวจ้าว ถั่ว
เหลือง มีเพิ่มขึ้นมากถึง 240% ในช่วงปี 1961-2008 กิจกรรมการเกษตรดังกล่าวจะทาให้มีการเพิ่มขึ้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ที่มีผลทาให้เกิดภาวะเรือนกระจกและทาให้โลกร้อน จึงเป็นการทาให้เกิด
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
3. พื้นที่คุ้มครองกับการอานวยผลประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศ
จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าองค์ประกอบของระบบนิเวศทั้งหมดสามารถที่จะให้บริการ
สนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหาร เป็นการบริการด้านเป็นแหล่งผลิต เป็นพื้นที่การเกษตร การเพาะเลี้ยงสัตว์
น้า การทาไม้ การเก็บหาของป่า ซึ่งเป็นตัวอย่างพื้นฐานด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ในส่วนนี้จึงได้
เน้นหนักไปในเรื่องด้านการบริการของระบบนิเวศที่ได้จากพื้นที่คุ้มครองในการสนับสนุนผลผลิตทางด้าน
อาหาร
3.1 พื้นที่คุ้มครองอานวยผลผลิตด้านอาหารให้แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยเฉพาะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐาน
อยู่ใกล้ๆ พื้นที่คุ้มครองที่มีการปลูกพืชการเกษตรและการเก็บหาของป่าเพื่อการดารงชีพ พืชป่าหลายชนิดที่
ขึ้นอยู่ในป่ า สามารถใช้เป็นอาหารได้ ชุมชนชาวชาวบ้านจะเข้าไปเก็บหาของป่ าจากพื้นที่คุ้มครอง
โดยเฉพาะเขตการจัดการ บางพื้นที่ชุมชนจะเข้าไปเก็บเพื่อนาไปขายเป็นสินค้าได้ เป็นการยากที่คิดออกมา
เป็นผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ จะต้องมีการกาหนดเป็นนโยบายให้ชัดเจน ของป่าหลายชนิดที่ห้ามเก็บ
หรือที่มีการเก็บโดยผิดกฎหมายโดยเฉพาะในพื้นที่คุ้มครอง ที่ปรากฏว่ามีการเก็บแล้วนาไปจาหน่าย พื้นที่
- 6 -
คุ้มครองเป็นแหล่งอานวยประโยชน์ทางด้านอาหารที่เกิดความขัดแย้งของชุมชน พื้นที่คุ้มครองหลายแห่ง
เป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ด้านชนิดพันธุ์สัตว์โดยเฉพาะการดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นที่ต้องการใช้
เป็นแหล่งอาหาร
3.2 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมของธรรมชาติ วัตถุประสงค์ประการแรกของ
การจัดตั้งพื้นที่คุ้มครอง คือ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งชนิดพันธุ์จะเป็นชนิดพันธุ์ดั้งเดิมที่มี
อยู่ในปัจจุบันเพื่อการอยู่รอดและมีการพัฒนาภายในพื้นที่คุ้มครอง นักวิชาการสาขาพืชจะนาเอาความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชที่มีการดาเนินการได้ปรับตัวให้เข้ากับสภาพในปัจจุบัน หรือการ
เปลี่ยนแปลง พันธุกรรมของพืชดั้งเดิม นักวิชาการจะให้ความสาคัญกับชนิดพันธุ์ดั้งเดิม โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีทางชีวภาพที่มีลักษณะตามธรรมชาติ จะเห็นได้จากทรัพยากรพันธุกรรมในรูปแบบของไม้ดอก
ไม้ผล เปลือกไม้ ใบไม้ เมล็ดไม้ หรือผลไม้ สามารถที่จะดูแลรักษาไว้มิให้ถูกรบกวนหรือถูกทาลาย
โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง ตามกฎหมายห้ามกระทาลายพืชพันธุ์ พรรณไม้หลายๆ ชนิดเป็นสินค้าหรือ
ประชาชนใช้ร่วมกัน การนาพืชไปปลูกในพื้นที่ป่ามีการดาเนินการกันแพร่หลายในอดีตนั้นมีเป็นจานวนมาก
การพัฒนาและการจัดการชนิดพันธุ์ขึ้นอยู่กับการอนุรักษ์พันธุ์ดั้งเดิมเพื่อเป็นการบริโภคที่ปลอดภัย
3.3 พื้นที่คุ้มครองกับการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นแหล่ง
ผลิตที่สาคัญและอานวยผลประโยชน์ให้แก่มนุษย์นับมาเป็นเวลาพันๆ ปี เป็นแหล่งอานวยทรัพยากรทาง
ชีวภาพที่มนุษย์ใช้ในการบริโภค พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งเป็นพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการเก็บเกี่ยวเอา
ทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะอาหารทะเล ถึงแม้ว่าจะเป็นแหล่งที่ห้ามทาการประมงก็ตาม เหตุการณ์เหล่านี้ก็มี
ข้อมูลให้เห็นอยู่แล้ว คือ ความชุกชุมของชนิดพันธุ์ปลาและชนิดพันธุ์อื่นๆ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์
ในพื้นที่คุ้มครองมีการใช้ประโยชน์จาเป็นต้องมีการจัดแบ่งเขตการจัดการ มีเขตห้ามจับปลาภายในเขตของ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จะเป็นการทาให้พื้นที่คุ้มครองทางทะเลมีเขตการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและมี
ประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ เขตห้ามจับปลาชาวประมงจะได้รับผลประโยชน์มาก เนื่องมาจากเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ปลาและปลาจะออกไปจากเขตพื้นที่ดังกล่าวให้สามารถจับมาบริโภคได้ ฉะนั้น พื้นที่คุ้มครองทาง
ทะเลจึงมีประโยชน์ทางด้านการผลิตอาหารทางทะเลสาหรับประชาชนได้เป็นจานวนมาก
3.4 พื้นที่คุ้มครองกับการสนับสนุนการผลิตขั้นปฐมภูมิ ในทุกๆ ระบบนิเวศจะมีผู้ผลิตขั้น
ปฐมภูมิที่ประกอบด้วยอินทรีย์สารต่างๆ โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงในสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิต โดย
การดูดซับเอาพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์คาร์บอนไดออกไซด์และน้า เพื่อถ่ายทอดไปยังพืชและสัตว์ต่อไป
อย่างไรก็ดีอัตราการผลิตขั้นปฐมภูมิจะเกิดขึ้นได้ดีในระบบนิเวศธรรมชาติดั้งเดิม ป่าดงดิบหรือแหล่ง
ปะการังในน้ามีความหลากหลาย จึงมีความต้องการอนุรักษ์ระบบนิเวศดั้งเดิมโดยเฉพาะในพื้นที่คุ้มครอง
และมีความสามารถในการสนับสนุนให้เกิดความเข้มแข็งในการผลิตอาหาร
3.5 พื้นที่คุ้มครองช่วยสนับสนุนการเกิดขึ้นของวัฏจักรแร่ธาตุ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์
พืชเป็นแหล่งผลิตสุทธิของขั้นปฐมภูมิ พื้นที่คุ้มครองทางบกที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินและความอุดม
สมบูรณ์แร่ธาตุช่วยเกื้อหนุนชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่คุ้มครองและเชื่อมโยงกับพื้นที่ทางการเกษตร น้าในลาห้วย
ลาธารจากพื้นที่คุ้มครอง สารแร่ธาตุต่างๆ จะถูกชะล้างโดยน้าฝน การรวมตัวของดินจะเป็นแหล่งรวมของแร่
- 7 -
ธาตุในระบบนิเวศ เป็นที่รวมของแบคทีเรีย เห็ดรา จุลินทรีย์ สัตว์ในดิน ไส้เดือนและชนิดพันธุ์อื่นๆ ก็ได้
พัฒนาตัวเองตามธรรมชาติ เป็นการเพิ่มปุ๋ ยและแร่ธาตุที่พืชดูดซับไปใช้ได้ ในขณะเดียวกันการอนุรักษ์พื้นที่
คุ้มครองจะเป็นการบารุงรักษาไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของดิน การป้ องกันดินพังทลาย จะอานวยการบริการ
ความอุดมสมบูรณ์ด้านอาหารให้แก่ประชาชน การทาไร่เลื่อนลอยยังเป็นการอนุรักษ์พื้นที่ดินในบาง
สถานภาพ การจัดการพื้นที่คุ้มครองสามารถนามาใช้เป็นตัวชี้วัดเพื่อการเปรียบเทียบระหว่างความอุดม
สมบูรณ์ของดินกับความหลากหลายทางชีวภาพ ชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในดินจะถ่ายมูลทาให้ดินมีความอุดม
สมบูรณ์เพิ่มขึ้น นกนางแอ่นหรือชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในถ้าหรือพื้นที่อื่นจะเพิ่มปุ๋ ยจากมูลทาให้ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์และอานวยประโยชน์ให้แก่พืชหรือแร่ธาตุที่ไหลไปตามลาน้า น้าที่ใช้ในการชลประทาน
สาหรับเกษตรกรในพื้นที่ราบต่านอกพื้นที่คุ้มครองจะได้รับปุ๋ ยที่ไหลไปกับน้าด้วย
3.6 พื้นที่คุ้มครองช่วยสนับสนุนการถ่ายละอองเรณูของพืชเกษตร (การถ่ายเกสรตัวผู้ไปสู่
เกสรตัวเมีย) กระบวนการถ่ายละอองเรณูในพืชเป็นการแลกเปลี่ยนเกสรและการผสมพันธุ์ของพันธุ์พืช การ
ถ่ายละอองเรณูดังกล่าวเกิดจากสัตว์ป่าถึง 75% โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า
ที่ช่วยถ่ายละอองเรณูในพืชที่สาคัญ เช่น ค้างคาว ผีเสื้อ แมลง หรือชนิดพันธุ์อื่นๆ พื้นที่คุ้มครองจะอานวย
ประโยชน์ให้ชนิดพันธุ์ดังกล่าวได้อาศัยอยู่ในป่าธรรมชาตินั้นๆอย่างปลอดภัย ขณะเดียวกันผู้ถ่ายละอองเรณู
ในพื้นที่คุ้มครองจะได้รับประโยชน์และได้รับการรักษาดูแลชนิดพันธุ์เหล่านี้ได้ถึง 80%
