SlideShare a Scribd company logo
กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น
โดย
ฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกูล
กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว1
กลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่เป็นอาสาสมัคร ผู้สนใจการสร้างพื้นที่สีเขียว และสิ่งแวดล้อมเมืองในเชียงใหม่
ช่วงที่ผ่านมา ได้ทาการปลูกต้นไม้ ทากิจกรรมร่วมกันด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการเคลื่อนไหวที่สร้างกระแสการ
อนุรักษ์เมืองเชียงใหม่ ในมิติสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดเป็นกระแสการดูแลพื้นที่สีเขียว และการพูดถึงของ
สิ่งแวดล้อมเมือง และเกิดมิติการทางานกับกลุ่มคนใหม่ๆ อย่างภาคเอกชน และเจ้าหน้าที่เทศบาลที่ให้ความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี
1. ที่มาของกลุ่ม
จุดเริ่มต้น เริ่มจาก คุณโอปอ ภราดล พรอานวย ผู้สนใจปลูกต้นไม้ในเมือง จึงได้ชักชวนเพื่อนๆ ให้
มาร่วมกันปลูกต้นไม้ ซึ่งเพื่อนหลายคนเห็นด้วย ทาให้เกิดการรวมของกลุ่มศิลปินนักดนตรีซึ่งส่วนใหญ่เป็น
อาสาสมัครเล่นดนตรีให้กับงานสาธารณะประโยชน์ในพื้นที่เขตเมือง เช่น เมื่อโครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียง
เชียงใหม่มีการจัดงานวัฒนธรรม หรือเครือข่ายภาคประชาสังคมและองค์กรนักพัฒนาเอกชนมีกิจกรรม
สร้างสรรค์กลุ่มศิลปินเหล่านี้ก็จะถูกเชิญมาเล่นดนตรีร่วมกัน จนเกิดการพูดคุยกันระหว่างกลุ่มศิลปิน และ
คนรุ่นใหม่จากหลากหลายอาชีพถึงการดูแลเมืองร่วมกันในเรื่องพื้นที่สีเขียวและต้นไม้ใหญ่ในเมือง เนื่องจาก
มองเห็นว่าเชียงใหม่มีปัญหามลพิษในเมือง โดยเน้นไปที่การปลูกต้นไม้ เพราะเชื่อว่าต้นไม้จะเป็นส่วนหนึ่ง
ในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยรวมตัวในกลุ่มที่ชื่อว่า “กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น” (รูปที่ 1)
1 ถอดความและเรียบเรียงจากการบรรยายของ คุณฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกูล ตัวแทนกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น ในการประชุมวิชาการ เรื่อง
“ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมการพัฒนาเมือง” วันที่ 9 มกราคม 2559 จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง
ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) และมูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
รูปที่ 1 ทีมงานกลุ่มมือเย็น เมืองเย็น
2
ผู้คนที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เป็นอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ มีทั้งสถาปนิค คนทาเค้ก
นักดนตรี และบางคนที่เคยทาภาคประชาสังคมมาก่อน โดยทุกคนสนใจเป้าหมายเดียวกัน และคิดง่ายๆ
เพียงแค่อยากปลูกต้นไม้ และทาให้เมืองเชียงใหม่น่าอยู่ขึ้น
2. วิธีคิดและเครื่องมือในการทางาน
กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น มีแนวคิดทากิจกรรม คือ การปลูกต้นด้วยความสนุก จึงระดมความคิด
ร่วมกัน ว่าจะทาอย่างไรให้การปลูกต้นไม้ หรือเรื่องสิ่งแวดล้อม ให้ไม่น่าเบื่อ สนุก และผู้คนอยากเข้าร่วม
เพราะที่ผ่านมา เมื่อพูดถึงสิ่งแวดล้อม จะเป็นเชิงวิชาการ มีความจริงจัง ทาให้ไม่สามารถดึงดูดผู้คนให้มา
เข้าร่วมได้ ด้วยวิธีคิดดังกล่าว ทาให้ทางกลุ่ม ฯ ได้ออกแบบกิจกรรมและเครื่องมือที่สร้างแรงบันดาลใจและ
สร้างความสนใจให้ผู้คนในเมือง ดังนี้
- การสร้างแคมเปญท้าปลูก ใน Social media
ทางกลุ่ม ฯ สร้างการมีส่วนร่วมจากการใช้ social media เป็นเครื่องมือในการทางาน เพราะ
ลงทุนน้อยที่สุด และทางานง่ายที่สุด ด้วยการจัดแคมเปญท้าปลูกผ่านเฟสบุ๊ค ซึ่งได้ต้นแบบจาก
แคมเปญการกุศลอันโด่งดังอย่าง Ice Bucket Challenge2 โดยแคมเปญ ‘ท้าปลูก’ เปลี่ยน
กติกาจากการราดน้าเย็นเป็นการปลูกต้นไม้หนึ่งต้น แล้วท้าเพื่อนอีกสามคนให้ปลูกตาม
ถ่ายรูปต้นไม้ที่ปลูก โดยปลูกที่ไหนก็ได้ พร้อมกับติดแฮชแท็ก #มือเย็นเมืองเย็น แชร์ลงบน
Facebook (รูปที่ 2)
