SlideShare a Scribd company logo
“ ท้ องถินกับหน่ วยบริการสุขภาพ
          ่
 ทํางานร่ วมกัน ที่ตาบลนาบัว ”
                    ํ
เพือร่วมกัน…สร้างความมั่นคงทางสุขภาพ
   ่
                 นํามาสู่...
         ความมันคงของท้องถิ่น...
               ่

                    โดย..สุวรรณา เมืองพระฝาง
                  นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ
บทบาท ท้ องถิน บทบาทหน่ วยบริการสุ ขภาพ
               ่
 ทํางานร่ วมกันภายใต้ วฒนธรรมและวิถชุมชน
                       ั           ี
สร้ างระบบสุขภาพชุมชน ของคนตําบลนาบัว
       อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
แนวคิดคนทํางานต้องเปลี่ยน
       สุขภาพ เป็ นเรื่ องที่ครอบคลุมต่อเนื่องทุกช่วงชีวิต ตังแต่ เกิด
                                                             ้
จนตาย และหลังตาย ครอบคลุมวิถีการดําเนินชีวิต เพื่อสร้ างเสริ ม
สุขภาพ ปองกันการเจ็บป่ วย การรักษาโรค และการฟื นฟูสภาพ
           ้                                            ้
        ดังนัน สุขภาพจึงมิได้ มีความหมายจํากัดอยูเ่ พียงการไม่เจ็บป่ วย
             ้
หรื อพิการเท่านัน หากยังครอบคลุมถึงการดําเนินชีวิตที่ยืนยาว
                 ้
ของทุกคน ซึงมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปั จจัยต่างๆ มากมาย
               ่
โดยกระบวนการพัฒนาทักษะเพื่อส่งเสริ ม ให้ คนมีสขภาพดีุ
เหตุทมาของการพัฒนา
     ี่
  เมือ 16 ปี ทีผ่านมา ตําบลนาบัวถูกมองจากภาครัฐ เป็ นชุ มชนล้ าหลัง ไม่
     ่         ่
   พัฒนา ซึ่งคนนาบัวมองการพัฒนาของภาครัฐ ว่ า
• การพัฒนาทีไม่ ตรงกับความต้ องการของคนในชุ มชน
                   ่
• ชาวบ้ านเป็ นเพียงตัวประกอบการพัฒนา
• การพัฒนาทีไม่ สร้ างความยังยืนให้ กบคนในชุ มชนขาดความรู้สึกเป็ น
                 ่          ่        ั
   เจ้ าของ
ฐานคิดของการพัฒนาระบบสุ ขภาพชุ มชน
             ตําบลนาบัว
- การปลูกฝังวัฒนธรรมลงแรง
- สร้ างการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วน
 - ผู้นําต้ องทําเป็ นแบบอย่ าง
- การสร้ างทีม สร้ างเครือข่ ายในการพัฒนาตําบล
จากปัญหาของสั งคมคนนาบัว
• พืนที่สาธารณะหรือพืนที่กลาง ชาวบ้านไม่เคยมีพ้ืนที่กลาง ในการแสดงความ
     ้                   ้
  คิดเห็นหรื อสะท้อนการทํางานของหน่วยงานรัฐและท้องถิ่น เป็ นแค่ตวประกอบใน
                                                                        ั
  การพัฒนา ไม่ใช่เจ้าของ พื้นที่ที่ทุกคนเป็ นเจ้าของและสามารถพบปะแลกเปลี่ยน
  พูดคุยหรื อทํากิจกรรมต่างๆ โดยการสร้าง สนับสนุนหรื อกระตุนให้เกิดในระดับ
                                                                    ้
  หมู่บานและตําบล
       ้
• การมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการท้ องถิ่น การมีส่วนร่ วม มักเป็ นแค่ผเู ้ ข้าร่ วม
  ไม่ใช้เจ้าของร่ วม
• ขาดความเป็ นเจ้ าของกระบวนการพัฒนา คนในชุมชนไม่มีเวทีที่จะสะท้อนหรื อ
  บอกเล่าการทําดีแก่ผอื่นให้ได้รับรู ้ จึงไม่รู้สึกเป็ นเจ้าของกระบวนการพัฒนาของ
                      ู้
  หมู่บานและตําบล
         ้
กระบวนการทํางานใช้ วฒนธรรมและวิถชุมชน
                      ั           ี
       เป็ นเครื่องมือในการทํางาน




• ทํางานแบบเอาแรงกันโดยเปลี่ยนกันเป็ นเจ้ าภาพ
• โดยให้ มการช่ วยเหลือกันในการทํากิจกรรมหมุนเวียนเปลียนกันเป็ น
          ี                                           ่
  เจ้ าภาพในแต่ ละปี หรือการทํากิจกรรมในแต่ ละเรื่อง
การรวมคน ใช้ รูปแบบพิธีกรรม แทนพิธีการ

• โดยใช้พิธีกรรม(การทําบุญ การเลี้ยง
  ผี)ใครทราบก็มา ปากต่อปาก แทน
  พิธีการ คือการจัดกิจกรรมมีหนังสื อ
  เชิญเป็ นรายบุคคลรายตําแหน่ง

                                       •การใช้ วฒนธรรมและสิ่ งแวดล้ อม เป็ น
                                                  ั
                                       เครื่ องมือในการทํากิจกรรมการพัฒนาแทนการ
                                       มุ่งใช้เงินหรื องบประมาณจากหน่วยงาน
กระบวนการสร้ างคน สร้ างงานแบบมีส่วนร่ วม
•การพัฒนาสร้ างผู้นํารุ่นใหม่ ผ่านกติกาที่ผนาที่จะมีโอกาสขึ้นนําเสนอต้องเป็ นคนใหม่ในหมู่บาน
                                                ู้ ํ                                              ้
และไม่ซ้ าคนเดิม และคนนั้นต้องเข้าร่ วมกระบวนการพัฒนาตลอดปี
           ํ
•สร้ างการเรียนรู้ และการมีส่วนร่ วม โดยให้เรี ยนรู ้จากการทํางานที่แกนนําและคนในหมู่บานหรื อกลุ่ม
                                                                                            ้
ต้องร่ วมกันคิดร่ วมกําหนดทิศทางวางแผน ร่ วมลงมือทํา เมื่อทําในรอบ1 ปี ระหว่างทําร่ วมตรวจสอบ
เมื่อทําเสร็ จสิ้ นแล้วประเมินผล แล้วร่ วมกันสรุ ปผลการดําเนินงานแล้วคัดเลือก เรื่ องที่จะต้องนําเสนอ
คือ เรื่ องที่ดี และเด่น ของหมู่บาน 1-2 เรื่ อง และเรื่ องที่เป็ นปัญหาที่ตองการให้หน่วยงานหรื อคนอื่น
                                 ้                                         ้
ช่วยเหลือสนับสนุน
กระบวนการค้ นหาสร้ างแกนนําและหาเครือข่ ายทํางานร่ วมกัน
•   การหาคนที่ทางานพัฒนาด้ านต่ างๆในชุมชน
                  ํ
•   ชักชวนผู้นําทางการและไม่ เป็ นทางการ (เอาใจมารวมกันภายใต้ ความเป็ น)
•   การสร้ างแกนนํารุ่ นใหม่ (คนนําเสนอไม่ ซาคนเดิม)
                                              ํ้
•   แกนนําไม่ เลือกเฉพาะคนเก่ ง คนเด่ น แต่ เลือกคนที่สมัครใจเข้ าร่ วม
•   มีกระบวนการพัฒนาแกนนําโดยค้ นหาความเก่ ง ความถนัด ความชอบของ
    แกนนําหรื อเครื อข่ ายแล้ วให้ รับผิดชอบงานที่ตนเองถนัด
ใช้ “ศักดิ์ศรี ” เป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิดความต่อเนื่อง
   ด้ วยการแข่ งขันการทําดี เช่ น เจ้ าภาพในแต่ ละปี
การเลือกทํากิจกรรมต่ อยอดจากเรื่องดีๆ