3.7 พื้นที่คุ้มครองกับการรักษาแหล่งน้าและอานวยน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชน พื้นที่คุ้มครอง
โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้าจะมีส่วนช่วยกลั่นกรองมลพิษต่างๆ จากพื้นที่การเกษตรได้ถึง 80%
สามารถที่จะพิสูจน์ได้ว่าพืชพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้าจะดักจับมลพิษที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งโลหะ
หนักที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ในหลายๆ ประเทศประชาชนมักจะได้รับมลพิษจากน้า รวมทั้ง
สารพิษ แบคทีเรีย การชะล้างหน้าดินจากพื้นที่การเกษตร การดักจับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่
คุ้มครองสามารถที่จะอานวยผลประโยชน์ทางด้านการอานวยน้าให้สะอาดและดักจับของเสีย ชนิดของพันธุ์
พืชที่คอยดักจับอินทรีย์สารที่เป็นมลพิษทาให้คุณภาพของน้าดีขึ้น ฉะนั้น พื้นที่คุ้มครองที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้าจะ
ช่วยขจัดน้าสกปรกให้เป็นน้าดี โดยเฉพาะชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่ระบบนิเวศแหล่งน้าเป็นตัวกรองมลพิษที่
บริการแหล่งน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชนและมีคุณภาพ
3.8 พื้นที่คุ้มครองช่วยป้ องกันและควบคุมภัยธรรมชาติ บริเวณที่เป็นภูเขาสูง แหล่งน้า
ชายทะเล จะเป็นพื้นที่ที่ช่วยป้ องกันภัยจากธรรมชาติอันอาจจะเกิดขึ้น เพื่อมิให้เกิดภัยพิบัติแก่ประชาชนใน
ท้องถิ่น หรือพื้นที่การเกษตรกรหรือแหล่งเพาะพันธุ์ปลา การรักษาพื้นที่ให้เป็นธรรมชาติที่เป็นป่าไม้ มี
ต้นไม้ปกคลุม เมื่อฝนตกหนักป่าไม้ก็จะช่วยลดผลกระทบจากการไหล่บ่าของน้าหรือชะลอการไหลของน้า
ป้องกันลมพายุ ป้องกันการชะล้างหน้าดินหรือดินพังทลายที่อาจจะเกิดได้ พันธุ์ไม้ในพื้นที่คุ้มครองเป็นแนว
กันลมเป็นอย่างดีที่ช่วยความรุนแรงของลมพายุ ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองที่สมบูรณ์ก็จะช่วยป้ องกันการ
เกิดน้าท่วมได้จะเห็นว่าพื้นที่คุ้มครองมีบทบาทในการป้องกันภัยธรรมชาติได้ฉะนั้น หน่วยงานรับผิดชอบที่
เกี่ยวข้องจะต้องมีบทบาทในการป้ องกันร่วมกัน เช่น การป้ องกันภัยแล้งหรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศ อันอาจจะเกิดขึ้นได้โดยไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้า การจัดการแม่น้า ลาน้าให้เป็นธรรมชาติจะ
- 8 -
เป็นการป้ องกันมิได้เกิดการพังทลายของดินและการกัดเซาะชายฝั่ง ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าและ
การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์
3.9 พื้นที่คุ้มครองช่วยป้ องกันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเกษตรมีความสัมพันธ์กับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเกิดความแห้งแล้งหรือฝนตกชุกหรือตกหนักจนเกิดน้าท่วม ราคาของ
ผลผลิตสินค้าเกษตรจะมีการเปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิดความสาคัญทางนโยบายหรือการเปลี่ยนแปลงของ
นโยบาย เช่น ภาวะอาหรับสปริง (Arab Spring) ซึ่งเป็นช่องว่างระยะเวลาการเกิดความแห้งแล้งในแถบภาค
ตะวันตกของเอเชีย (Center for Climate and Security, 2015) เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ มี
การศึกษาวิจัยพบว่าพื้นที่คุ้มครองที่มีต้นไม้เจริญเติบโตนับเป็นร้อยๆ ปี ก็ยังคงเป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนใน
อัตราที่เพิ่มขึ้นทั้งในต้นไม้และในดิน ป่ารุ่นใหม่ก็มีความสามารถที่จะใช้เป็นตัววัดความเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศได้ ที่สาคัญคือคาร์บอนที่ถูกเก็บกักอยู่ในพื้นที่ไม้ที่มีอายุมากและมีประสิทธิภาพ ถ้าหากว่าป่าไม้
ดั้งเดิมถูกทาลายก็จะมีการปลดปล่อยก๊าซสู่บรรยากาศมากขึ้น เป็นข้อยืนยันว่าการอนุรักษ์ป่าไม้ที่มีได้ยืนต้น
ที่มีอายุมากในพื้นที่คุ้มครองจะมีความชื้นสูงเพราะเป็นแหล่งเก็บกักน้าใต้ดินได้ดี
3.10 ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองสามารถควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคบางชนิดได้
ระบบนิเวศที่หลากหลายในพื้นที่คุ้มครอง มีส่วนช่วยควบคุมการแพร่กระจายของแมลงศัตรูพืชทาง
การเกษตร ตลอดจนควบคุมโรคระบาดที่อาจจะส่งผลกระทบกับชีวิตของมนุษย์ เช่น การเปลี่ยนแปลงของ
ประชากรยุงที่ก่อให้เกิดเชื้อโรคไข้มาเลเรียให้อยู่ในพื้นที่คุ้มครองที่มีการป้ องกันมิให้สู่มนุษย์ ความ
หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครองช่วยลดการแพร่กระจายของโรคระบาดได้ โดยเฉพาะสัตว์ที่อาศัยอยู่
ในป่าที่กินแมลงเป็นอาหาร เช่น ค้างคาวที่กินแมลงเป็นอาหาร งู นกเค้าแมวและชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่กินหนูเป็น
อาหารซึ่งหนูเป็นพานะนาเชื้อโรค และทาลายพืชผลทางการเกษตร
3.11 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
ภายในพื้นที่คุ้มครองเป็นที่อยู่ของสัตว์ป่าผู้ล่าและเหยื่อที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตทางด้านอาหาร การทาลาย
พืชผลทางด้านทางการเกษตรจากสัตว์ป่า เช่น ช้างป่า หมูป่า กวางป่า และชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่กินพืชเกษตรเป็น
อาหาร แมลงหลายชนิดที่เป็นศัตรูพืชที่ทาลายพืชผลทางเกษตรทั้งก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวพวกหนูหรือ
สัตว์ฟันแทะชนิดอื่นๆ ที่บริโภคพืชผลการเกษตรจะทาให้เกิดความเสียหายทางเกษตรเป็นจานวนมาก บาง
ประเทศความเสียหายในลักษณะนี้จะมีมากถึง 40% ของมวลผลผลิตรวม การจัดการพื้นที่คุ้มครองสามารถที่
จะลดการสูญเสียระบบนิเวศได้ การคงไว้ซึ่งสัตว์ผู้ล่าที่กินชนิดพันธุ์ที่ทาลายพืชผลทางการเกษตร สัตว์กิน
เนื้อขนาดใหญ่จะกินสัตว์ที่ทาลายพืชเกษตร เช่น หมูป่า กวางป่า ลิง หรืองูชนิดต่างๆ ที่กินสัตว์ฟันแทะเป็น
อาหาร นกกินแมลงมีประสิทธิภาพในการกินแมลงศัตรูพืช เป็นการควบคุมทางชีวภาพ ทาให้เกิดผลดีทาง
ผลผลิตจากการเกษตรและลดการใช้สารเคมีในการปราบศัตรูพืช ฉะนั้น ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
ในพื้นที่คุ้มครองจะเป็นองค์ประกอบที่ทาให้ระบบนิเวศเกษตรมีความสมบูรณ์ด้วย
3.12 พื้นที่คุ้มครองกับการบริการทางด้านวัฒนธรรม นวัตกรรมใหม่ๆ ในสหัสวรรษที่มีการ
ประเมินระบบนิเวศที่มีการเชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชนที่อาศัย
อยู่ในเขตชนบทมีความสัมพันธ์กับทัศนียภาพของพื้นที่ในถิ่นที่อาศัยที่มีความแตกต่างกันไป ความสัมพันธ์
- 9 -
ระหว่างถิ่นที่อาศัยกับความศักดิ์สิทธิ์ของพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองหลายๆ แห่งที่ชุมชนมีประเพณี
วัฒนธรรมและบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในด้านการอนุรักษ์ ชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครองมีความรู้ความเข้าใจ
ระบบนิเวศของพื้นที่คุ้มครองและมีจิตใจรักพื้นที่ มีส่วนช่วยหน่วยงานรับผิดชอบพื้นที่คุ้มครองและทางาน
ร่วมกันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
ความเชื่อมโยงระหว่างการจัดการพื้นที่คุ้มครองกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในหรือรอบๆ พื้นที่
คุ้มครองจะเป็นการเปิดโอกาสให้มีการใช้พื้นที่คุ้มครองเป็นห้องสมุดธรรมชาติขนาดใหญ่ การพัฒนาและ
การจัดการพื้นที่คุ้มครองจะเป็นการอานวยผลประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศให้แก่ประชาชน
ประชาชนในบางพื้นที่มีวัตถุประสงค์อนุรักษ์เพื่อการสนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหาร เส้นใยและสินค้า
อื่นๆ รวมทั้งการบริการทางระบบนิเวศในเขตเมืองหรือชนบท ทาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการ
อนุรักษ์เพิ่มขึ้น แนวทางต่างๆ เหล่านี้จึงเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐและ
เอกชน บางครั้งจะต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่หัวหน้าและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน
พื้นที่คุ้มครอง
Kothari et.al. (2012) รายงานว่า ในหลายๆประเทศจะมีการบริหารพื้นที่คุ้มครองระบบนี้
เรียกว่า พื้นที่อนุรักษ์ของชุมชนหรือ Community Conserved Areas ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นองค์ประกอบของพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่อนุรักษ์ของชุมชนเป็นหลักการในการ
จัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะการสนับสนุนวัตถุประสงค์หลักของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การบริหาร
จัดการหรือหลักธรรมาภิบาลที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างประชาชนในท้องถิ่นและหน่วยงานบริหารจัดการ
พื้นที่คุ้มครองให้อานวยผลผลิตทางการเกษตรหรืออาหารจากภาคการเกษตร
4. การบริการของระบบนิเวศกับผลผลิตทางด้านอาหาร
การบริการของระบบนิเวศที่เป็นแหล่งอานวยผลผลิตทางการเกษตรดังกล่าวแสดงว่าผลผลิต
ทางการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครอง ฉะนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะต้องอนุรักษ์ การจัดการและการฟื้นฟูพื้นที่คุ้มครอง โดยการให้ความสาคัญกับพื้นที่คุ้มครองในเรื่อง :
4.1ให้มีการจัดทาแผนระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ โดยการให้ความสาคัญและการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพอันจะอานวยผลประโยชน์ในการพัฒนาการเกษตร การกาหนดให้พื้นที่
คุ้มครองมีความสาคัญและมีการพัฒนาในระดับชาติหรือภูมิภาค การทาให้พื้นที่คุ้มครองมีบทบาทที่แสดงให้
เห็นว่าผลผลิตสินค้าการเกษตรที่เพิ่มขึ้นกับคุณค่าของพื้นที่คุ้มครอง โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบเฉพาะภาค
ส่วนของหน่วยงานการเกษตร การประมงที่อาศัยการบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครอง แผนการ
จัดการภาคการเกษตรจะต้องกาหนดกรอบการทางานที่มีวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน สอดคล้องกับนโยบายใน
การผลิตอาหารในธรรมชาติ รวมถึงความเชื่อมโยงกันในแต่ละพื้นที่ โดยใช้วิธีการจัดทาแนวเชื่อมต่อกันใน
แต่ละพื้นที่ โดยใช้วิธีการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศที่มีการวิเคราะห์ขนาดของพื้นที่ ทาการศึกษาวิจัย
- 10 -
การติดตามประเมินผลเพื่อให้พื้นที่คุ้มครองช่วยแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสนับสนุน
ให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้านผลผลิตที่เป็นอาหารของมนุษย์เพื่อการดารงชีวิตให้ความอยู่ดีกินดี
4.2การพิจารณาถึงการปลูกพืชการเกษตรที่ยั่งยืนในพื้นที่คุ้มครอง มีหลายๆ พื้นที่ที่มีการปลูก
พืชอยู่ภายในเขตที่ให้ผลผลผลิตอย่างยั่งยืนและมีประโยชน์ต่อพื้นที่คุ้มครอง ผลผลิตทางการเกษตรที่เป็น
สินค้าหลักหรือพืชที่ปลูกช่วยลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น ผลผลิตของกาแฟ 38% โกโก้ 22% ปาล์มน้ามัน
15% และพืชเกษตรอื่นๆ ที่มีการแสดงให้เห็นว่าพืชเหล่านี้มีการป้ องกันถิ่นที่อาศัย การดาเนินงานได้กาหนด
ห้ามครอบครองที่ดินหรือทาให้มีผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและการควบคุมชนิดพันธุ์ที่รุกรานหรือ
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น แต่ต้องการให้มีประโยชน์ระยะยาว ชาวสวนหรือชาวประมงสามารถผลิตอาหารให้เพิ่มขึ้น
การเกษตรดังกล่าวจะช่วยในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง ลดปัญหาภัยคุกคาม
จากฟาร์มและการปลูกพืชในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่คุ้มครอง พืชเกษตรบางชนิดเจริญเติบโตได้ดี ซึ่งเป็นที่
ต้องการของเกษตรกร เกษตรกรบางคนจะได้รับผลตอบแทนสูงกว่าที่ได้รับจากการบริหารจัดการพื้นที่
คุ้มครอง
5. บทสรุป
เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า การพัฒนาต่างๆ เพื่อการดารงชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการ
รักษาไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศรวมทั้งการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น การทาลายระบบนิเวศจะมี
ผลกระทบกับการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นการแสดงให้เห็นว่าพื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวมของพันธุกรรม
ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศ เป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์อย่างเอนกประสงค์ด้านการผลิตอาหาร หน่วยงาน
รับผิดชอบด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองควรจะได้กาหนดนโยบาย สนับสนุนในการใช้การบริการของระบบ
นิเวศที่เป็นการสนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหารรวมทั้งการควบคุมพันธุกรรมของพืชในพื้นที่คุ้มครอง
สนับสนุนให้มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของพืชเกษตรในลักษณะของการดาเนินงานวนเกษตร ที่สามารถ
จัดพื้นที่ที่อยู่ในประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างหนึ่ง ผลประโยชน์ที่ควรได้รับควรจะได้รับควรจะได้
พิจารณาในระดับชาติที่กาหนดเป็นแผนระบบพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กรมประมง กรมชลประทาน ควรจะได้พิจารณาถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองที่สาคัญ
คือกระทรวงการคลังที่จะได้รับผลประโยชน์จากสินค้าที่เป็นรายได้สหประชาชาติ พื้นที่คุ้มครองอานวย
ผลประโยชน์ทางด้านการผลิตอาหารโดยการสนับสนุนเงินงบประมาณเพียงพอกับการบริหารจัดการพื้นที่
และพื้นที่คุ้มครองและให้พื้นที่คุ้มครองอานวยประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศ
----------------------------------------------
- 11 -
เอกสารประกอบการเรียบเรียง
1. Bruinsma, J. 2009. The Resource Outlook to 2050: Expert Meeting on How to Feed the World
United Nations Food and Agriculture Organization, Rome.
2. Center for Climate and Security. 2013. The Arab Spring and Climate Change Center for
American Progress, Washington, D.C.
3. GEF, 2014. Taking tropical deforestation out of Commodity supply chains. Global Environment
Facility, Washington, D.C.
4. Gray, J.M. et al. 2014. Direct human influence on atmosphere CO2 seasonality from increased
cropland productivity. Nature 515: 398-401.
5. IUCN, 214. IUCN Red List of Threatened species Version 2014.3
6. Kothari, A., et.al.2012. Recognizing and support territories and areas conserved by indigenous
peoples and local communities CBD Technical Series 64:1-160
7. MEA (Millennium Ecosystem Assessment) 2005. Ecosystems and Human Well-being: Current
State and Trends (Volume I). Island Press, Washington, D.C.
8. Sayer, J. and K.G. Cassman. 2013. Agricultural innovation to protect the environment.
Proceeding of the National Academy of Sciences. USA 110 (21) : 8345-8348.
9. Tilman, D., et. al. 2011. Global food demand and the Sustainable intensification of agriculture.
Proceedings of the National Academy of Sciences 108(5): 20260-20264.
10. UNEP-WCMC 2011. Review of the biodiversity requirements of standards and certification
schemes: CBC Technical Series-63: 1-116
-------------------------------------

More Related Content

Viewers also liked

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 

Viewers also liked (13)

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 

การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร

  • 1.