วิธีดังกล่าวได้รับการตอบรับที่ดีมากจากผู้คนในเมือง โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ทาให้หลายคนเริ่ม
มาปลูกต้นไม้ เพราะเป็นเสมือนการเล่นเกม กลายเป็นกระแสปลูกต้นไม้ในเมืองเชียงใหม่ ทาให้ผล
ของแคมเปญนอกจากมีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น ยังเป็นที่รู้จักมากขึ้นด้วย
2 Ice Bucket Challenge คือ แคมเปญที่เริ่มต้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 2014 ที่ผ่านมา โดย พีท ฟราเทส อดีตนักกีฬาเบสบอลจากบอสตัน คอล
เลจ วัย 29 ปี ซึ่งเขาป่วยเป็นโรค ALS หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรงมาตั้งแต่ปี 2011 ซึ่งการท้าทายของเขาได้กลายเป็นกระแสระบาดทางออนไลน์ไป
ยังผู้คนทั่วโลก โดยแคมเปญนี้ได้ทาขึ้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้คนตระหนักถึงโรค ALS และระดมเงินบริจาคให้กับการทาวิจัยและช่วยเหลือ
ผู้ป่วยโรคดังกล่าว สาหรับแคมเปญนี้เรียกร้องให้ผู้คนใช้ถังน้าแข็งผสมน้าเทรดลงไปบนศีรษะของตนเอง โดยระหว่างที่ทาต้องมีการอัดคลิปและ
โพสต์ลงในโลกโซเชียลพร้อมส่งคาท้าไปยังเพื่อนอีก 3 คน ซึ่งผู้ที่รับคาท้าต้องทาภารกิจภายใน 24 ชั่วโมง พร้อมบริจาคเงินเพียง 10 ดอลลาร์
แต่ถ้าปฏิเสธจะต้องบริจาคเพิ่มเป็น 100 ดอลลาร์ ก่อนโพสต์ลงโซเชียลมีเดียทั้งหลายทั้ง Facebook, Twitter, Instagram พร้อมใส่ hash tag
#alsicebucketchallenge #icebucketchallenge
3
- นาคนบันดาลใจเป็นสื่อ อีกหนึ่งวิธีที่กลุ่ม ฯ ใช้ในการดึงผู้คนและสร้างแรงบันดาลใจ คือ
การดึงคนที่มีแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มีชื่อเสียงมาเข้าร่วมกิจกรรม เช่น คุณโจร จันได
ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จะเป็นแรงบันดาลใจที่ดีของกลุ่มและผู้คนได้ (รูปที่ 3)
- สร้างแรงจูงใจในการดูแลต้นไม้ จากกิจกรรมการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง ได้ตั้งกติกาในการ
ดูแลต้นไม้ คือ ใครปลูก คนนั้นดูแลต้นไม้ หากต้นไม้ของใครตาย ต้องโดดน้าคูเมืองเชียงใหม่
รูปที่ 2 การปลุกต้นไม้ พร้อมติดแฮชแทค คาว่า มือเย็น เมืองเย็น
รูปที่ 3 กลุ่มคนผู้สร้างแรงบันดาลใจ
4
เป็นเงื่อนไขที่สร้างความสนุก ขณะเดียวกันสร้างความรับผิดชอบและพันธะสัญญา เพื่อให้
ผู้คนยังสามารถทากิจกรรมกับกลุ่มต่อไป (รูปที่ 4)
3. การทางานบนฐานวิชาการ
เมื่อมีการทากิจกรรมปลูกต้นไม้ไประยะหนึ่ง ทางกลุ่มเริ่มมีความจริงจังมากขึ้น มีนักวิชาการเข้าร่วม
มากขึ้น จึงเริ่มวางการทากิจกรรมบนฐานวิชาการ โดยอาจารย์ นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม เข้ามาให้ความรู้
เกี่ยวกับ “ไม้พื้นถิ่น” เพื่อใช้ในการปลูก รวมทั้งการแนะนาวิธีการปลูก การดูแลรักษาต้นไม้ การตกแต่ง การ
ทาคอกต้นไม้ เป็นต้น (รูปที่ 5)
รูปที่ 4 การโดดคูเมือง เงื่อนไขการดูแลต้นไม้
รูปที่ 5 การเสวนาเกี่ยวกับพันธุ์ไม้และสิ่งแวดล้อม
5
4. ความร่วมมือกับเทศบาลนครเชียงใหม่
หลังจากที่เริ่มมีการทากิจกรรมปลูกต้นไม้ได้สักระยะ เริ่มมีคนนาต้นไม้ไปปลูกในที่สาธารณะมากขึ้น
ทางกลุ่มฯ จึงเห็นว่า เมื่อเริ่มมีการปลูกในที่สาธารณะ ควรต้องทาให้เป็นเรื่องถูกต้อง อีกทั้งต้องการขยับ
กิจกรรมในอยู่ในระดับเมืองมากขึ้น จึงได้ประสานงานไปที่เทศบาลนครเชียงใหม่ โดยประสานงานผ่านกลุ่ม
งานพัฒนาเมือง และหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่
ในวันแรกที่เข้าไปพูดคุยกับเทศบาลฯ นั้น ได้แสดงเจตจานง และเหตุผลในการทากิจกรรมปลูก
ต้นไม้ การสร้างพื้นที่สีเขียว เมื่อมีเหตุผลที่ชัดเจนทาให้เทศบาลฯ เห็นด้วย และพร้อมสนับสนุน อีกทั้งได้มี
การปรึกษาเรื่องการออกแบบพื้นที่การปลูกต้นไม้ร่วมกัน โดยเทศบาลฯ อนุญาตให้ปลูกบนพื้นที่สาธารณะ
ได้ คือ สี่เหลี่ยมรอบคูเมือง ซึ่งทาให้เกิดเป็นกิจกรรมระดับเมืองร่วมกัน คือ ปลูกต้นไม้ 800 ต้น รอบคู
เมืองเชียงใหม่ โดยการสนับสนุนของเทศบาลฯ ทั้งสนับสนุนต้นไม้ สนับสนุนกากดิน มีหน่วยจราจรมาช่วย
อานวยความสะดวก อีกทั้งช่วยดูแลต้นไม้ โดยมีสปิงเกอร์น้าคอยรดน้า ซึ่งช่วยให้กิจกรรมปลูกต้นไม้