• ที่เป็ นทุนเดิม สามารถทําแล้ว
  สําเร็ จด้วยระยะเวลาสั้นๆ
  (เพื่อตักตวงกําลังใจ ชัยชนะ
  ให้คนทํางาน) แทนการเลือก
  ทํากิจกรรมที่เริ่ มต้นจาก
  ปัญหาที่ทายาก
              ํ
• เห็นผลสําเร็ จช้า (คนทําจะ
  ท้อถอย)
“ กระบวนการมีส่วนร่ วม”
           ทีทุกภาคีเครือข่ าย “เรียนรู้ ร่วมกัน”
             ่
ผ่านการทํางานแบบมีส่วนร่ วม ที่ร่วมคิด ร่ วมวางแผน ร่ วมลงมือทํา
        ร่ วมประเมินผล ร่ วมตรวจสอบ และร่ วมนําเสนอ
             เพื่อสร้างความเป็ นเจ้าของตําบล
เวทีวชาการชาวบ้ าน
                                   ิ

  เป็ นกระบวนการที่ทํามาแล้ ว 14 ปี ให้ คนในชุมชนในหมูบ้านมา ร่ วมกันคิด ร่ วมวางแผน ร่ วม
                                                     ่
ลงมือทํา ร่ วมรั บผิดชอบ ร่ วมประเมินผล ร่ วมนําเสนอผลงาน จากการพัฒนาหมูบ้านในเรื่ อง ่
ของสุขภาพแบบองค์ รวม ที่ครอบคลุมในเรื่องของสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ
ปกครอง สิ่งแวดล้ อม วัฒนธรรม หรื อ เรื่ องของปากท้ อง และเรื่ องอื่นๆที่ชมชนเห็นว่า ส่งผล
                                                                            ุ
กระทบต่อคนในชุมชนในรอบ 1 ปี จากกิจกรรมต่างๆที่ทําร่วมกัน หรื อจากผลการทําประชาคมใน
หมูบ้านและตําบล แล้ วนําผลงานที่คนในชุมชนภาคภูมิใจหรื อปั ญหา มานําเสนอ เพื่อให้ เป็ นเวที
     ่
แลกเปลี่ยน เรียนรู้ หาแนวทางการแก้ ปัญหาและพัฒนาสังคม ชุมชน ร่ วมกัน เป็ นเวทีสร้ าง
แกนนํารุ่นใหม่ของตําบลเพราะทุกคนที่จะนําเสนอต้ องเป็ นคนใหม่ที่ไม่เคยขึ ้นเวทีนี ้ ทุกคนเป็ น
เจ้ าของ เพราะร่ วมกันลงทุนในการจัดงานโดย อบต.ร่วมลงขันเพิมเติมในการจัดงานปี ละ 20,000
                                                             ่
บาทตังแต่ปี2547 สถานที่และเจ้ าภาพจะหมุนเวียนไปในแต่ละหมูบ้าน การเป็ น
       ้                                                             ่
เจ้ าภาพชาวบ้ านทังหมูบ้านต้ องทํางานอย่างมีสวนร่วมเพราะเป็ นงานใหญ่ที่ทกคน
                    ้ ่                       ่                            ุ
ต้ องเป็ นเจ้ าภาพ ในปี 2554 จัดที่บ้านไร่ พฒนา หมู่ท่ ี 13 วันที่ 8 มกราคม 2554
                                            ั
เวทีวชาการชาวบ้ านปี ที1 วันที่ 5 มกราคม 2541
      ิ                 ่
จัดที่หมู่ที่ 2 บ้านบุ่งสี เสี ยด วาระชุมชน”ค้นหาตนเอง”
               ผลลัพธ์ ท่ ได้
                          ี
              1) การเรียนรูความเป็ นมาของชุมชน รูจักตนเอง
                                 ้                                       ้
              2) มีทมทํางานดานสุขภาพในระดับหมูบาน/ตําบล
                         ี          ้                                ่ ้
              3) มีกระบวนการเรียนรูเรืองของหมูบานเกณท ์
                                                ้ ่             ่ ้
              หมูบานสุขภาพดีถวนหน้า
                     ่ ้                  ้
              4)เกิดพืนทีกลางหรือพืนทีสาธารณะทีทกคนรวมกัน
                           ้ ่                 ้ ่                  ่ ุ      ่
              สรางและเป็ นเจ้าของ 
                   ้
                       คือ ศสมช.ทีเป็ นอาคารหลังเล็กๆในหมูบาน
                                        ่                                  ่ ้
               5) เกิดกติกาและกฎของชุมชนทีทกคนตกลงรวมกัน   ่ ุ                 ่
              เรืองการจัดงานเวที เช่น การลงขันช่วยงาน 
                 ่
              การหมุนเวียนเปลี่ยนกันเป็ นเจ้าภาพ
               6) การกําหนดวาระร่ วมในการพัฒนาของตําบล
              7)กติกาในเรื่ องของการชื่นชมเจ้าภาพ ทุกคนที่ไปร่ วมงานต้องช่วยเพิมกําลังใจ
                                                                                 ่
              ให้แก่เจ้าภาพ โดยการชมและยกย่องมากกว่าจับผิดในสิ่ งบกพร่ องเล็กน้อย
ปี ที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 2542
จัดที่หมู่ที่ 3 บ้านโนนวาระชุมชน“การพัฒนาจากสิ่ งดี ดีที่คนพบ ”
                                                          ้
                          ผลลัพธ์

                           เกิดกลุ่มแปรรู ปสมุนไพรเป็ นยา เช่น ยาหม่อง
                           สมุนไพร ทิงเจอร์เสลดพังพอน ยาสมุนไพร
                           ที่มาจากพืชที่มีในตําบล เช่นฟ้ าทะลายโจร
                           ขมิ้นชัน เพชรสังฆาต เป็ นต้น
ปี ที่ 3 วันที่ 8 มกราคม 2543
จัดที่หมู่ที่ 4 บ้านนาบัว วาระชุมชน“การแสวงหาเครื อข่าย หาเพื่อนทํางาน”
                   ผลลัพธ์ - เปลี่ยนชื่องานจากงานสัมมนาชาวบ้าน เป็ นเวทีวชาการชาวบ้าน
                                                                         ิ
                                 - มีเครื อข่ายภาควิชาการมาเข้าร่ วมเวทีเป็ นครั้งแรก คือ ศูนย์สสม.
                                 ภาคเหนือนครสวรรค์ในขณะนั้น
                                                                  ้่
                                 - มีหน่วยงานปกครอง คือรองผูวาราชการจังหวัดมาร่ วมรับฟังการ
                                 นําเสนอ
                                 - เกิดทีมควบคุมโรคไข้เลือดออกของภาคชาวบ้านที่มีการดําเนินงานใน
                                 ลักษณะของเครื อข่ายการเชื่อมโยง
                                 - เกิดการอนุรักษ์ปลูกพืชสมุนไพรของชมรมผูปลูกพืชสมุนไพรที่เขา
                                                                                    ้
                                 แดงบ้านไร่ พฒนาโดยใครมีสมุนไพรอะไรก็นามาจากบ้านแล้วพากัน
                                                ั                                 ํ
                                 ขึ้นไปปลูกบนเขา
                                 - การนําเสนอผลงานครบ 15 หมู่บานทั้งตําบล
                                                                      ้
ปี ที่ 4 วันที่ 8 มกราคม 2544
จัดที่หมู่ที่ 6 บ้านนํ้าทวน วาระชุมชน”การสร้างเยาวชนเป็ นแกนนํารุ่ นใหม่
                               ผลลัพธ์
                                    -การเรี ยนรู ้เรื่ องเกษตรปลอดสารร่ วมกับ
                                    สํานักวิจยพันธ์พืช ที่ 2 พิษณุโลกโดยเรี ยนรู ้
                                              ั
                                    เรื่ องนาปลอดสาร ผักปลอดสาร
                                    -ค่ายเยาวชนคนรักษ์ป่า โดยคนในชุมชนเป็ น
                                    วิทยากรเพื่อให้เด็กเรี ยนรู ้เรื่ องของบ้านตนเอง
                                    และปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ์
                                    -เครื อข่ายอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่ าต้นนํ้า อนุรักษ์วง
                                                                                     ั
                                    ปลาเครื อข่ายเยาวชน
ปี่ ที่ 5 วันที่ 8 มกราคม 2545
จัดที่ หมู่ที่ 9 บ้านนํ้าลอม วาระชุมชน”การพัฒนาตําบลด้วยแผนชุมชน”
                      ผลลัพธ์
                                - ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนหมู่บาน หนึ่งหมู่บานหนึ่งศูนย์เรี ยนรู ้
                                                           ้            ้
                                ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสังคม โดยให้แต่ละ
                                หมู่บานคัดเลือกสิ่ งดีๆที่เป็ นองค์ความรู ้หรื อผลิตภัณฑ์ชุมชน
                                      ้
                                มาจัดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้
                                - ทุกหมู่บานมีผลิตภัณฑ์ชุมชนนํามาจัดแสดงในเวทีวชาการ
                                            ้                                            ิ
                                ชาวบ้านเป็ นจุดเกิดของการจัดนิทรรศการผลงานหมู่บานใน        ้
                                ปี ต่อไป
                                -ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนตําบลที่ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนเพื่อ
                                สังคม
                                - การจัดทําแผนแม่บทชุมชนตําบลนาบัวโดยให้เยาวชนทํา
                                การสํารวจข้อมูล ตรวจทานข้อมูล
ปี ที่ 6 หมู่ที่ วันที่ 8 มกราคม 2546
จัดที่ หมู่ที่ 7 บ้านนาไก่เขี่ย วาระชุมชน”รวมพลคนสร้างสุ ข”