  • 2. - 1 - การจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อการพัฒนาการเกษตร โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความนา ตามที่ได้มีการประเมินระบบนิเวศในรอบสหัสวรรษ (MEA, 2005) พบว่า การเปลี่ยนแปลงของ ระบบนิเวศที่สาคัญในระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการใช้ประโยชน์ที่ดินในอัตราส่วน ที่สูงมาก พื้นที่ป่าไม้ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน รวมถึงแหล่งน้าต่างๆ ถูกนาไปใช้ประโยชน์โดยเฉพาะการใช้ที่ดิน เพื่อการเกษตร พื้นที่ป่าไม้ชนิดต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ทางบกจานวน 9 ใน 14 ประเภท ประมาณว่า 20-50 % ของพื้นที่เหล่านี้ได้เปลี่ยนไปเป็นพื้นที่การเกษตร ประเทศแถบโซนร้อนมีอัตราส่วนการทาลายที่สูงมาก GEF (2014) ได้รายงานไว้ว่า ผลผลิตทางการเกษตรหลัก 3 ชนิด คือ ถั่วเหลือง เนื้อสัตว์และปาล์มน้ามันที่ ต้องใช้พื้นที่ดินเพื่อดาเนินการสูงถึง 80% โดยเฉพาะพื้นที่ป่าไม้แถบโซนร้อน ผลผลิตดังกล่าวเป็นสินค้าออก ของประเทศที่สาคัญที่ใช้ดารงชีวิตของประชากรในประเทศ ขณะเดียวกันประชากรในพื้นที่ดังกล่าวก็ยังมี การต่อสู้กับความอดยากและความยากจน การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการประเมินพบว่าในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงใน อัตราส่วนที่เร็วมาก หรือเร็วกว่าตัวเลขที่คาดคะเนไว้ในหลายๆ โครงการมีการศึกษาถึงการเพิ่มขึ้นของ ประชากรโลกที่สัมพันธ์กับความต้องการอาหารเพิ่มขึ้นถึง 70% เป็นอย่างน้อย ในอีก 35 ปีข้างหน้า หรือ อาจจะถึง 110% (Bruinsma, 2009) การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินดังกล่าวที่ถูกนามาใช้เพื่อทาการเกษตร ทุ่งหญ้าเลี้ยงปศุสัตว์รวมถึงการพัฒนาชนบท เหล่านี้จึงเป็นภัยคุกคามที่ทาลายระบบนิเวศธรรมชาติ Tilman et.al. (2011) รายงานว่า แนวโน้มการทาลายหรือการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ยังเพิ่มมาก ขึ้น นับเป็นจานวนล้านล้านเฮกแตร์ ซึ่งมากกว่าที่คาดคิดไว้จะเกิดขึ้นในปี 2050 แต่มีบางกิจกรรมจากการทา การเกษตรที่จะต้องมีการพัฒนาในหลายๆ ประการเพื่อทาให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น จากการคานวณพบว่าการใช้ ประโยชน์ที่ดินในปี 1961 จานวน 1.4 ล้านล้านเฮกแตร์ และในปี 2008 มีการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเป็นจานวน 1.5 ล้านล้านเฮกแตร์ ถึงแม้ว่าประชากรของโลกเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า จาก 3 ล้านล้านคนในปี 1961 เป็น จานวน 6.8 ล้านล้านคนในปี 2008 (มากกว่าค่าเฉลี่ย 7.2 ล้านล้านคนในปี2014) การใช้พื้นที่ดินป่าไม้เพื่อทา การเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้มีการทาลายระบบนิเวศธรรมชาติ ในปัจจุบัน ผลผลิตจากพื้นที่การเกษตร ความต้องการด้านแก๊สชีวภาพ พลังงานและผลผลิตทางอาหาร จะต้องมีการ พัฒนาเพิ่มผลผลิตจากพื้นที่ดินเกษตรเพื่อให้สามารถอานวยผลประโยชน์และมีคุณค่าในระดับท้องถิ่นได้ ผลผลิตอาหารจากภาคเกษตรกรรมที่เกิดขึ้นในโลกนี้ได้เกื้อกูลการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นที่ ยอมรับในทุกระดับ ว่าแนวคิดใหม่ๆ ของความต้องการพัฒนาด้านอาหารของมนุษย์และชนิดพันธุ์อื่นๆที่มี อยู่ อาหารบางชนิดจะได้จากพื้นที่คุ้มครองเป็นความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองและผลผลิตทางการ เกษตรจากการใช้บริการของระบบนิเวศ (MEA, 2005) ตามกรอบงานที่กาหนด ความยั่งยืนของการใช้
  • 3. - 2 - ประโยชน์ในอนาคต จะต้องดาเนินการเพิ่มผลผลิตให้มีประสิทธิภาพและการบริการของระบบนิเวศจาก พื้นที่คุ้มครอง แนวคิดในการดาเนินงานเรื่องนี้จึงเป็นการสร้างความเข้าใจจากทฤษฎีต่างๆ ที่เกิดขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพ ผลผลิตด้านอาหารจากพื้นที่คุ้มครอง การเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นเรื่องของความหลากหลายหรือ ความผันแปรของสิ่งมีชีวิตและความซับซ้อนของระบบสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศที่มีความหลากหลายในชนิด พันธุ์และระบบนิเวศ ความซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตเป็นความหลากหลาย การกระจายและความมากน้อยชนิด พันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้มีการค้นหาแหล่งที่อยู่ ใหม่ๆ การใช้ประโยชน์ที่ดินจะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาและสถานที่ อย่างไรก็ดีชนิดพันธุ์ที่มีกระดูก สันหลังได้ถูกประเมินเป็นปริมาณมากน้อยไว้เช่น การจัดพิมพ์หนังสือ IUCN Red List of Threatened Species ที่ได้กาหนดชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม เพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของชนิดพันธุ์จากระดับที่ไม่มีข้อมูลจนถึงการ สูญพันธุ์ที่ขึ้นอยู่กับปริมาณของชนิดพันธุ์ องค์กร IUCNได้จัดพิมพ์หนังสือครั้งสุดท้ายปรากฏว่าสถานภาพ ของสัตว์จานวน 76,199 ชนิด (ชนิดพันธุ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า) พบว่า 22, 416 ชนิด (30%) ได้รับภัยคุกคามจนใกล้จะสูญพันธุ์ จากการลดลงของระบบนิเวศ หากว่าไม่ได้รับการดูแลและการ สนับสนุนจากประชาชนทุกระดับที่เกี่ยวข้องอัตราการสูญพันธุ์จะยังมีต่อไปในอนาคต หากว่าจะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง พบว่าได้มีมาตรการการอนุรักษ์ที่เพิ่มขึ้น จากสถิติปัจจุบัน ทั่วโลกที่มีพื้นที่คุ้มครองทางบกประมาณ 15.4% และพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ประมาณ 3.4% โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครองทางทะเลประมาณ 8.4% ถูกกาหนดให้ เป็นเขตเศรษฐกิจ จากข้อมูลของ UNEP-WCMC (2014) รายงานว่าพื้นที่คุ้มครองทั่วโลกมีไม่ต่ากว่า 200,000 แห่ง พื้นที่คุ้มครองเหล่านี้มีการจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความเข้มแข็งในการจัดการและไม่รวมถึงพื้นที่ คุ้มครองที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชน หรือพื้นที่คุ้มครองที่ครอบครองของประชาชนที่มี วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ พื้นที่คุ้มครองหลายแห่งที่ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อการอนุรักษ์ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม และให้มีการจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อเป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ที่เป็นแหล่งผลิตทางด้านอาหาร ปรากฏการณ์หลายๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ล่วงหน้าในอนาคตว่าระบบนิเวศจะมี การเปลี่ยนแปลงที่สูงมาก แม้ว่าองค์กร IUCN ได้จัดพิมพ์หนังสือกาหนดชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่หาได้ยากถึง 733 ชนิด จากการพิสูจน์ของนักวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้องและรายงานไว้ว่า ถ้าหากมีการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพิ่มขึ้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ภายในปี 2040 ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าที่ได้ยากมากว่า 1,000 ชนิด จะ สูญหายไปจากถิ่นที่อาศัยเดิม ในเมื่อถิ่นที่อาศัยมีการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ก็ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ การ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจะเป็นสาเหตุหลักที่เกี่ยวข้อง ได้มีการวิเคราะห์แล้วว่ามีชนิดพันธุ์มากกว่า 2,334 ชนิด ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและจานวนชนิดพันธุ์ดังกล่าวก็อยู่ในสถานภาพที่ ต่ามาก