กลายเป็นวาระของเมือง ที่ขยายกิจกรรมให้คนในเมืองสามารถมาเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ได้ (รูปที่ 6)
5. กิจกรรมที่ผ่านมา
กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น ได้สร้างสรรค์กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม และสร้างกระแสของการปลูกต้นไม้
ดังนี้
- กิจกรรม มือเย็นเมืองเย็น แคมเปญท้าปลูก คือ ‘การชักชวนให้ปลูกต้นไม้’ ผ่านการสร้าง
แคมเปญ บน facebook ซึ่งได้รับความสนใจจานวนมาก มีผู้คนหลากหลายอาชีพเข้ามาให้ความ
รูปที่ 6 การสนับสนุนจากเทศบาลนครเชียงใหม่
6
สนใจในกิจกรรม โดยปลูกต้นไม้ และทาการแฮชแทกมา (รูปที่ 7)
- กิจกรรม แจกต้นไม้ คือ จะมีการแจกต้นไม้ทุกวันศุกร์ วางเป้าหมายไว้ที่ 5,000 ต้น ซึ่งได้รับ
ความร่วมมือจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อ.ดอยสะเก็ด
จ.เชียงใหม่ มอบพันธุ์ไม้พื้นถิ่น เพื่อให้ผู้คนสามารถนาไปปลูกในสถานที่ต่างๆ โดยมีผู้เข้าร่วม
มากมายหลากหลายอาชีพ ทั้งที่เป็นเด็ก ผู้ใหญ่ ครอบครัว นักวิชาการ เจ้าของร้านอาหาร
คนทางานอิสระ ภาคประชาสังคม สะท้อนให้ถึง ความต้องการของผู้คนในการทากิจกรรมกับเมือง
และอยากเห็นเมืองอากาศดีกว่าที่เป็นอยู่ (รูปที่ 8)
รูปที่ 7 กิจกรรม มือเย็นเมืองเย็น แคมเปญท้าปลูก
รูปที่ 8 กิจกรรม แจกต้นไม้
7
- กิจกรรม คูเมืองเย็น ร่วมกับเทศบาลนครเชียงใหม่ เมื่อกิจกรรมดาเนินไปด้วยดี จึงขยับการมี
ส่วนร่วมที่ใหญ่มากขึ้น คือ การทาให้เกิดพื้นที่สีเขียวกลางเมือง ซึ่งทางกลุ่มฯ ได้ออกแบบร่วมกับ
เทศบาลฯ เลือกพื้นที่ว่างรอบคูเมือง ปลูกต้นไม้พื้นถิ่นจานวน 800 ต้นรอบคูเมืองเชียงใหม่ โดย
เทศบาลนครเชียงใหม่ให้การสนับสนุนผลของแคมเปญคือพันธุ์ไม้พื้นถิ่นทั้ง 800 ต้น เป็น
กิจกรรมที่มีความร่วมมือของประชาชนกลุ่มต่างๆ ภาคธุรกิจ แ ละองค์กรท้องถิ่น (รูปที่ 9)
6. ความสาเร็จและการขยายผล
- มีจานวนต้นไม้เพิ่มขึ้นจานวนมาก เมื่อมีการสรุปผลกิจกรรม ทางกลุ่มฯ ได้ตรวจสอบจาก
แฮชแทก และการสุ่มโทร พร้อมนับจานวนต้นที่แจก พบว่า เชียงใหม่มีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น
กว่า 4000 กว่าต้น และลองปักหมุดบริเวณที่ต้นไม้ปลูกบนแผนที่ (รูปที่ 10) ทาให้เห็น
บริเวณการปลูกต้นไม้ และยังเห็นอีกว่า ยังมีพื้นที่อีกจานวนมากที่สามารถปลูกต้นไม้ได้
รูปที่ 9 กิจกรรม คูเมืองเย็น ร่วมกับเทศบาลนครเชียงใหม่
รูปที่ 10 ปักหมุดบริเวณที่ต้นไม้ปลูกบนแผนที่
8
- การขยายพื้นที่ไปเขตอื่นๆ เมื่อมีการปักหมุดต้นไม้ที่ปลูก ทาให้เห็นว่า ต้นไม้มีการปลูก
ข้ามเลยเขตแดนของเมืองเชียงใหม่ ไปยังอาเภออื่นๆ ด้วย สะท้อนให้เห็นว่าการปลูกต้นไม้
ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในเมืองเท่านั้น ซึ่งทางกลุ่ม ฯ จึงมีแผนที่จะขยายพื้นที่ไปยังที่อื่นๆ ด้วย
- ความร่วมมือของภาครัฐและประชาชนรูปแบบใหม่ ความน่าสนใจของความร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและประชาชนครั้งนี้ คือ มีความร่วมมือในรูปแบบที่แตกต่างออกไป มีความเป็นกันเอง ซึ่ง
ช่วยทาให้งานดาเนินไปได้ไกลมากขึ้น อีกทั้งช่วยลดช่องว่างระหว่างภาครัฐและประชาชนลงไปด้วย
(รูปที่ 11)
- การเป็น “วาระ” ของเมือง หลังจากที่ร่วมมือกับเทศบาลฯ ในการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง 800
ต้น (รูปที่ 12) ทาให้มีการขยายผล จากที่ปลูกแค่คูเมือง เทศบาลฯ จะผลักดันขยายไปยังถนน
เส้นต่างๆ เช่น ถนนท่าแพร มีความร่วมมือระดมความคิดร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาค
ประชาสังคม เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ เพื่อพัฒนาเมืองให้ดีขึ้น เช่น ทางเท้า ถนน ซึ่ง
ไม่ใช่เพียงแค่ความร่วมมือกับกลุ่มฯ เท่านั้น แต่ยังขยายการขับเคลื่อนร่วมมือไปยัง กลุ่มส
ถาปนิคล้านนา ชาวบ้าน นักวิชาการ ชุมชนต่างๆ ด้วย
รูปที่ 11 ความร่วมมือของเทศบาล ฯ และกลุ่มฯ
รูปที่ 12 ความร่วมมือของผู้คนในการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์วรรณา ไชยศรี
 