                  -การทํากิจกรรมตามแผนแม่บทชุมชนเพื่อการ
                  พึ่งตนเอง
                  - การระดมทุนในชุมชนมาเป็ นทุนในการดําเนินงาน
                  ทุกรู ปแบบ
                  -การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ การประกวดบ้าน การ
                  ประกวดการออกกําลังกาย
                  -การพัฒนาคุณภาพการแปรรู ปให้ได้มาตรฐานคือ นํ้า
                  ดื่มสมุนไพรได้รับ อย
                  -เปลี่ยนพื้นที่จดงานใช้โรงเรี ยน คนเข้าร่ วมงานมาจาก
                                  ั
                  ทุกกลุ่มในตําบล
ปี ที่ 7 วันที่ 8 มกราคม 2547
จัดที่ หมู่ที่ 5 บ้านนาจานวาระชุมชน”ชุมชนเป็ นสุ ข”
       - ทุนจากภายนอกเข้ามาสนับสนุนกระบวนการทํางาน
       การแบ่งการพัฒนาเป็ น 9 ยุทธศาสตร์เพื่อนําไปสู่ ภาวะชุมชนเป็ นสุ ข
       สู่สุขภาวะ ดังนี้
        1) ยุทธศาสตร์ สุขภาพ 2) ยุทธศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 3)
       ยุทธศาสตร์การเกษตรปลอดสาร4)ยุทธศาสตร์สงคม 5)ั
       ยุทธศาสตร์การศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี 6) ยุทธศาสตร์การเมือง
       การปกครอง 7) ยุทธศาสตร์การเงินชุมชน 8) ยุทธศาสตร์การ
       ท่องเที่ยว และ 9)ยุทธศาสตร์ธุรกิจชุมชน
        โดยได้รับงบสนับสนุนจาก
        -สสส โครงการภาวะชุมชนเป็ นสุ ข
       -ปปส.โครงการแก้ไขปั ญหายาเสพติด
       - พอช แผนแม่บทชุมชน
ปี ที่ 8 วันที่ 8 มกราคม 2548
          จัดที่หมู่ที่ 8 บ้านโนนบึงวาระชุมชน”เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง”

                ผลลัพธ์
               -ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เรื่ องการใช้ชีวตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
                                                       ิ
               เกิดกติกา แต่ละครัวเรื อนต้องปลูกผักอย่างน้อย 5 ชนิด
               - สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ให้ครบทุกหมู่บาน    ้
               - ลานวัฒนธรรมคู่กบเวทีวชาการ
                                        ั       ิ
ปี ที่ 9 วันที่ 8 มกราคม 2549
  จัดที่หมู่ที่ 14 บ้านนํ้าตอนวาระชุมชน” ชุมชนปลอดภัย หน่วยกูชีพ กูภย”
                                                             ้ ้ ั
               ผลลัพธ์
                - เครื อข่ายลดเหล้าวันพระ
                - ชุมชนปลอดบุหรี่ ได้รับรางวัลจากกระทรวง
                สาธารณสุ ข
                           ้ ้ ั
                -หน่วยกูชีพ-กูภยในตําบลนาบัวที่มีชาวบ้านเป็ น
                เจ้าของ
เวทีปี่ที่ 10 วันที่ 8 มกราคม 2550
       จัดที่หมู่ 11 บ้านร้องกอก“วาระสร้างสุ ขภาพบนวิถีความพอเพียง”
            ผลลัพธ์
            - การร่ วมกันปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระร่ วมกันทั้งตําบล
            ทุกเครื อข่าย
            - กองทุนสวัสดิการออมวันละบาท
เวทีปี่ที่ 11 วันที่ 8 มกราคม 2551
“วาระสร้างชุมชนตามแนวปรัชญาชีวตเศรษฐกิจพอเพียง”
                              ิ
    ผลลัพธ์


 - เครื อข่ายพระสงฆ์เข้าร่ วมเวทีให้ขอเสนอแนะ
                                     ้
 นายอําเภอมาร่ วมรับฟังการประกาศนโยบายสาธารณะ
 -กลุ่มปุ๋ ยอินทรี ยอดเม็ด
                    ์ั
 -กลุ่มทํานาโยน
 -หมู่บานต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
         ้
 -ธนาคารต้นไม้
ปี ที่ 12 จัดทีหมู่ที่ 12 บ้ านบุ่งหอย วันที่ 8 มกราคม 2552
               ่
“วาระการสร้ างสุ ขและการสานสั มพันธ์ ของคนในชุมชน”