  • 4. - 3 - ความเสี่ยงหรือความไม่มั่นคงของนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศที่มีผลกระทบ ต่อการดารงชีวิตมนุษย์เหตุการณ์ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การ นาพลังงานมาใช้หรือหลายๆ อย่างรวมกัน จะต้องกาหนดให้เป็นนโยบายที่ชัดเจน อย่างไรก็ดีการสนับสนุน แนวทางการดาเนินงานให้ได้ผลในอนาคตจากภาคส่วนต่างๆ ของประชาชน เราต้องอนุรักษ์ระบบนิเวศให้ สมบูรณ์มีประสิทธิภาพในด้านการจัดการผลประโยชน์เพื่อผลผลิตของชนิดพันธุ์รวมทั้งทรัพยากรมนุษย์ และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ 1. การบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครองกับความเชื่อมโยงของผลผลิตทางด้านอาหาร ผลของการประเมินระบบนิเวศในรอบสหัสวรรษ(MEA,2005) รายงานว่าการบริการของระบบ นิเวศมีความเชื่อมโยงโดยตรงกับการบริการผลผลิตทางด้านอาหารของมนุษย์ รวมถึงอานวยผลผลิตด้าน การเกษตรอื่นๆ เช่น พืชพันธุ์ ผลผลิตทางด้านการประมง พืชเภสัชกรรม น้าที่สะอาดและสัตว์ป่า การบริการ ด้านการเกื้อกูล เช่น การเกิดความอุดมสมบูรณ์ของดิน การสังเคราะห์แสงของพืช วัฏจักรของแร่ธาตุ การ ควบคุมสัตว์ผู้ล่าที่ทาลายพืชผลทางการเกษตรหรือแหล่งอาหาร (เช่น แมลงและหนู เป็นต้น) การบริการด้าน การควบคุมกลไกของระบบ เช่น การอนุรักษ์แหล่งต้นน้า การถ่ายละอองเรณูพันธุ์ไม้การควบคุมภูมิอากาศ การดูดซับคาร์บอน และการดักจับมลพิษในพื้นที่ชุ่มน้า การบริการทางด้านวัฒนธรรม เช่น การบริการด้าน ความสุขทางจิตใจที่เชื่อมโยงกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเพณี องค์ความรู้ท้องถิ่นเกี่ยวกับผลผลิตของ อาหาร ซึ่งการบริการด้านวัฒนธรรมนี้จะสัมพันธ์กับผลผลิตทางด้านอาหาร รวมทั้งการบริการด้านการ เกื้อหนุนและการควบคุมกลไกการบริการของระบบนิเวศ ที่เน้นหนักไปในเรื่องกระบวนการของระบบนิเวศ และลักษณะทางกายภาพที่นาไปสู่ความปลอดภัยของแหล่งอาหาร คุณค่าของอาหารและความสาคัญต่างๆ ที่ ไม่สามารถระบุคุณค่าได้ การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ด้านการบริการของระบบนิเวศสามารถที่จะดาเนินการได้ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ในพื้นที่คุ้มครอง เช่น การประเมินมูลค่าของการบริการระบบนิเวศ มีค่าประมาณ 125-145 ล้านล้านล้านเหรียญสหรัฐต่อปี แต่ความสูญเสียด้านการบริการของระบบนิเวศอย่างน้อยปีละ 4.5 ล้านล้านล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าของการบริการของระบบนิเวศไม่สามารถที่จะนามาคานวณได้หรือไม่ สามารถจะชดเชยความสูญเสียของระบบนิเวศได้ที่ใช้บริการแล้วสูญเสียไปเลย มูลค่าบางอย่างของระบบ นิเวศไม่สามารถบอกถึงราคาที่เป็นสินค้าได้ หรือมีการจัดการในแนวคิดของการตลาดได้ จึงจาเป็นต้องใช้ หลักเศรษฐศาสตร์กาหนดมูลค่าเพื่อให้เป็นนโยบายที่นาสู่สาธารณชนได้ การจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อการการอนุรักษ์พันธุกรรม ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศให้มีความ เชื่อมโยงกับการดารงชีวิตของมนุษย์ ส่วนใหญ่แล้วพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยระบบนิเวศที่สมบูรณ์ใน ระดับต่างๆ การสนับสนุนงบประมาณจากภาคส่วนอื่นๆที่ต้องใช้ดาเนินการดูแลรักษาไว้เพื่อให้มีการบริการ ของระบบนิเวศ เพื่อสร้างความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศให้อานวยประโยชน์ทางด้านผลผลิตของอาหาร จากข้อเท็จจริงพบว่าความสมบูรณ์ของระบบนิเวศจะประกอบด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบ ปราศจากภัย คุกคามจากภายนอก พื้นที่ขนาดใหญ่ที่มีความอุดมสมบูรณ์จะมีความสามารถในการรองรับการเปลี่ยนแปลง
  • 5. - 4 - ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น ประโยชน์ ทางด้านผลผลิตของอาหารหลายอย่างที่เกิดจากการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการของ ระบบนิเวศ โดยผ่านกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ 2. ความเชื่อมโยงระหว่างผลผลิตทางด้านอาหารกับการลดลงของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการศึกษาพบว่า การพัฒนาในด้านต่างๆ ของมนุษย์จะสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์พื้นที่ดิน ตามความต้องการเพื่อให้พื้นที่ดินสามารถรองรับและสนับสนุนผลผลิตของระบบนิเวศได้ หรือกล่าวอย่าง ง่ายๆ ว่าความยั่งยืนขึ้นอยู่กับการพัฒนาการดารงชีวิตของมนุษย์ที่ต้องการเพิ่มการบริโภคทรัพยากรใน ทิศทางเดียวกันเรียกว่าความสัมพันธ์การเพิ่มการบริโภคทรัพยากรในทิศทางเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ หรือความเชื่อมโยงกัน ในการประชุมขององค์กร UNEP เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กล่าวถึงการ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรในทางเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด ให้มีการลดผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมให้มีผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติมากที่สุด ทฤษฎีเกี่ยวกับการผลิตอาหารที่เชื่อมโยงกับทรัพยากร หมายถึง การใช้ประโยชน์พื้นที่ดินใน ปริมาณน้อย การลงทุนน้อยเพื่อผลผลิตที่ต้องการให้มากที่สุด โดยเฉพาะปริมาณและคุณภาพมากที่สุดต่อ หน่วยเนื้อที่ การแก้ไขผลกระทบความเชื่อมโยง หมายถึง การลดความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่มา ทาลายผลผลิตทางการเกษตรโดยลดการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้น หรือการขยายพื้นที่ทากินปลูกพืชเกษตร ในขณะที่ความเชื่อมโยงที่มีผลกระทบที่ไม่ต้องการโดยเฉพาะการใช้สารเคมี เป็นต้น จากการที่มีความมั่นคง และการขายผลผลิตทางการเกษตรให้มีความยั่งยืนได้ก็จะมีผลประโยชน์ในการดารงชีวิตของมนุษย์ Sayer and Cassman (2013) ได้เสนอผลการศึกษาด้านนวัตกรรมทางการเกษตร เพื่อต้องการ เพิ่มผลผลิตทางด้านอาหารและต้องการให้ใช้ประโยชน์ที่ดินในจานวนน้อย การลดผลกระทบจาก สิ่งแวดล้อมหรือภัยคุกคามในพื้นที่ ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยทางการเกษตรในหลายๆ ด้านเพื่อการเพิ่มผลผลิต มากกว่าการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความสามารถของ เกษตรกร สถาบันหรือหน่วยงาน นโยบายทางด้านเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันรัฐบาลได้พยายามที่จะดาเนินการ บารุงรักษาหรือการฟื้ นฟูพื้นที่คุ้มครองให้มีความอุดมสมบูรณ์เพื่ออานวยผลประโยชน์ทางด้านผลผลิต อาหารให้แก่ประชาชนในอนาคต
  • 6. - 5 - การพัฒนาผลผลิตทางด้านการเกษตรจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้ต้นทุนต่า ผลจากการพัฒนาผลผลิตทางด้านอาหารจากการตัดแต่งพันธุกรรมจะทาให้มีผลผลิตทางอาหาร เพิ่มขึ้น พื้นที่คุ้มครองจึงเป็นตัวเชื่อมโยงที่ทาให้เกิดกระบวนการดังกล่าว คือ มีพันธุกรรมแท้จากพื้นที่ คุ้มครอง ในทางปฏิบัติมีการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า ผลผลิตอาหารจากทรัพยากรธรรมชาติสามารถปรับปรุง ได้โดยใช้เทคโนโลยีถึง 80% เช่น การปรับปรุงแหล่งน้า การพลังงาน เพื่อให้ได้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นแต่ใช้ต้นทุน ต่า เหตุการณ์ดังกล่าวจะพบเห็นได้บ่อยมาก ซึ่งเรามักจะเรียกว่าช่องว่างผลผลิต (ความแตกต่าง ระหว่างผลผลิตในปัจจุบันกับผลผลิตตามเป็นจริง) ที่มีการใช้ทรัพยากรที่เพียงพอ เช่น น้า แร่ธาตุ เป็นต้น มีการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีทางการเกษตร การควบคุมภัยธรรมชาติ การปิดช่องว่างดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่างๆ ที่คาดกว่าจะมีผลกระทบกับการบริการของระบบนิเวศ โดยมีการเน้นในเรื่องผลประโยชน์จาก ผลผลิตอาหารอย่างยั่งยืน มีการใช้ประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองที่เพิ่มขึ้น เช่น การควบคุมศัตรูพืช การผสมพันธุ์และวัฏจักรของแร่ธาตุ ซึ่งพื้นที่คุ้มครองมีส่วนช่วยอานวยผลประโยชน์ใน สิ่งเหล่านี้ได้ ความเชื่อมโยงของประสิทธิภาพในการลงทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ ถึงแม้ว่าชนิดพันธุ์จะมี ความหลากหลายสายพันธุ์และระบบจะให้ผลผลิตที่แตกต่างกัน การที่จะทาให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นจะต้องมีการ พึ่งพาธรรมชาติด้วยเป็นอย่างน้อย (Gray et.al. 2014) ได้รายงานว่า ผลผลิตของข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวจ้าว ถั่ว เหลือง มีเพิ่มขึ้นมากถึง 240% ในช่วงปี 1961-2008 กิจกรรมการเกษตรดังกล่าวจะทาให้มีการเพิ่มขึ้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ที่มีผลทาให้เกิดภาวะเรือนกระจกและทาให้โลกร้อน จึงเป็นการทาให้เกิด ปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 3. พื้นที่คุ้มครองกับการอานวยผลประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศ จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าองค์ประกอบของระบบนิเวศทั้งหมดสามารถที่จะให้บริการ สนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหาร เป็นการบริการด้านเป็นแหล่งผลิต เป็นพื้นที่การเกษตร การเพาะเลี้ยงสัตว์ น้า การทาไม้ การเก็บหาของป่า ซึ่งเป็นตัวอย่างพื้นฐานด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ในส่วนนี้จึงได้ เน้นหนักไปในเรื่องด้านการบริการของระบบนิเวศที่ได้จากพื้นที่คุ้มครองในการสนับสนุนผลผลิตทางด้าน อาหาร 3.1 พื้นที่คุ้มครองอานวยผลผลิตด้านอาหารให้แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยเฉพาะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐาน อยู่ใกล้ๆ พื้นที่คุ้มครองที่มีการปลูกพืชการเกษตรและการเก็บหาของป่าเพื่อการดารงชีพ พืชป่าหลายชนิดที่ ขึ้นอยู่ในป่ า สามารถใช้เป็นอาหารได้ ชุมชนชาวชาวบ้านจะเข้าไปเก็บหาของป่ าจากพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะเขตการจัดการ บางพื้นที่ชุมชนจะเข้าไปเก็บเพื่อนาไปขายเป็นสินค้าได้ เป็นการยากที่คิดออกมา เป็นผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ จะต้องมีการกาหนดเป็นนโยบายให้ชัดเจน ของป่าหลายชนิดที่ห้ามเก็บ หรือที่มีการเก็บโดยผิดกฎหมายโดยเฉพาะในพื้นที่คุ้มครอง ที่ปรากฏว่ามีการเก็บแล้วนาไปจาหน่าย พื้นที่
  • 7. - 6 - คุ้มครองเป็นแหล่งอานวยประโยชน์ทางด้านอาหารที่เกิดความขัดแย้งของชุมชน พื้นที่คุ้มครองหลายแห่ง เป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์ด้านชนิดพันธุ์สัตว์โดยเฉพาะการดารงชีวิตของชุมชนท้องถิ่นที่ต้องการใช้ เป็นแหล่งอาหาร 3.2 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมของธรรมชาติ วัตถุประสงค์ประการแรกของ การจัดตั้งพื้นที่คุ้มครอง คือ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งชนิดพันธุ์จะเป็นชนิดพันธุ์ดั้งเดิมที่มี อยู่ในปัจจุบันเพื่อการอยู่รอดและมีการพัฒนาภายในพื้นที่คุ้มครอง นักวิชาการสาขาพืชจะนาเอาความ หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชที่มีการดาเนินการได้ปรับตัวให้เข้ากับสภาพในปัจจุบัน หรือการ เปลี่ยนแปลง พันธุกรรมของพืชดั้งเดิม นักวิชาการจะให้ความสาคัญกับชนิดพันธุ์ดั้งเดิม โดยเฉพาะ เทคโนโลยีทางชีวภาพที่มีลักษณะตามธรรมชาติ จะเห็นได้จากทรัพยากรพันธุกรรมในรูปแบบของไม้ดอก ไม้ผล เปลือกไม้ ใบไม้ เมล็ดไม้ หรือผลไม้ สามารถที่จะดูแลรักษาไว้มิให้ถูกรบกวนหรือถูกทาลาย โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครอง ตามกฎหมายห้ามกระทาลายพืชพันธุ์ พรรณไม้หลายๆ ชนิดเป็นสินค้าหรือ ประชาชนใช้ร่วมกัน การนาพืชไปปลูกในพื้นที่ป่ามีการดาเนินการกันแพร่หลายในอดีตนั้นมีเป็นจานวนมาก การพัฒนาและการจัดการชนิดพันธุ์ขึ้นอยู่กับการอนุรักษ์พันธุ์ดั้งเดิมเพื่อเป็นการบริโภคที่ปลอดภัย 3.3 พื้นที่คุ้มครองกับการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นแหล่ง ผลิตที่สาคัญและอานวยผลประโยชน์ให้แก่มนุษย์นับมาเป็นเวลาพันๆ ปี เป็นแหล่งอานวยทรัพยากรทาง ชีวภาพที่มนุษย์ใช้ในการบริโภค พื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งเป็นพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการเก็บเกี่ยวเอา ทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะอาหารทะเล ถึงแม้ว่าจะเป็นแหล่งที่ห้ามทาการประมงก็ตาม เหตุการณ์เหล่านี้ก็มี ข้อมูลให้เห็นอยู่แล้ว คือ ความชุกชุมของชนิดพันธุ์ปลาและชนิดพันธุ์อื่นๆ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ในพื้นที่คุ้มครองมีการใช้ประโยชน์จาเป็นต้องมีการจัดแบ่งเขตการจัดการ มีเขตห้ามจับปลาภายในเขตของ พื้นที่คุ้มครองทางทะเล จะเป็นการทาให้พื้นที่คุ้มครองทางทะเลมีเขตการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและมี ประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ เขตห้ามจับปลาชาวประมงจะได้รับผลประโยชน์มาก เนื่องมาจากเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลาและปลาจะออกไปจากเขตพื้นที่ดังกล่าวให้สามารถจับมาบริโภคได้ ฉะนั้น พื้นที่คุ้มครองทาง ทะเลจึงมีประโยชน์ทางด้านการผลิตอาหารทางทะเลสาหรับประชาชนได้เป็นจานวนมาก 3.4 พื้นที่คุ้มครองกับการสนับสนุนการผลิตขั้นปฐมภูมิ ในทุกๆ ระบบนิเวศจะมีผู้ผลิตขั้น ปฐมภูมิที่ประกอบด้วยอินทรีย์สารต่างๆ โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงในสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิต โดย การดูดซับเอาพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์คาร์บอนไดออกไซด์และน้า เพื่อถ่ายทอดไปยังพืชและสัตว์ต่อไป อย่างไรก็ดีอัตราการผลิตขั้นปฐมภูมิจะเกิดขึ้นได้ดีในระบบนิเวศธรรมชาติดั้งเดิม ป่าดงดิบหรือแหล่ง ปะการังในน้ามีความหลากหลาย จึงมีความต้องการอนุรักษ์ระบบนิเวศดั้งเดิมโดยเฉพาะในพื้นที่คุ้มครอง และมีความสามารถในการสนับสนุนให้เกิดความเข้มแข็งในการผลิตอาหาร 3.5 พื้นที่คุ้มครองช่วยสนับสนุนการเกิดขึ้นของวัฏจักรแร่ธาตุ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ พืชเป็นแหล่งผลิตสุทธิของขั้นปฐมภูมิ พื้นที่คุ้มครองทางบกที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินและความอุดม สมบูรณ์แร่ธาตุช่วยเกื้อหนุนชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่คุ้มครองและเชื่อมโยงกับพื้นที่ทางการเกษตร น้าในลาห้วย ลาธารจากพื้นที่คุ้มครอง สารแร่ธาตุต่างๆ จะถูกชะล้างโดยน้าฝน การรวมตัวของดินจะเป็นแหล่งรวมของแร่
  • 8. - 7 - ธาตุในระบบนิเวศ เป็นที่รวมของแบคทีเรีย เห็ดรา จุลินทรีย์ สัตว์ในดิน ไส้เดือนและชนิดพันธุ์อื่นๆ ก็ได้ พัฒนาตัวเองตามธรรมชาติ เป็นการเพิ่มปุ๋ ยและแร่ธาตุที่พืชดูดซับไปใช้ได้ ในขณะเดียวกันการอนุรักษ์พื้นที่ คุ้มครองจะเป็นการบารุงรักษาไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของดิน การป้ องกันดินพังทลาย จะอานวยการบริการ ความอุดมสมบูรณ์ด้านอาหารให้แก่ประชาชน การทาไร่เลื่อนลอยยังเป็นการอนุรักษ์พื้นที่ดินในบาง สถานภาพ การจัดการพื้นที่คุ้มครองสามารถนามาใช้เป็นตัวชี้วัดเพื่อการเปรียบเทียบระหว่างความอุดม สมบูรณ์ของดินกับความหลากหลายทางชีวภาพ ชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในดินจะถ่ายมูลทาให้ดินมีความอุดม สมบูรณ์เพิ่มขึ้น นกนางแอ่นหรือชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในถ้าหรือพื้นที่อื่นจะเพิ่มปุ๋ ยจากมูลทาให้ดินมี ความอุดมสมบูรณ์และอานวยประโยชน์ให้แก่พืชหรือแร่ธาตุที่ไหลไปตามลาน้า น้าที่ใช้ในการชลประทาน สาหรับเกษตรกรในพื้นที่ราบต่านอกพื้นที่คุ้มครองจะได้รับปุ๋ ยที่ไหลไปกับน้าด้วย 3.6 พื้นที่คุ้มครองช่วยสนับสนุนการถ่ายละอองเรณูของพืชเกษตร (การถ่ายเกสรตัวผู้ไปสู่ เกสรตัวเมีย) กระบวนการถ่ายละอองเรณูในพืชเป็นการแลกเปลี่ยนเกสรและการผสมพันธุ์ของพันธุ์พืช การ ถ่ายละอองเรณูดังกล่าวเกิดจากสัตว์ป่าถึง 75% โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ที่ช่วยถ่ายละอองเรณูในพืชที่สาคัญ เช่น ค้างคาว ผีเสื้อ แมลง หรือชนิดพันธุ์อื่นๆ พื้นที่คุ้มครองจะอานวย ประโยชน์ให้ชนิดพันธุ์ดังกล่าวได้อาศัยอยู่ในป่าธรรมชาตินั้นๆอย่างปลอดภัย ขณะเดียวกันผู้ถ่ายละอองเรณู ในพื้นที่คุ้มครองจะได้รับประโยชน์และได้รับการรักษาดูแลชนิดพันธุ์เหล่านี้ได้ถึง 80% 3.7 พื้นที่คุ้มครองกับการรักษาแหล่งน้าและอานวยน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชน พื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้าจะมีส่วนช่วยกลั่นกรองมลพิษต่างๆ จากพื้นที่การเกษตรได้ถึง 80% สามารถที่จะพิสูจน์ได้ว่าพืชพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้าจะดักจับมลพิษที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งโลหะ หนักที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ในหลายๆ ประเทศประชาชนมักจะได้รับมลพิษจากน้า รวมทั้ง สารพิษ แบคทีเรีย การชะล้างหน้าดินจากพื้นที่การเกษตร การดักจับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่ คุ้มครองสามารถที่จะอานวยผลประโยชน์ทางด้านการอานวยน้าให้สะอาดและดักจับของเสีย ชนิดของพันธุ์ พืชที่คอยดักจับอินทรีย์สารที่เป็นมลพิษทาให้คุณภาพของน้าดีขึ้น ฉะนั้น พื้นที่คุ้มครองที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้าจะ ช่วยขจัดน้าสกปรกให้เป็นน้าดี โดยเฉพาะชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่ระบบนิเวศแหล่งน้าเป็นตัวกรองมลพิษที่ บริการแหล่งน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชนและมีคุณภาพ 3.8 พื้นที่คุ้มครองช่วยป้ องกันและควบคุมภัยธรรมชาติ บริเวณที่เป็นภูเขาสูง แหล่งน้า ชายทะเล จะเป็นพื้นที่ที่ช่วยป้ องกันภัยจากธรรมชาติอันอาจจะเกิดขึ้น เพื่อมิให้เกิดภัยพิบัติแก่ประชาชนใน ท้องถิ่น หรือพื้นที่การเกษตรกรหรือแหล่งเพาะพันธุ์ปลา การรักษาพื้นที่ให้เป็นธรรมชาติที่เป็นป่าไม้ มี ต้นไม้ปกคลุม เมื่อฝนตกหนักป่าไม้ก็จะช่วยลดผลกระทบจากการไหล่บ่าของน้าหรือชะลอการไหลของน้า ป้องกันลมพายุ ป้องกันการชะล้างหน้าดินหรือดินพังทลายที่อาจจะเกิดได้ พันธุ์ไม้ในพื้นที่คุ้มครองเป็นแนว กันลมเป็นอย่างดีที่ช่วยความรุนแรงของลมพายุ ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองที่สมบูรณ์ก็จะช่วยป้ องกันการ เกิดน้าท่วมได้จะเห็นว่าพื้นที่คุ้มครองมีบทบาทในการป้องกันภัยธรรมชาติได้ฉะนั้น หน่วยงานรับผิดชอบที่ เกี่ยวข้องจะต้องมีบทบาทในการป้ องกันร่วมกัน เช่น การป้ องกันภัยแล้งหรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ อันอาจจะเกิดขึ้นได้โดยไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้า การจัดการแม่น้า ลาน้าให้เป็นธรรมชาติจะ
  • 9. - 8 - เป็นการป้ องกันมิได้เกิดการพังทลายของดินและการกัดเซาะชายฝั่ง ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าและ การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ 3.9 พื้นที่คุ้มครองช่วยป้ องกันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเกษตรมีความสัมพันธ์กับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเกิดความแห้งแล้งหรือฝนตกชุกหรือตกหนักจนเกิดน้าท่วม ราคาของ ผลผลิตสินค้าเกษตรจะมีการเปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิดความสาคัญทางนโยบายหรือการเปลี่ยนแปลงของ นโยบาย เช่น ภาวะอาหรับสปริง (Arab Spring) ซึ่งเป็นช่องว่างระยะเวลาการเกิดความแห้งแล้งในแถบภาค ตะวันตกของเอเชีย (Center for Climate and Security, 2015) เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ มี การศึกษาวิจัยพบว่าพื้นที่คุ้มครองที่มีต้นไม้เจริญเติบโตนับเป็นร้อยๆ ปี ก็ยังคงเป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนใน อัตราที่เพิ่มขึ้นทั้งในต้นไม้และในดิน ป่ารุ่นใหม่ก็มีความสามารถที่จะใช้เป็นตัววัดความเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศได้ ที่สาคัญคือคาร์บอนที่ถูกเก็บกักอยู่ในพื้นที่ไม้ที่มีอายุมากและมีประสิทธิภาพ ถ้าหากว่าป่าไม้ ดั้งเดิมถูกทาลายก็จะมีการปลดปล่อยก๊าซสู่บรรยากาศมากขึ้น เป็นข้อยืนยันว่าการอนุรักษ์ป่าไม้ที่มีได้ยืนต้น ที่มีอายุมากในพื้นที่คุ้มครองจะมีความชื้นสูงเพราะเป็นแหล่งเก็บกักน้าใต้ดินได้ดี 3.10 ระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครองสามารถควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคบางชนิดได้ ระบบนิเวศที่หลากหลายในพื้นที่คุ้มครอง มีส่วนช่วยควบคุมการแพร่กระจายของแมลงศัตรูพืชทาง การเกษตร ตลอดจนควบคุมโรคระบาดที่อาจจะส่งผลกระทบกับชีวิตของมนุษย์ เช่น การเปลี่ยนแปลงของ ประชากรยุงที่ก่อให้เกิดเชื้อโรคไข้มาเลเรียให้อยู่ในพื้นที่คุ้มครองที่มีการป้ องกันมิให้สู่มนุษย์ ความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครองช่วยลดการแพร่กระจายของโรคระบาดได้ โดยเฉพาะสัตว์ที่อาศัยอยู่ ในป่าที่กินแมลงเป็นอาหาร เช่น ค้างคาวที่กินแมลงเป็นอาหาร งู นกเค้าแมวและชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่กินหนูเป็น อาหารซึ่งหนูเป็นพานะนาเชื้อโรค และทาลายพืชผลทางการเกษตร 3.11 พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ภายในพื้นที่คุ้มครองเป็นที่อยู่ของสัตว์ป่าผู้ล่าและเหยื่อที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตทางด้านอาหาร การทาลาย พืชผลทางด้านทางการเกษตรจากสัตว์ป่า เช่น ช้างป่า หมูป่า กวางป่า และชนิดพันธุ์อื่นๆ ที่กินพืชเกษตรเป็น อาหาร แมลงหลายชนิดที่เป็นศัตรูพืชที่ทาลายพืชผลทางเกษตรทั้งก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวพวกหนูหรือ สัตว์ฟันแทะชนิดอื่นๆ ที่บริโภคพืชผลการเกษตรจะทาให้เกิดความเสียหายทางเกษตรเป็นจานวนมาก บาง ประเทศความเสียหายในลักษณะนี้จะมีมากถึง 40% ของมวลผลผลิตรวม การจัดการพื้นที่คุ้มครองสามารถที่ จะลดการสูญเสียระบบนิเวศได้ การคงไว้ซึ่งสัตว์ผู้ล่าที่กินชนิดพันธุ์ที่ทาลายพืชผลทางการเกษตร สัตว์กิน เนื้อขนาดใหญ่จะกินสัตว์ที่ทาลายพืชเกษตร เช่น หมูป่า กวางป่า ลิง หรืองูชนิดต่างๆ ที่กินสัตว์ฟันแทะเป็น อาหาร นกกินแมลงมีประสิทธิภาพในการกินแมลงศัตรูพืช เป็นการควบคุมทางชีวภาพ ทาให้เกิดผลดีทาง ผลผลิตจากการเกษตรและลดการใช้สารเคมีในการปราบศัตรูพืช ฉะนั้น ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ในพื้นที่คุ้มครองจะเป็นองค์ประกอบที่ทาให้ระบบนิเวศเกษตรมีความสมบูรณ์ด้วย 3.12 พื้นที่คุ้มครองกับการบริการทางด้านวัฒนธรรม นวัตกรรมใหม่ๆ ในสหัสวรรษที่มีการ ประเมินระบบนิเวศที่มีการเชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชนที่อาศัย อยู่ในเขตชนบทมีความสัมพันธ์กับทัศนียภาพของพื้นที่ในถิ่นที่อาศัยที่มีความแตกต่างกันไป ความสัมพันธ์