Hilagang Asya
Hilagang AsyaHilagang Asya
Hilagang Asya
AmyrJayBien1
 
Araling panlipunan 7.pptx
Araling panlipunan 7.pptxAraling panlipunan 7.pptx
Araling panlipunan 7.pptx
JaysonKierAquino
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
Abhichat Anukulwech
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
jarudee
 
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptxARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
MaryJoyTolentino8
 
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptxGrade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
LovelyGalit1
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
Chapa Paha
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
Krudoremon
 
Heograpiya ng hilagang sentral asya
Heograpiya ng hilagang sentral asyaHeograpiya ng hilagang sentral asya
Heograpiya ng hilagang sentral asya
Teacher May
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng AsyaAP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
Juan Miguel Palero
 
Kontinente ng Asya
Kontinente ng AsyaKontinente ng Asya
Kontinente ng Asya
Padme Amidala
 
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang AsyaAralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
Teacher May
 
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng AsyaAralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
Amelia Jojimar Dinozo
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
จารุ โสภาคะยัง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
leemeanshun minzstar
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 
Heograpiyang Pisikal ng Daigdig
Heograpiyang Pisikal ng DaigdigHeograpiyang Pisikal ng Daigdig
Heograpiyang Pisikal ng Daigdig
ronald vargas
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
Hilagang Asya
Hilagang AsyaHilagang Asya
Hilagang Asya
 
Araling panlipunan 7.pptx
Araling panlipunan 7.pptxAraling panlipunan 7.pptx
Araling panlipunan 7.pptx
 
Grupong etnolingwistiko
Grupong etnolingwistikoGrupong etnolingwistiko
Grupong etnolingwistiko
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
 
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptxARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
ARALIN 28 III-ANG MGA PAGBABAGO SA TIMOG AT KANLURANG ASYA.pptx
 
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptxGrade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
Grade-7-Mga-Rehiyon-sa-Asya.pptx
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
Heograpiya ng hilagang sentral asya
Heograpiya ng hilagang sentral asyaHeograpiya ng hilagang sentral asya
Heograpiya ng hilagang sentral asya
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng AsyaAP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
AP 7 Lesson no. 1: Heograpiya ng Asya
 
Kontinente ng Asya
Kontinente ng AsyaKontinente ng Asya
Kontinente ng Asya
 
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang AsyaAralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
Aralin 4 Heograpiya ng Silangang Asya
 
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng AsyaAralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
Aralin 1: Ang Katangiang Pisikal ng Asya
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Heograpiyang Pisikal ng Daigdig
Heograpiyang Pisikal ng DaigdigHeograpiyang Pisikal ng Daigdig
Heograpiyang Pisikal ng Daigdig
 