                         ผลลัพธ์
                         - การยกระดับความสําคัญของเวทีเรื่ องการ
                         ยอมรับฟังความคิดเห็นการให้ขอเสนอแนะต่อ
                                                         ้
                         หน่วยงาน เมื่อผูบริ หารท้องถิ่นไม่รับฟังความ
                                         ้
                         คิดเห็นของชาวบ้านโต้ตอบชี้แจงในเวที จึงเกิด
                         กระแสการไม่ยอมรับส่ งผลต่อการเลือกตั้ง
                         -กิจกรรมสร้างสุ ขสามัคคี “ผูกเสี่ ยว”
                         -กลุ่มจักรยานเพื่อสุ ขภาพ
                                                 ู้ ื
                         - มีกองทุนจักรยานให้กยมซื้อจักรยานแบบไม่มี
                         ดอกเบี้ย
ปี ที่ 13 จัดที่โรงเรียนบ้ านนาคล้ าย วันที่ 8 มกราคม 2553
หมู่ท่ ี 1 บ้ านนาคล้ ายวาระการลดโลกร้ อนและอนุรักษ์ ทรัพยากรดิน นํา ป่ า
                                                                   ้
                             ผลลัพธ์
                             - กลุ่มผูสูงอายุร่วมกันทําอุปกรณ์ฟ้ื นฟูสภาพ
                                      ้
                             ให้คนพิการ
                             -กิจกรรมประหยัดพลังงาน เช่น การรณรงค์ใช้
                             จักรยาน
                             -ลดการใช้พลังงาน เช่น การทําเตาเศรษฐกิจ
                             เตาถังเผาถ่านจากเศษไม้
เวทีปีที่ 14 จัดทีพระธาตุนาบัว(วัดเขาแดง)
                            ่
                   วันที่ 8 มกราคม 2554
หมู่ที่ 13 บ้ านไร่ พฒนา เป็ นเจ้ าภาพประเด็นรวมพลังสร้ างตําบลน่ าอยู่
                     ั
   ผลลัพธ์
                   -การเปิ ดลานวัฒนธรรมเพื่อฟื้ นฟูเพลงพื้นบ้าน การละเล่น
                   พื้นบ้าน
                   - การเข้าร่ วมแสดงผลงานและองค์ความรู ้ท้ งในชุมชน โรงเรี ยน
                                                            ั
                   การแสดงจากกลุ่มแม่บานและอสม.สลับการแสดงของเด็ก
                                          ้
                   - เจ้าภาพปี ที่ 15 กําหนดการเปลี่ยนแปลงวันจัดงานปี ต่อไป
                   เป็ นช่วงเทศกาลปี ใหม่มง ้
ตัวอย่าง
ดอกผลการดําเนินงานร่ วมกัน
ศูนย์ฟ้ื นฟูสุขภาพผูสูงอายุผพิการที่ร่วมกันสร้างใน
                    ้       ู้
                   หมู่บานต่างๆ
                        ้
ทีมสร้างสุขภาพกาย ที่ร่วมกันออกกําลังกาย
ตามวิถีชมชนตําบลนาบัวของกลุ่มออกกําลังกายในแต่ละหมู่บาน
        ุ                                            ้
ลานวัฒนธรรม ตําบลนาบัว
ผูสงอายุร่วมกันออกกําลังกาย
 ้ ู
   โดยการใช้ดนตรีพืนบ้าน
                   ้
สร้างความสุข สานสายใยความสัมพันธ์ของผูใหญ่กบเด็ก
                                                ้     ั
                โดยกิจกรรมบายศรีส่ขวัญและกระบวนการกลุ่ม
                                  ู
บายศรี สู่ขวัญ ให้เด็กที่อายุน้อยที่สดผูกข้อมือให้ประธานเพื่อลดช่องว่างระหว่างวัยและผูใหญ่
                                     ุ                                               ้
จะผูกให้กบเด็กโดยทุกคนจะเวียนผูกให้กนจนครบทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
          ั                               ั
กระบวนการสร้างสุ ขและปั ญญา
  โดยการใช้ทุนเดิมทางสังคม
วงดนตรีของปู่ ตา           วงดนตรีของหลาน

การถ่ายทอดคุณค่าทางวัฒนธรรมสู่คนรุ่นใหม่ผานทางดนตรี
                                                ่
       เพื่อปลูกจิตสํานึ กการรักษ์ท้องถิ่นให้กบเด็ก
                                              ั
กระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างปัญญา จินตนาการณ์ และสมาธิให้กบเด็ก
                                                         ั
     โดย การใช้ภมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องเครื่องปันดินเผา ต่อยอดเรื่องการเพนส์สี
                ู                             ้
ปรับเปลี่ยนแนวคิดชาวบ้านในเรื่องสุขภาพ
     “เป็ นเรื่องที่ทกคนในชุมชนต้องมีส่วนร่วม
                     ุ
มีทีมสุขภาพระดับหมู่บาน ทีมตําบล”
                        ้
กระบวนการสร้างความภาคภูมิใจและรักษ์ทองถิ่น   ้
โดยการเปิ ดรับนักท่ องเที่ยวเข้ าเรียนรู้วถีชุมชน(Home Stray)
                                          ิ
เพือนํามาเป็ นพลังการจัดการอนามัยสิ่ งแวดล้ อมของคนในชุ มชน
   ่
กระบวนการค่ายกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
      ทําพัง (หัวโจก) เป็ นพลัง
                    1 ค่ายอนุรกษ์ป่าชุมชนเขาแก้วมณี ม.11
                              ั
                    2 ค่ายอนุรกษ์ป่าต้นนํ้าและพันธุปลาบ้าน
                              ั                    ์
                    นํ้าตอน ม.14
                    3 ค่ายเยาวชนคนรักษ์ป่าห้วยกบหอน ม.2
                    4 ค่ายอนุรกษ์ป่าต้นนํ้าบ้านนํ้าลอม
                              ั
                    5 ค่ายผูนําธรรมชาติต้านยาเสพติด
                           ้
                    6 ค่ายธรรมชาติชนะยาเสพติด
กระบวนการกลุ่มจะเป็ นเวทีเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผูใหญ่กบเด็ก
                                                ้     ั
- เพือสร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจ ความเชือมันระหว่างกัน
    ่                                    ่ ่
การสร้างจิตสํานึกกตัญญู
โดยเด็กเรี ยนรู ้การนวดเท้าเพือดูแลสุ ขภาพ
                              ่
             ั
       ให้กบปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่
กิจกรรมเพื่อสุ ขภาพ ที่ร่วมกลุ่ม
สร้ างกระแสร่ วม ของคนทั้งตําบลปี ละ 1-2 ครั้ง




 รวมพลังทีมสร้ างสุ ขภาวะส่ งเสริมการออกกําลังกาย
ทําเกษตร แต่ไม่เคยเรี ยนรู ้เรื่ องดิน
ต้ องเรี ยนรู้เรื่ องชุดดิน   โดยร่ วมเรียนรู้ การขุดดินและเทียบชันดิน
                                                                  ้
การเรียนรู้ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ทําจากสิ่ งทีตนเองมี
                                            ่
  ทําแล้ วใช้ เอง เหลือขายในชุมชนมีมากส่ งขายทีอน
                                               ่ ื่
การเรี ยนรู ้ลดต้นทุนการผลิต
        การทํานาโยน
เรี ยนรู ้การทําปุ๋ ยหมักอัดเม็ด
อาหารปลอดภัยที่ทามากินรวมกันจากทุกหมู่บาน
                ํ                      ้
ร่ วมกับครู ฝึ กทักษะการตรวจหา สารปนเปื้ อน
            ในอาหารทีมาจากนอกชุมชน
                        ่




ให้เยาวชนเรียนรู้เรื่องของอาหารปลอดภัยและการตรวจสอบ
วันกล่าวปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระของตําบลนาบัว




   ปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระ จากปี 2550-ปี 2554
้       ้ ั
หน่วยกูชีพ – กูภย คนตําบลนาบัวร่ วมใจ




      รู ปธรรมของการมีจิตสาธารณะของคนนาบัว
ทุกวันพุธ
          ้ ้ ั
    รถกูชีพ-กูภยพาเจ้าหน้าที่และแกนนําเรี ยนรู ้
การฟื้ นฟูสภาพผูป่วย ผูพิการ ผูสูงอายุผยากไร้ถึงบ้าน
                ้      ้       ้       ู้
นักกายภาพบําบัด จาก รพร.นครไทยออกทํางานที่ รพสต.นาบัวในวันพุธ
ตรวจคัดกรองสุ ขภาพทุกกลุ่มแม้อยูวดหรื อบ้าน
                                ่ั
เริ่ มต้นของทางเลือกการดูแลผูป่วยเรื้ อรังที่บาน
                             ้                ้
ทดลองออกพูดคุยรู ปแบบการทํางาน (หากทําจริงจะร่ วมด้ วยหรื อเปล่ า)
เมือทําแล้ วเห็นผล
            ่
จึงมีคนมาเติมเต็มและสร้ างการเรียนรู้
“ศูนย์กลางการบริการด้านอาชีพ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว มุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ
                              เพื่อให้เปนตําบลมีบริการที่หลากหลาย”
                                               “สังคม อยู่เย็น เปนสุข” คนกินดี อยู่ดี มีสุขไม่มหนี้”
                                                                                               ี