  • 10. - 9 - ระหว่างถิ่นที่อาศัยกับความศักดิ์สิทธิ์ของพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองหลายๆ แห่งที่ชุมชนมีประเพณี วัฒนธรรมและบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในด้านการอนุรักษ์ ชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครองมีความรู้ความเข้าใจ ระบบนิเวศของพื้นที่คุ้มครองและมีจิตใจรักพื้นที่ มีส่วนช่วยหน่วยงานรับผิดชอบพื้นที่คุ้มครองและทางาน ร่วมกันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ความเชื่อมโยงระหว่างการจัดการพื้นที่คุ้มครองกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในหรือรอบๆ พื้นที่ คุ้มครองจะเป็นการเปิดโอกาสให้มีการใช้พื้นที่คุ้มครองเป็นห้องสมุดธรรมชาติขนาดใหญ่ การพัฒนาและ การจัดการพื้นที่คุ้มครองจะเป็นการอานวยผลประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศให้แก่ประชาชน ประชาชนในบางพื้นที่มีวัตถุประสงค์อนุรักษ์เพื่อการสนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหาร เส้นใยและสินค้า อื่นๆ รวมทั้งการบริการทางระบบนิเวศในเขตเมืองหรือชนบท ทาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการ อนุรักษ์เพิ่มขึ้น แนวทางต่างๆ เหล่านี้จึงเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐและ เอกชน บางครั้งจะต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่หัวหน้าและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน พื้นที่คุ้มครอง Kothari et.al. (2012) รายงานว่า ในหลายๆประเทศจะมีการบริหารพื้นที่คุ้มครองระบบนี้ เรียกว่า พื้นที่อนุรักษ์ของชุมชนหรือ Community Conserved Areas ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นองค์ประกอบของพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่อนุรักษ์ของชุมชนเป็นหลักการในการ จัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะการสนับสนุนวัตถุประสงค์หลักของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การบริหาร จัดการหรือหลักธรรมาภิบาลที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างประชาชนในท้องถิ่นและหน่วยงานบริหารจัดการ พื้นที่คุ้มครองให้อานวยผลผลิตทางการเกษตรหรืออาหารจากภาคการเกษตร 4. การบริการของระบบนิเวศกับผลผลิตทางด้านอาหาร การบริการของระบบนิเวศที่เป็นแหล่งอานวยผลผลิตทางการเกษตรดังกล่าวแสดงว่าผลผลิต ทางการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่คุ้มครอง ฉะนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องอนุรักษ์ การจัดการและการฟื้นฟูพื้นที่คุ้มครอง โดยการให้ความสาคัญกับพื้นที่คุ้มครองในเรื่อง : 4.1ให้มีการจัดทาแผนระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ โดยการให้ความสาคัญและการจัดการ พื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพอันจะอานวยผลประโยชน์ในการพัฒนาการเกษตร การกาหนดให้พื้นที่ คุ้มครองมีความสาคัญและมีการพัฒนาในระดับชาติหรือภูมิภาค การทาให้พื้นที่คุ้มครองมีบทบาทที่แสดงให้ เห็นว่าผลผลิตสินค้าการเกษตรที่เพิ่มขึ้นกับคุณค่าของพื้นที่คุ้มครอง โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบเฉพาะภาค ส่วนของหน่วยงานการเกษตร การประมงที่อาศัยการบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุ้มครอง แผนการ จัดการภาคการเกษตรจะต้องกาหนดกรอบการทางานที่มีวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน สอดคล้องกับนโยบายใน การผลิตอาหารในธรรมชาติ รวมถึงความเชื่อมโยงกันในแต่ละพื้นที่ โดยใช้วิธีการจัดทาแนวเชื่อมต่อกันใน แต่ละพื้นที่ โดยใช้วิธีการจัดทาแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศที่มีการวิเคราะห์ขนาดของพื้นที่ ทาการศึกษาวิจัย
  • 11. - 10 - การติดตามประเมินผลเพื่อให้พื้นที่คุ้มครองช่วยแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสนับสนุน ให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้านผลผลิตที่เป็นอาหารของมนุษย์เพื่อการดารงชีวิตให้ความอยู่ดีกินดี 4.2การพิจารณาถึงการปลูกพืชการเกษตรที่ยั่งยืนในพื้นที่คุ้มครอง มีหลายๆ พื้นที่ที่มีการปลูก พืชอยู่ภายในเขตที่ให้ผลผลผลิตอย่างยั่งยืนและมีประโยชน์ต่อพื้นที่คุ้มครอง ผลผลิตทางการเกษตรที่เป็น สินค้าหลักหรือพืชที่ปลูกช่วยลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น ผลผลิตของกาแฟ 38% โกโก้ 22% ปาล์มน้ามัน 15% และพืชเกษตรอื่นๆ ที่มีการแสดงให้เห็นว่าพืชเหล่านี้มีการป้ องกันถิ่นที่อาศัย การดาเนินงานได้กาหนด ห้ามครอบครองที่ดินหรือทาให้มีผลกระทบกับชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและการควบคุมชนิดพันธุ์ที่รุกรานหรือ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น แต่ต้องการให้มีประโยชน์ระยะยาว ชาวสวนหรือชาวประมงสามารถผลิตอาหารให้เพิ่มขึ้น การเกษตรดังกล่าวจะช่วยในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง ลดปัญหาภัยคุกคาม จากฟาร์มและการปลูกพืชในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่คุ้มครอง พืชเกษตรบางชนิดเจริญเติบโตได้ดี ซึ่งเป็นที่ ต้องการของเกษตรกร เกษตรกรบางคนจะได้รับผลตอบแทนสูงกว่าที่ได้รับจากการบริหารจัดการพื้นที่ คุ้มครอง 5. บทสรุป เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า การพัฒนาต่างๆ เพื่อการดารงชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการ รักษาไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศรวมทั้งการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น การทาลายระบบนิเวศจะมี ผลกระทบกับการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นการแสดงให้เห็นว่าพื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งรวมของพันธุกรรม ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศ เป็นแหล่งอานวยผลประโยชน์อย่างเอนกประสงค์ด้านการผลิตอาหาร หน่วยงาน รับผิดชอบด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองควรจะได้กาหนดนโยบาย สนับสนุนในการใช้การบริการของระบบ นิเวศที่เป็นการสนับสนุนผลผลิตทางด้านอาหารรวมทั้งการควบคุมพันธุกรรมของพืชในพื้นที่คุ้มครอง สนับสนุนให้มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของพืชเกษตรในลักษณะของการดาเนินงานวนเกษตร ที่สามารถ จัดพื้นที่ที่อยู่ในประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างหนึ่ง ผลประโยชน์ที่ควรได้รับควรจะได้รับควรจะได้ พิจารณาในระดับชาติที่กาหนดเป็นแผนระบบพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรมประมง กรมชลประทาน ควรจะได้พิจารณาถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองที่สาคัญ คือกระทรวงการคลังที่จะได้รับผลประโยชน์จากสินค้าที่เป็นรายได้สหประชาชาติ พื้นที่คุ้มครองอานวย ผลประโยชน์ทางด้านการผลิตอาหารโดยการสนับสนุนเงินงบประมาณเพียงพอกับการบริหารจัดการพื้นที่ และพื้นที่คุ้มครองและให้พื้นที่คุ้มครองอานวยประโยชน์ด้านการบริการของระบบนิเวศ ----------------------------------------------
  • 12. - 11 - เอกสารประกอบการเรียบเรียง 1. Bruinsma, J. 2009. The Resource Outlook to 2050: Expert Meeting on How to Feed the World United Nations Food and Agriculture Organization, Rome. 2. Center for Climate and Security. 2013. The Arab Spring and Climate Change Center for American Progress, Washington, D.C. 3. GEF, 2014. Taking tropical deforestation out of Commodity supply chains. Global Environment Facility, Washington, D.C. 4. Gray, J.M. et al. 2014. Direct human influence on atmosphere CO2 seasonality from increased cropland productivity. Nature 515: 398-401. 5. IUCN, 214. IUCN Red List of Threatened species Version 2014.3 6. Kothari, A., et.al.2012. Recognizing and support territories and areas conserved by indigenous peoples and local communities CBD Technical Series 64:1-160 7. MEA (Millennium Ecosystem Assessment) 2005. Ecosystems and Human Well-being: Current State and Trends (Volume I). Island Press, Washington, D.C. 8. Sayer, J. and K.G. Cassman. 2013. Agricultural innovation to protect the environment. Proceeding of the National Academy of Sciences. USA 110 (21) : 8345-8348. 9. Tilman, D., et. al. 2011. Global food demand and the Sustainable intensification of agriculture. Proceedings of the National Academy of Sciences 108(5): 20260-20264. 10. UNEP-WCMC 2011. Review of the biodiversity requirements of standards and certification schemes: CBC Technical Series-63: 1-116 -------------------------------------