Viewers also liked

แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
FURD_RSU
 
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
FURD_RSU
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
Somyot Ongkhluap
 
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISMCULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
ERICK MAINA
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Prematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacerPrematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacer
Antonio Fernandez
 
Affordable travel: Kenting Taiwan
Affordable travel: Kenting TaiwanAffordable travel: Kenting Taiwan
Affordable travel: Kenting Taiwan
MUSTHoover
 
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosPalestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Fabio Lima
 
Presentasi cbi ku
Presentasi cbi kuPresentasi cbi ku
Coneixer barcelona(15 16). ppt
Coneixer barcelona(15 16). pptConeixer barcelona(15 16). ppt
Coneixer barcelona(15 16). ppt
mvilage
 
P kn plpg 2012
P kn plpg 2012P kn plpg 2012
P kn plpg 2012
arghearheza
 
Venetia panorama
Venetia panoramaVenetia panorama
Affordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan TravelAffordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan Travel
MUSTHoover
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability introIan Garrett
 

Viewers also liked (20)

แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
Inclusive marketing
Inclusive marketingInclusive marketing
Inclusive marketing
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISMCULTURE AND HERITAGE TOURISM
CULTURE AND HERITAGE TOURISM
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Ppt 01
 
Prematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacerPrematuridad y bajo peso al nacer
Prematuridad y bajo peso al nacer
 
Affordable travel: Kenting Taiwan
Affordable travel: Kenting TaiwanAffordable travel: Kenting Taiwan
Affordable travel: Kenting Taiwan
 
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosPalestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
 
Presentasi cbi ku
Presentasi cbi kuPresentasi cbi ku
Presentasi cbi ku
 
Coneixer barcelona(15 16). ppt
Coneixer barcelona(15 16). pptConeixer barcelona(15 16). ppt
Coneixer barcelona(15 16). ppt
 
Decimales: Valor Posicional
Decimales: Valor PosicionalDecimales: Valor Posicional
Decimales: Valor Posicional
 
P kn plpg 2012
P kn plpg 2012P kn plpg 2012
P kn plpg 2012
 
Venetia panorama
Venetia panoramaVenetia panorama
Venetia panorama
 
Affordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan TravelAffordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan Travel
 
Sinónimos
SinónimosSinónimos
Sinónimos
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability intro
 
Ch15
Ch15Ch15
Ch15
 

Similar to กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
นู๋หนึ่ง nooneung
 
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนโครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนพัน พัน
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
เครือข่าย ปฐมภูมิ
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
จตุรพล ชานันโท
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
Sompop Petkleang
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
Niran Kultanan
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
Sudarat Sangsuriya
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
project
projectproject
project
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 

Similar to กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว (20)

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนโครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
เวลา อาสา
เวลา อาสาเวลา อาสา
เวลา อาสา
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
Cas 11 4
Cas 11 4Cas 11 4
Cas 11 4
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว

  • 1. กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น โดย ฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกูล กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 1 กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว1 กลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่เป็นอาสาสมัคร ผู้สนใจการสร้างพื้นที่สีเขียว และสิ่งแวดล้อมเมืองในเชียงใหม่ ช่วงที่ผ่านมา ได้ทาการปลูกต้นไม้ ทากิจกรรมร่วมกันด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการเคลื่อนไหวที่สร้างกระแสการ อนุรักษ์เมืองเชียงใหม่ ในมิติสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดเป็นกระแสการดูแลพื้นที่สีเขียว และการพูดถึงของ สิ่งแวดล้อมเมือง และเกิดมิติการทางานกับกลุ่มคนใหม่ๆ อย่างภาคเอกชน และเจ้าหน้าที่เทศบาลที่ให้ความ ร่วมมือเป็นอย่างดี 1. ที่มาของกลุ่ม จุดเริ่มต้น เริ่มจาก คุณโอปอ ภราดล พรอานวย ผู้สนใจปลูกต้นไม้ในเมือง จึงได้ชักชวนเพื่อนๆ ให้ มาร่วมกันปลูกต้นไม้ ซึ่งเพื่อนหลายคนเห็นด้วย ทาให้เกิดการรวมของกลุ่มศิลปินนักดนตรีซึ่งส่วนใหญ่เป็น อาสาสมัครเล่นดนตรีให้กับงานสาธารณะประโยชน์ในพื้นที่เขตเมือง เช่น เมื่อโครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียง เชียงใหม่มีการจัดงานวัฒนธรรม หรือเครือข่ายภาคประชาสังคมและองค์กรนักพัฒนาเอกชนมีกิจกรรม สร้างสรรค์กลุ่มศิลปินเหล่านี้ก็จะถูกเชิญมาเล่นดนตรีร่วมกัน จนเกิดการพูดคุยกันระหว่างกลุ่มศิลปิน และ คนรุ่นใหม่จากหลากหลายอาชีพถึงการดูแลเมืองร่วมกันในเรื่องพื้นที่สีเขียวและต้นไม้ใหญ่ในเมือง เนื่องจาก มองเห็นว่าเชียงใหม่มีปัญหามลพิษในเมือง โดยเน้นไปที่การปลูกต้นไม้ เพราะเชื่อว่าต้นไม้จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยรวมตัวในกลุ่มที่ชื่อว่า “กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น” (รูปที่ 1) 1 ถอดความและเรียบเรียงจากการบรรยายของ คุณฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกูล ตัวแทนกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น ในการประชุมวิชาการ เรื่อง “ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมการพัฒนาเมือง” วันที่ 9 มกราคม 2559 จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ รูปที่ 1 ทีมงานกลุ่มมือเย็น เมืองเย็น
  • 3. 2 ผู้คนที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เป็นอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ มีทั้งสถาปนิค คนทาเค้ก นักดนตรี และบางคนที่เคยทาภาคประชาสังคมมาก่อน โดยทุกคนสนใจเป้าหมายเดียวกัน และคิดง่ายๆ เพียงแค่อยากปลูกต้นไม้ และทาให้เมืองเชียงใหม่น่าอยู่ขึ้น 2. วิธีคิดและเครื่องมือในการทางาน กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น มีแนวคิดทากิจกรรม คือ การปลูกต้นด้วยความสนุก จึงระดมความคิด ร่วมกัน ว่าจะทาอย่างไรให้การปลูกต้นไม้ หรือเรื่องสิ่งแวดล้อม ให้ไม่น่าเบื่อ สนุก และผู้คนอยากเข้าร่วม เพราะที่ผ่านมา เมื่อพูดถึงสิ่งแวดล้อม จะเป็นเชิงวิชาการ มีความจริงจัง ทาให้ไม่สามารถดึงดูดผู้คนให้มา เข้าร่วมได้ ด้วยวิธีคิดดังกล่าว ทาให้ทางกลุ่ม ฯ ได้ออกแบบกิจกรรมและเครื่องมือที่สร้างแรงบันดาลใจและ สร้างความสนใจให้ผู้คนในเมือง ดังนี้ - การสร้างแคมเปญท้าปลูก ใน Social media ทางกลุ่ม ฯ สร้างการมีส่วนร่วมจากการใช้ social media เป็นเครื่องมือในการทางาน เพราะ ลงทุนน้อยที่สุด และทางานง่ายที่สุด ด้วยการจัดแคมเปญท้าปลูกผ่านเฟสบุ๊ค ซึ่งได้ต้นแบบจาก แคมเปญการกุศลอันโด่งดังอย่าง Ice Bucket Challenge2 โดยแคมเปญ ‘ท้าปลูก’ เปลี่ยน กติกาจากการราดน้าเย็นเป็นการปลูกต้นไม้หนึ่งต้น แล้วท้าเพื่อนอีกสามคนให้ปลูกตาม ถ่ายรูปต้นไม้ที่ปลูก โดยปลูกที่ไหนก็ได้ พร้อมกับติดแฮชแท็ก #มือเย็นเมืองเย็น แชร์ลงบน Facebook (รูปที่ 2) วิธีดังกล่าวได้รับการตอบรับที่ดีมากจากผู้คนในเมือง โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ทาให้หลายคนเริ่ม มาปลูกต้นไม้ เพราะเป็นเสมือนการเล่นเกม กลายเป็นกระแสปลูกต้นไม้ในเมืองเชียงใหม่ ทาให้ผล ของแคมเปญนอกจากมีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น ยังเป็นที่รู้จักมากขึ้นด้วย 2 Ice Bucket Challenge คือ แคมเปญที่เริ่มต้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 2014 ที่ผ่านมา โดย พีท ฟราเทส อดีตนักกีฬาเบสบอลจากบอสตัน คอล เลจ วัย 29 ปี ซึ่งเขาป่วยเป็นโรค ALS หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรงมาตั้งแต่ปี 2011 ซึ่งการท้าทายของเขาได้กลายเป็นกระแสระบาดทางออนไลน์ไป ยังผู้คนทั่วโลก โดยแคมเปญนี้ได้ทาขึ้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้คนตระหนักถึงโรค ALS และระดมเงินบริจาคให้กับการทาวิจัยและช่วยเหลือ ผู้ป่วยโรคดังกล่าว สาหรับแคมเปญนี้เรียกร้องให้ผู้คนใช้ถังน้าแข็งผสมน้าเทรดลงไปบนศีรษะของตนเอง โดยระหว่างที่ทาต้องมีการอัดคลิปและ โพสต์ลงในโลกโซเชียลพร้อมส่งคาท้าไปยังเพื่อนอีก 3 คน ซึ่งผู้ที่รับคาท้าต้องทาภารกิจภายใน 24 ชั่วโมง พร้อมบริจาคเงินเพียง 10 ดอลลาร์ แต่ถ้าปฏิเสธจะต้องบริจาคเพิ่มเป็น 100 ดอลลาร์ ก่อนโพสต์ลงโซเชียลมีเดียทั้งหลายทั้ง Facebook, Twitter, Instagram พร้อมใส่ hash tag #alsicebucketchallenge #icebucketchallenge
  • 4. 3 - นาคนบันดาลใจเป็นสื่อ อีกหนึ่งวิธีที่กลุ่ม ฯ ใช้ในการดึงผู้คนและสร้างแรงบันดาลใจ คือ การดึงคนที่มีแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มีชื่อเสียงมาเข้าร่วมกิจกรรม เช่น คุณโจร จันได ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จะเป็นแรงบันดาลใจที่ดีของกลุ่มและผู้คนได้ (รูปที่ 3) - สร้างแรงจูงใจในการดูแลต้นไม้ จากกิจกรรมการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง ได้ตั้งกติกาในการ ดูแลต้นไม้ คือ ใครปลูก คนนั้นดูแลต้นไม้ หากต้นไม้ของใครตาย ต้องโดดน้าคูเมืองเชียงใหม่ รูปที่ 2 การปลุกต้นไม้ พร้อมติดแฮชแทค คาว่า มือเย็น เมืองเย็น รูปที่ 3 กลุ่มคนผู้สร้างแรงบันดาลใจ
  • 5. 4 เป็นเงื่อนไขที่สร้างความสนุก ขณะเดียวกันสร้างความรับผิดชอบและพันธะสัญญา เพื่อให้ ผู้คนยังสามารถทากิจกรรมกับกลุ่มต่อไป (รูปที่ 4) 3. การทางานบนฐานวิชาการ เมื่อมีการทากิจกรรมปลูกต้นไม้ไประยะหนึ่ง ทางกลุ่มเริ่มมีความจริงจังมากขึ้น มีนักวิชาการเข้าร่วม มากขึ้น จึงเริ่มวางการทากิจกรรมบนฐานวิชาการ โดยอาจารย์ นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม เข้ามาให้ความรู้ เกี่ยวกับ “ไม้พื้นถิ่น” เพื่อใช้ในการปลูก รวมทั้งการแนะนาวิธีการปลูก การดูแลรักษาต้นไม้ การตกแต่ง การ ทาคอกต้นไม้ เป็นต้น (รูปที่ 5) รูปที่ 4 การโดดคูเมือง เงื่อนไขการดูแลต้นไม้ รูปที่ 5 การเสวนาเกี่ยวกับพันธุ์ไม้และสิ่งแวดล้อม
  • 6. 5 4. ความร่วมมือกับเทศบาลนครเชียงใหม่ หลังจากที่เริ่มมีการทากิจกรรมปลูกต้นไม้ได้สักระยะ เริ่มมีคนนาต้นไม้ไปปลูกในที่สาธารณะมากขึ้น ทางกลุ่มฯ จึงเห็นว่า เมื่อเริ่มมีการปลูกในที่สาธารณะ ควรต้องทาให้เป็นเรื่องถูกต้อง อีกทั้งต้องการขยับ กิจกรรมในอยู่ในระดับเมืองมากขึ้น จึงได้ประสานงานไปที่เทศบาลนครเชียงใหม่ โดยประสานงานผ่านกลุ่ม งานพัฒนาเมือง และหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ ในวันแรกที่เข้าไปพูดคุยกับเทศบาลฯ นั้น ได้แสดงเจตจานง และเหตุผลในการทากิจกรรมปลูก ต้นไม้ การสร้างพื้นที่สีเขียว เมื่อมีเหตุผลที่ชัดเจนทาให้เทศบาลฯ เห็นด้วย และพร้อมสนับสนุน อีกทั้งได้มี การปรึกษาเรื่องการออกแบบพื้นที่การปลูกต้นไม้ร่วมกัน โดยเทศบาลฯ อนุญาตให้ปลูกบนพื้นที่สาธารณะ ได้ คือ สี่เหลี่ยมรอบคูเมือง ซึ่งทาให้เกิดเป็นกิจกรรมระดับเมืองร่วมกัน คือ ปลูกต้นไม้ 800 ต้น รอบคู เมืองเชียงใหม่ โดยการสนับสนุนของเทศบาลฯ ทั้งสนับสนุนต้นไม้ สนับสนุนกากดิน มีหน่วยจราจรมาช่วย อานวยความสะดวก อีกทั้งช่วยดูแลต้นไม้ โดยมีสปิงเกอร์น้าคอยรดน้า