            เน้นการออม ระดมเงิน ช่วยเหลือเกื้อกูล
                                                                                                เรียนรู้เต็มศักยภาพ ใช้ทุนทาง
                                                                                                    สังคม ถ่ายทอดรุ่นสู่รุ่น
ทําอาชีพเสริม ลดหนีสิน รวมกลุ่มเพื่อใช้ทรัพยากรในตําบล
                   ้

                                                                                                       พึ่งตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่ม
      คนอยู่กับปา ร่วมกันอย่างพึ่งพา                                                                   รายได้ ลดต้นทุนการผลิต
      จิตสาธารณะ หวงแหน อนุรักษ์
                                                            สร้าง                          สร้างทีม
                                         ปลูกฝง                           ผู้นําต้องทํา
                                                          กระบวน                            สร้าง
                                       วัฒนธรรม                                เปน
                                                         การร่วมคิด                       เครือข่าย
                                       การลงแรง                           แบบอย่าง
                                                           ร่วมทํา                        การทํางาน
การขยายเครื อข่ายจากตําบลสู่อาเภอ
                                       ํ
                จากอําเภอสู่จงหวัด
                              ั

• เครื อข่ ายลดอุบตเหตุอาเภอนครไทย
                    ั ิ      ํ
• แกนนําเยาวชน ของแต่ ละโรงเรี ยนร่ วมเป็ นเครื อข่ าย
  รณรงค์ ลดเหล้ าบุหรี่ และอุบตเหตุ ั ิ
• เครื อข่ ายผู้ป่วยโรคเรื อรั งตําบลเนินเพิ่ม ยางโกลน
                           ้
• เครื อข่ ายครู ในการปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมและปลูก
  จิตสํานึกเรื่ องทักษะการปฏิเสธเหล้ า บุหรี่ การดูแลให้
  เด็กมีสุขนิสัย
การประเมินผลโดยชุมชน
พบว่า
• ชุมชนสามารถสร้ างตัวชี ้วัดความสุขของตนเองได้ และร่วมกันกําหนด
  ทิศทางไปให้ ถงเปาหมาย
               ึ ้
• 70 % ของคนในทุกหมูบ้าน ของตําบลนาบัวเป็ นเครื อข่ายการทํางานสร้ าง
                          ่
  สุขภาพและรู้จก สสส.
                ั
• ตําบลนาบัวได้ รับการประกาศให้ เป็ นตําบลที่มีผลการดําเนินงานเรื่ องของ
  การดําเนินกิจกรรมเรื่ องของการควบคุมปองกันเหล้ า บุหรี่ ดีเด่นจาก
                                               ้
  กระทรวงสาธารณสุข
• มีกิจกรรมรณรงค์เรื่ องงดเหล้ าวันพระและงดเหล้ าเข้ าพรรษา และมีจํานวนผ้
  ที่ลดละเลิกเหล้ าและบุหรี่ เพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 15
ปัจจุบนคนตําบลนาบัว
                                ั
• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการที่มีพฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพมาเป็ นพฤติกรรมที่เอื ้อต่อ
                                                          ่
    การมีสขภาพดี เช่น
             ุ
  - การสร้ างเครื อข่ายลดอุบติเหตุ รณรงค์ดื่มไม่ขบ ขับขี่ปลอดภัย ตําบลต้ นแบบลดอุบติเหตุ
                             ั                   ั                                ั
  - เครื อข่ายลดละเลิกเหล้ าวันพระและเข้ าพรรษา
  - การลดละเลิกบุหรี่
  - การออกกําลังกาย ร้ อยละ 90 ของประชาชน
+ การปรับเปลี่ยนแนวคิดของคนในชุมชนให้ มีจิตสาธารณะและรักษ์ สขภาพของตนเองและชุมชน
                                                                  ุ
    เกิดเป็ นวิถีการดูแลสุขภาพแบบพอเพียงและช่วยเหลือกัน
การประเมินผลโดยชุมชน
พบว่า
• ชุมชนสามารถสร้ างตัวชี ้วัดความสุขของตนเองได้
• 80 % ของคนในทุกหมูบ้าน ของตําบลนาบัวเป็ นเครื อข่ายการทํางาน
                         ่
  สร้ างสุขภาพ
• ตําบลนาบัวได้ รับการประกาศให้ เป็ นตําบลที่มีผลการดําเนินงานเรื่ อง
  ของการดําเนินกิจกรรมเรื่ องของการควบคุมปองกันเหล้ า บุหรี่ ดีเด่นจาก
                                             ้
  กระทรวงสาธารณสุข
• มีกิจกรรมรณรงค์เรื่ องงดเหล้ าวันพระและงดเหล้ าเข้ าพรรษา

More Related Content

What's hot

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
gel2onimal
 
Community organization as mechanism
Community organization as mechanismCommunity organization as mechanism
Community organization as mechanism
Sarit Tiyawongsuwan
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
gel2onimal
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นSupakij Paentong
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

What's hot (9)

โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.docโครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
 
Community organization as mechanism
Community organization as mechanismCommunity organization as mechanism
Community organization as mechanism
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 

Similar to ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว

Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
tongkesmanee
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2Ultraman Taro
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
Auamporn Junthong
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
นู๋หนึ่ง nooneung
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
Justarn Pd
 

Similar to ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว (20)

Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
Data2
Data2Data2
Data2
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
 

ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว

  • 1. “ ท้ องถินกับหน่ วยบริการสุขภาพ ่ ทํางานร่ วมกัน ที่ตาบลนาบัว ” ํ เพือร่วมกัน…สร้างความมั่นคงทางสุขภาพ ่ นํามาสู่... ความมันคงของท้องถิ่น... ่ โดย..สุวรรณา เมืองพระฝาง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ
  • 2. บทบาท ท้ องถิน บทบาทหน่ วยบริการสุ ขภาพ ่ ทํางานร่ วมกันภายใต้ วฒนธรรมและวิถชุมชน ั ี สร้ างระบบสุขภาพชุมชน ของคนตําบลนาบัว อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
  • 3. แนวคิดคนทํางานต้องเปลี่ยน สุขภาพ เป็ นเรื่ องที่ครอบคลุมต่อเนื่องทุกช่วงชีวิต ตังแต่ เกิด ้ จนตาย และหลังตาย ครอบคลุมวิถีการดําเนินชีวิต เพื่อสร้ างเสริ ม สุขภาพ ปองกันการเจ็บป่ วย การรักษาโรค และการฟื นฟูสภาพ ้ ้ ดังนัน สุขภาพจึงมิได้ มีความหมายจํากัดอยูเ่ พียงการไม่เจ็บป่ วย ้ หรื อพิการเท่านัน หากยังครอบคลุมถึงการดําเนินชีวิตที่ยืนยาว ้ ของทุกคน ซึงมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปั จจัยต่างๆ มากมาย ่ โดยกระบวนการพัฒนาทักษะเพื่อส่งเสริ ม ให้ คนมีสขภาพดีุ
  • 4. เหตุทมาของการพัฒนา ี่ เมือ 16 ปี ทีผ่านมา ตําบลนาบัวถูกมองจากภาครัฐ เป็ นชุ มชนล้ าหลัง ไม่ ่ ่ พัฒนา ซึ่งคนนาบัวมองการพัฒนาของภาครัฐ ว่ า • การพัฒนาทีไม่ ตรงกับความต้ องการของคนในชุ มชน ่ • ชาวบ้ านเป็ นเพียงตัวประกอบการพัฒนา • การพัฒนาทีไม่ สร้ างความยังยืนให้ กบคนในชุ มชนขาดความรู้สึกเป็ น ่ ่ ั เจ้ าของ
  • 5. ฐานคิดของการพัฒนาระบบสุ ขภาพชุ มชน ตําบลนาบัว - การปลูกฝังวัฒนธรรมลงแรง - สร้ างการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วน - ผู้นําต้ องทําเป็ นแบบอย่ าง - การสร้ างทีม สร้ างเครือข่ ายในการพัฒนาตําบล
  • 6. จากปัญหาของสั งคมคนนาบัว • พืนที่สาธารณะหรือพืนที่กลาง ชาวบ้านไม่เคยมีพ้ืนที่กลาง ในการแสดงความ ้ ้ คิดเห็นหรื อสะท้อนการทํางานของหน่วยงานรัฐและท้องถิ่น เป็ นแค่ตวประกอบใน ั การพัฒนา ไม่ใช่เจ้าของ พื้นที่ที่ทุกคนเป็ นเจ้าของและสามารถพบปะแลกเปลี่ยน พูดคุยหรื อทํากิจกรรมต่างๆ โดยการสร้าง สนับสนุนหรื อกระตุนให้เกิดในระดับ ้ หมู่บานและตําบล ้ • การมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการท้ องถิ่น การมีส่วนร่ วม มักเป็ นแค่ผเู ้ ข้าร่ วม ไม่ใช้เจ้าของร่ วม • ขาดความเป็ นเจ้ าของกระบวนการพัฒนา คนในชุมชนไม่มีเวทีที่จะสะท้อนหรื อ บอกเล่าการทําดีแก่ผอื่นให้ได้รับรู ้ จึงไม่รู้สึกเป็ นเจ้าของกระบวนการพัฒนาของ ู้ หมู่บานและตําบล ้
  • 7. กระบวนการทํางานใช้ วฒนธรรมและวิถชุมชน ั ี เป็ นเครื่องมือในการทํางาน • ทํางานแบบเอาแรงกันโดยเปลี่ยนกันเป็ นเจ้ าภาพ • โดยให้ มการช่ วยเหลือกันในการทํากิจกรรมหมุนเวียนเปลียนกันเป็ น ี ่ เจ้ าภาพในแต่ ละปี หรือการทํากิจกรรมในแต่ ละเรื่อง
  • 8. การรวมคน ใช้ รูปแบบพิธีกรรม แทนพิธีการ • โดยใช้พิธีกรรม(การทําบุญ การเลี้ยง ผี)ใครทราบก็มา ปากต่อปาก แทน พิธีการ คือการจัดกิจกรรมมีหนังสื อ เชิญเป็ นรายบุคคลรายตําแหน่ง •การใช้ วฒนธรรมและสิ่ งแวดล้ อม เป็ น ั เครื่ องมือในการทํากิจกรรมการพัฒนาแทนการ มุ่งใช้เงินหรื องบประมาณจากหน่วยงาน
  • 9. กระบวนการสร้ างคน สร้ างงานแบบมีส่วนร่ วม •การพัฒนาสร้ างผู้นํารุ่นใหม่ ผ่านกติกาที่ผนาที่จะมีโอกาสขึ้นนําเสนอต้องเป็ นคนใหม่ในหมู่บาน ู้ ํ ้ และไม่ซ้ าคนเดิม และคนนั้นต้องเข้าร่ วมกระบวนการพัฒนาตลอดปี ํ •สร้ างการเรียนรู้ และการมีส่วนร่ วม โดยให้เรี ยนรู ้จากการทํางานที่แกนนําและคนในหมู่บานหรื อกลุ่ม ้ ต้องร่ วมกันคิดร่ วมกําหนดทิศทางวางแผน ร่ วมลงมือทํา เมื่อทําในรอบ1 ปี ระหว่างทําร่ วมตรวจสอบ เมื่อทําเสร็ จสิ้ นแล้วประเมินผล แล้วร่ วมกันสรุ ปผลการดําเนินงานแล้วคัดเลือก เรื่ องที่จะต้องนําเสนอ คือ เรื่ องที่ดี และเด่น ของหมู่บาน 1-2 เรื่ อง และเรื่ องที่เป็ นปัญหาที่ตองการให้หน่วยงานหรื อคนอื่น ้ ้ ช่วยเหลือสนับสนุน
  • 10. กระบวนการค้ นหาสร้ างแกนนําและหาเครือข่ ายทํางานร่ วมกัน • การหาคนที่ทางานพัฒนาด้ านต่ างๆในชุมชน ํ • ชักชวนผู้นําทางการและไม่ เป็ นทางการ (เอาใจมารวมกันภายใต้ ความเป็ น) • การสร้ างแกนนํารุ่ นใหม่ (คนนําเสนอไม่ ซาคนเดิม) ํ้ • แกนนําไม่ เลือกเฉพาะคนเก่ ง คนเด่ น แต่ เลือกคนที่สมัครใจเข้ าร่ วม • มีกระบวนการพัฒนาแกนนําโดยค้ นหาความเก่ ง ความถนัด ความชอบของ แกนนําหรื อเครื อข่ ายแล้ วให้ รับผิดชอบงานที่ตนเองถนัด
  • 11. ใช้ “ศักดิ์ศรี ” เป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิดความต่อเนื่อง ด้ วยการแข่ งขันการทําดี เช่ น เจ้ าภาพในแต่ ละปี
  • 12. การเลือกทํากิจกรรมต่ อยอดจากเรื่องดีๆ • ที่เป็ นทุนเดิม สามารถทําแล้ว สําเร็ จด้วยระยะเวลาสั้นๆ (เพื่อตักตวงกําลังใจ ชัยชนะ ให้คนทํางาน) แทนการเลือก ทํากิจกรรมที่เริ่ มต้นจาก ปัญหาที่ทายาก ํ • เห็นผลสําเร็ จช้า (คนทําจะ ท้อถอย)
  • 13. “ กระบวนการมีส่วนร่ วม” ทีทุกภาคีเครือข่ าย “เรียนรู้ ร่วมกัน” ่ ผ่านการทํางานแบบมีส่วนร่ วม ที่ร่วมคิด ร่ วมวางแผน ร่ วมลงมือทํา ร่ วมประเมินผล ร่ วมตรวจสอบ และร่ วมนําเสนอ เพื่อสร้างความเป็ นเจ้าของตําบล
  • 14. เวทีวชาการชาวบ้ าน ิ เป็ นกระบวนการที่ทํามาแล้ ว 14 ปี ให้ คนในชุมชนในหมูบ้านมา ร่ วมกันคิด ร่ วมวางแผน ร่ วม ่ ลงมือทํา ร่ วมรั บผิดชอบ ร่ วมประเมินผล ร่ วมนําเสนอผลงาน จากการพัฒนาหมูบ้านในเรื่ อง ่ ของสุขภาพแบบองค์ รวม ที่ครอบคลุมในเรื่องของสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครอง สิ่งแวดล้ อม วัฒนธรรม หรื อ เรื่ องของปากท้ อง และเรื่ องอื่นๆที่ชมชนเห็นว่า ส่งผล ุ กระทบต่อคนในชุมชนในรอบ 1 ปี จากกิจกรรมต่างๆที่ทําร่วมกัน หรื อจากผลการทําประชาคมใน หมูบ้านและตําบล แล้ วนําผลงานที่คนในชุมชนภาคภูมิใจหรื อปั ญหา มานําเสนอ เพื่อให้ เป็ นเวที ่ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ หาแนวทางการแก้ ปัญหาและพัฒนาสังคม ชุมชน ร่ วมกัน เป็ นเวทีสร้ าง แกนนํารุ่นใหม่ของตําบลเพราะทุกคนที่จะนําเสนอต้ องเป็ นคนใหม่ที่ไม่เคยขึ ้นเวทีนี ้ ทุกคนเป็ น เจ้ าของ เพราะร่ วมกันลงทุนในการจัดงานโดย อบต.ร่วมลงขันเพิมเติมในการจัดงานปี ละ 20,000 ่ บาทตังแต่ปี2547 สถานที่และเจ้ าภาพจะหมุนเวียนไปในแต่ละหมูบ้าน การเป็ น ้ ่ เจ้ าภาพชาวบ้ านทังหมูบ้านต้ องทํางานอย่างมีสวนร่วมเพราะเป็ นงานใหญ่ที่ทกคน ้ ่ ่ ุ ต้ องเป็ นเจ้ าภาพ ในปี 2554 จัดที่บ้านไร่ พฒนา หมู่ท่ ี 13 วันที่ 8 มกราคม 2554 ั
  • 15. เวทีวชาการชาวบ้ านปี ที1 วันที่ 5 มกราคม 2541 ิ ่ จัดที่หมู่ที่ 2 บ้านบุ่งสี เสี ยด วาระชุมชน”ค้นหาตนเอง” ผลลัพธ์ ท่ ได้ ี 1) การเรียนรูความเป็ นมาของชุมชน รูจักตนเอง ้ ้ 2) มีทมทํางานดานสุขภาพในระดับหมูบาน/ตําบล ี ้ ่ ้ 3) มีกระบวนการเรียนรูเรืองของหมูบานเกณท ์ ้ ่ ่ ้ หมูบานสุขภาพดีถวนหน้า ่ ้ ้ 4)เกิดพืนทีกลางหรือพืนทีสาธารณะทีทกคนรวมกัน ้ ่ ้ ่ ่ ุ ่ สรางและเป็ นเจ้าของ  ้ คือ ศสมช.ทีเป็ นอาคารหลังเล็กๆในหมูบาน ่ ่ ้  5) เกิดกติกาและกฎของชุมชนทีทกคนตกลงรวมกัน ่ ุ ่ เรืองการจัดงานเวที เช่น การลงขันช่วยงาน  ่ การหมุนเวียนเปลี่ยนกันเป็ นเจ้าภาพ 6) การกําหนดวาระร่ วมในการพัฒนาของตําบล 7)กติกาในเรื่ องของการชื่นชมเจ้าภาพ ทุกคนที่ไปร่ วมงานต้องช่วยเพิมกําลังใจ ่ ให้แก่เจ้าภาพ โดยการชมและยกย่องมากกว่าจับผิดในสิ่ งบกพร่ องเล็กน้อย
  • 16. ปี ที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 2542 จัดที่หมู่ที่ 3 บ้านโนนวาระชุมชน“การพัฒนาจากสิ่ งดี ดีที่คนพบ ” ้ ผลลัพธ์ เกิดกลุ่มแปรรู ปสมุนไพรเป็ นยา เช่น ยาหม่อง สมุนไพร ทิงเจอร์เสลดพังพอน ยาสมุนไพร ที่มาจากพืชที่มีในตําบล เช่นฟ้ าทะลายโจร ขมิ้นชัน เพชรสังฆาต เป็ นต้น
  • 17. ปี ที่ 3 วันที่ 8 มกราคม 2543 จัดที่หมู่ที่ 4 บ้านนาบัว วาระชุมชน“การแสวงหาเครื อข่าย หาเพื่อนทํางาน” ผลลัพธ์ - เปลี่ยนชื่องานจากงานสัมมนาชาวบ้าน เป็ นเวทีวชาการชาวบ้าน ิ - มีเครื อข่ายภาควิชาการมาเข้าร่ วมเวทีเป็ นครั้งแรก คือ ศูนย์สสม. ภาคเหนือนครสวรรค์ในขณะนั้น ้่ - มีหน่วยงานปกครอง คือรองผูวาราชการจังหวัดมาร่ วมรับฟังการ นําเสนอ - เกิดทีมควบคุมโรคไข้เลือดออกของภาคชาวบ้านที่มีการดําเนินงานใน ลักษณะของเครื อข่ายการเชื่อมโยง - เกิดการอนุรักษ์ปลูกพืชสมุนไพรของชมรมผูปลูกพืชสมุนไพรที่เขา ้ แดงบ้านไร่ พฒนาโดยใครมีสมุนไพรอะไรก็นามาจากบ้านแล้วพากัน ั ํ ขึ้นไปปลูกบนเขา - การนําเสนอผลงานครบ 15 หมู่บานทั้งตําบล ้
  • 18. ปี ที่ 4 วันที่ 8 มกราคม 2544 จัดที่หมู่ที่ 6 บ้านนํ้าทวน วาระชุมชน”การสร้างเยาวชนเป็ นแกนนํารุ่ นใหม่ ผลลัพธ์ -การเรี ยนรู ้เรื่ องเกษตรปลอดสารร่ วมกับ สํานักวิจยพันธ์พืช ที่ 2 พิษณุโลกโดยเรี ยนรู ้ ั เรื่ องนาปลอดสาร ผักปลอดสาร -ค่ายเยาวชนคนรักษ์ป่า โดยคนในชุมชนเป็ น วิทยากรเพื่อให้เด็กเรี ยนรู ้เรื่ องของบ้านตนเอง และปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ์ -เครื อข่ายอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่ าต้นนํ้า อนุรักษ์วง ั ปลาเครื อข่ายเยาวชน
  • 19. ปี่ ที่ 5 วันที่ 8 มกราคม 2545 จัดที่ หมู่ที่ 9 บ้านนํ้าลอม วาระชุมชน”การพัฒนาตําบลด้วยแผนชุมชน” ผลลัพธ์ - ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนหมู่บาน หนึ่งหมู่บานหนึ่งศูนย์เรี ยนรู ้ ้ ้ ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสังคม โดยให้แต่ละ หมู่บานคัดเลือกสิ่ งดีๆที่เป็ นองค์ความรู ้หรื อผลิตภัณฑ์ชุมชน ้ มาจัดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ - ทุกหมู่บานมีผลิตภัณฑ์ชุมชนนํามาจัดแสดงในเวทีวชาการ ้ ิ ชาวบ้านเป็ นจุดเกิดของการจัดนิทรรศการผลงานหมู่บานใน ้ ปี ต่อไป -ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนตําบลที่ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนเพื่อ สังคม - การจัดทําแผนแม่บทชุมชนตําบลนาบัวโดยให้เยาวชนทํา การสํารวจข้อมูล ตรวจทานข้อมูล
  • 20. ปี ที่ 6 หมู่ที่ วันที่ 8 มกราคม 2546 จัดที่ หมู่ที่ 7 บ้านนาไก่เขี่ย วาระชุมชน”รวมพลคนสร้างสุ ข” -การทํากิจกรรมตามแผนแม่บทชุมชนเพื่อการ พึ่งตนเอง - การระดมทุนในชุมชนมาเป็ นทุนในการดําเนินงาน ทุกรู ปแบบ -การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ การประกวดบ้าน การ ประกวดการออกกําลังกาย -การพัฒนาคุณภาพการแปรรู ปให้ได้มาตรฐานคือ นํ้า ดื่มสมุนไพรได้รับ อย -เปลี่ยนพื้นที่จดงานใช้โรงเรี ยน คนเข้าร่ วมงานมาจาก ั ทุกกลุ่มในตําบล