ซึ่งช่วยให้กิจกรรมปลูกต้นไม้ กลายเป็นวาระของเมือง ที่ขยายกิจกรรมให้คนในเมืองสามารถมาเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ได้ (รูปที่ 6) 5. กิจกรรมที่ผ่านมา กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น ได้สร้างสรรค์กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม และสร้างกระแสของการปลูกต้นไม้ ดังนี้ - กิจกรรม มือเย็นเมืองเย็น แคมเปญท้าปลูก คือ ‘การชักชวนให้ปลูกต้นไม้’ ผ่านการสร้าง แคมเปญ บน facebook ซึ่งได้รับความสนใจจานวนมาก มีผู้คนหลากหลายอาชีพเข้ามาให้ความ รูปที่ 6 การสนับสนุนจากเทศบาลนครเชียงใหม่
  • 7. 6 สนใจในกิจกรรม โดยปลูกต้นไม้ และทาการแฮชแทกมา (รูปที่ 7) - กิจกรรม แจกต้นไม้ คือ จะมีการแจกต้นไม้ทุกวันศุกร์ วางเป้าหมายไว้ที่ 5,000 ต้น ซึ่งได้รับ ความร่วมมือจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ มอบพันธุ์ไม้พื้นถิ่น เพื่อให้ผู้คนสามารถนาไปปลูกในสถานที่ต่างๆ โดยมีผู้เข้าร่วม มากมายหลากหลายอาชีพ ทั้งที่เป็นเด็ก ผู้ใหญ่ ครอบครัว นักวิชาการ เจ้าของร้านอาหาร คนทางานอิสระ ภาคประชาสังคม สะท้อนให้ถึง ความต้องการของผู้คนในการทากิจกรรมกับเมือง และอยากเห็นเมืองอากาศดีกว่าที่เป็นอยู่ (รูปที่ 8) รูปที่ 7 กิจกรรม มือเย็นเมืองเย็น แคมเปญท้าปลูก รูปที่ 8 กิจกรรม แจกต้นไม้
  • 8. 7 - กิจกรรม คูเมืองเย็น ร่วมกับเทศบาลนครเชียงใหม่ เมื่อกิจกรรมดาเนินไปด้วยดี จึงขยับการมี ส่วนร่วมที่ใหญ่มากขึ้น คือ การทาให้เกิดพื้นที่สีเขียวกลางเมือง ซึ่งทางกลุ่มฯ ได้ออกแบบร่วมกับ เทศบาลฯ เลือกพื้นที่ว่างรอบคูเมือง ปลูกต้นไม้พื้นถิ่นจานวน 800 ต้นรอบคูเมืองเชียงใหม่ โดย เทศบาลนครเชียงใหม่ให้การสนับสนุนผลของแคมเปญคือพันธุ์ไม้พื้นถิ่นทั้ง 800 ต้น เป็น กิจกรรมที่มีความร่วมมือของประชาชนกลุ่มต่างๆ ภาคธุรกิจ แ ละองค์กรท้องถิ่น (รูปที่ 9) 6. ความสาเร็จและการขยายผล - มีจานวนต้นไม้เพิ่มขึ้นจานวนมาก เมื่อมีการสรุปผลกิจกรรม ทางกลุ่มฯ ได้ตรวจสอบจาก แฮชแทก และการสุ่มโทร พร้อมนับจานวนต้นที่แจก พบว่า เชียงใหม่มีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น กว่า 4000 กว่าต้น และลองปักหมุดบริเวณที่ต้นไม้ปลูกบนแผนที่ (รูปที่ 10) ทาให้เห็น บริเวณการปลูกต้นไม้ และยังเห็นอีกว่า ยังมีพื้นที่อีกจานวนมากที่สามารถปลูกต้นไม้ได้ รูปที่ 9 กิจกรรม คูเมืองเย็น ร่วมกับเทศบาลนครเชียงใหม่ รูปที่ 10 ปักหมุดบริเวณที่ต้นไม้ปลูกบนแผนที่
  • 9. 8 - การขยายพื้นที่ไปเขตอื่นๆ เมื่อมีการปักหมุดต้นไม้ที่ปลูก ทาให้เห็นว่า ต้นไม้มีการปลูก ข้ามเลยเขตแดนของเมืองเชียงใหม่ ไปยังอาเภออื่นๆ ด้วย สะท้อนให้เห็นว่าการปลูกต้นไม้ ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในเมืองเท่านั้น ซึ่งทางกลุ่ม ฯ จึงมีแผนที่จะขยายพื้นที่ไปยังที่อื่นๆ ด้วย - ความร่วมมือของภาครัฐและประชาชนรูปแบบใหม่ ความน่าสนใจของความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและประชาชนครั้งนี้ คือ มีความร่วมมือในรูปแบบที่แตกต่างออกไป มีความเป็นกันเอง ซึ่ง ช่วยทาให้งานดาเนินไปได้ไกลมากขึ้น อีกทั้งช่วยลดช่องว่างระหว่างภาครัฐและประชาชนลงไปด้วย (รูปที่ 11) - การเป็น “วาระ” ของเมือง หลังจากที่ร่วมมือกับเทศบาลฯ ในการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง 800 ต้น (รูปที่ 12) ทาให้มีการขยายผล จากที่ปลูกแค่คูเมือง เทศบาลฯ จะผลักดันขยายไปยังถนน เส้นต่างๆ เช่น ถนนท่าแพร มีความร่วมมือระดมความคิดร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาค ประชาสังคม เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ เพื่อพัฒนาเมืองให้ดีขึ้น เช่น ทางเท้า ถนน ซึ่ง ไม่ใช่เพียงแค่ความร่วมมือกับกลุ่มฯ เท่านั้น แต่ยังขยายการขับเคลื่อนร่วมมือไปยัง กลุ่มส ถาปนิคล้านนา ชาวบ้าน นักวิชาการ ชุมชนต่างๆ ด้วย รูปที่ 11 ความร่วมมือของเทศบาล ฯ และกลุ่มฯ รูปที่ 12 ความร่วมมือของผู้คนในการปลูกต้นไม้รอบคูเมือง