  • 21. ปี ที่ 7 วันที่ 8 มกราคม 2547 จัดที่ หมู่ที่ 5 บ้านนาจานวาระชุมชน”ชุมชนเป็ นสุ ข” - ทุนจากภายนอกเข้ามาสนับสนุนกระบวนการทํางาน การแบ่งการพัฒนาเป็ น 9 ยุทธศาสตร์เพื่อนําไปสู่ ภาวะชุมชนเป็ นสุ ข สู่สุขภาวะ ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์ สุขภาพ 2) ยุทธศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 3) ยุทธศาสตร์การเกษตรปลอดสาร4)ยุทธศาสตร์สงคม 5)ั ยุทธศาสตร์การศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี 6) ยุทธศาสตร์การเมือง การปกครอง 7) ยุทธศาสตร์การเงินชุมชน 8) ยุทธศาสตร์การ ท่องเที่ยว และ 9)ยุทธศาสตร์ธุรกิจชุมชน โดยได้รับงบสนับสนุนจาก -สสส โครงการภาวะชุมชนเป็ นสุ ข -ปปส.โครงการแก้ไขปั ญหายาเสพติด - พอช แผนแม่บทชุมชน
  • 22. ปี ที่ 8 วันที่ 8 มกราคม 2548 จัดที่หมู่ที่ 8 บ้านโนนบึงวาระชุมชน”เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง” ผลลัพธ์ -ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เรื่ องการใช้ชีวตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ิ เกิดกติกา แต่ละครัวเรื อนต้องปลูกผักอย่างน้อย 5 ชนิด - สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ให้ครบทุกหมู่บาน ้ - ลานวัฒนธรรมคู่กบเวทีวชาการ ั ิ
  • 23. ปี ที่ 9 วันที่ 8 มกราคม 2549 จัดที่หมู่ที่ 14 บ้านนํ้าตอนวาระชุมชน” ชุมชนปลอดภัย หน่วยกูชีพ กูภย” ้ ้ ั ผลลัพธ์ - เครื อข่ายลดเหล้าวันพระ - ชุมชนปลอดบุหรี่ ได้รับรางวัลจากกระทรวง สาธารณสุ ข ้ ้ ั -หน่วยกูชีพ-กูภยในตําบลนาบัวที่มีชาวบ้านเป็ น เจ้าของ
  • 24. เวทีปี่ที่ 10 วันที่ 8 มกราคม 2550 จัดที่หมู่ 11 บ้านร้องกอก“วาระสร้างสุ ขภาพบนวิถีความพอเพียง” ผลลัพธ์ - การร่ วมกันปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระร่ วมกันทั้งตําบล ทุกเครื อข่าย - กองทุนสวัสดิการออมวันละบาท
  • 25. เวทีปี่ที่ 11 วันที่ 8 มกราคม 2551 “วาระสร้างชุมชนตามแนวปรัชญาชีวตเศรษฐกิจพอเพียง” ิ ผลลัพธ์ - เครื อข่ายพระสงฆ์เข้าร่ วมเวทีให้ขอเสนอแนะ ้ นายอําเภอมาร่ วมรับฟังการประกาศนโยบายสาธารณะ -กลุ่มปุ๋ ยอินทรี ยอดเม็ด ์ั -กลุ่มทํานาโยน -หมู่บานต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ้ -ธนาคารต้นไม้
  • 26. ปี ที่ 12 จัดทีหมู่ที่ 12 บ้ านบุ่งหอย วันที่ 8 มกราคม 2552 ่ “วาระการสร้ างสุ ขและการสานสั มพันธ์ ของคนในชุมชน” ผลลัพธ์ - การยกระดับความสําคัญของเวทีเรื่ องการ ยอมรับฟังความคิดเห็นการให้ขอเสนอแนะต่อ ้ หน่วยงาน เมื่อผูบริ หารท้องถิ่นไม่รับฟังความ ้ คิดเห็นของชาวบ้านโต้ตอบชี้แจงในเวที จึงเกิด กระแสการไม่ยอมรับส่ งผลต่อการเลือกตั้ง -กิจกรรมสร้างสุ ขสามัคคี “ผูกเสี่ ยว” -กลุ่มจักรยานเพื่อสุ ขภาพ ู้ ื - มีกองทุนจักรยานให้กยมซื้อจักรยานแบบไม่มี ดอกเบี้ย
  • 27. ปี ที่ 13 จัดที่โรงเรียนบ้ านนาคล้ าย วันที่ 8 มกราคม 2553 หมู่ท่ ี 1 บ้ านนาคล้ ายวาระการลดโลกร้ อนและอนุรักษ์ ทรัพยากรดิน นํา ป่ า ้ ผลลัพธ์ - กลุ่มผูสูงอายุร่วมกันทําอุปกรณ์ฟ้ื นฟูสภาพ ้ ให้คนพิการ -กิจกรรมประหยัดพลังงาน เช่น การรณรงค์ใช้ จักรยาน -ลดการใช้พลังงาน เช่น การทําเตาเศรษฐกิจ เตาถังเผาถ่านจากเศษไม้
  • 28. เวทีปีที่ 14 จัดทีพระธาตุนาบัว(วัดเขาแดง) ่ วันที่ 8 มกราคม 2554 หมู่ที่ 13 บ้ านไร่ พฒนา เป็ นเจ้ าภาพประเด็นรวมพลังสร้ างตําบลน่ าอยู่ ั ผลลัพธ์ -การเปิ ดลานวัฒนธรรมเพื่อฟื้ นฟูเพลงพื้นบ้าน การละเล่น พื้นบ้าน - การเข้าร่ วมแสดงผลงานและองค์ความรู ้ท้ งในชุมชน โรงเรี ยน ั การแสดงจากกลุ่มแม่บานและอสม.สลับการแสดงของเด็ก ้ - เจ้าภาพปี ที่ 15 กําหนดการเปลี่ยนแปลงวันจัดงานปี ต่อไป เป็ นช่วงเทศกาลปี ใหม่มง ้
  • 29.
  • 34. สร้างความสุข สานสายใยความสัมพันธ์ของผูใหญ่กบเด็ก ้ ั โดยกิจกรรมบายศรีส่ขวัญและกระบวนการกลุ่ม ู บายศรี สู่ขวัญ ให้เด็กที่อายุน้อยที่สดผูกข้อมือให้ประธานเพื่อลดช่องว่างระหว่างวัยและผูใหญ่ ุ ้ จะผูกให้กบเด็กโดยทุกคนจะเวียนผูกให้กนจนครบทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม ั ั
  • 35. กระบวนการสร้างสุ ขและปั ญญา โดยการใช้ทุนเดิมทางสังคม
  • 36. วงดนตรีของปู่ ตา วงดนตรีของหลาน การถ่ายทอดคุณค่าทางวัฒนธรรมสู่คนรุ่นใหม่ผานทางดนตรี ่ เพื่อปลูกจิตสํานึ กการรักษ์ท้องถิ่นให้กบเด็ก ั
  • 37. กระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างปัญญา จินตนาการณ์ และสมาธิให้กบเด็ก ั โดย การใช้ภมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องเครื่องปันดินเผา ต่อยอดเรื่องการเพนส์สี ู ้
  • 38. ปรับเปลี่ยนแนวคิดชาวบ้านในเรื่องสุขภาพ “เป็ นเรื่องที่ทกคนในชุมชนต้องมีส่วนร่วม ุ มีทีมสุขภาพระดับหมู่บาน ทีมตําบล” ้
  • 39. กระบวนการสร้างความภาคภูมิใจและรักษ์ทองถิ่น ้ โดยการเปิ ดรับนักท่ องเที่ยวเข้ าเรียนรู้วถีชุมชน(Home Stray) ิ เพือนํามาเป็ นพลังการจัดการอนามัยสิ่ งแวดล้ อมของคนในชุ มชน ่
  • 40. กระบวนการค่ายกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ทําพัง (หัวโจก) เป็ นพลัง 1 ค่ายอนุรกษ์ป่าชุมชนเขาแก้วมณี ม.11 ั 2 ค่ายอนุรกษ์ป่าต้นนํ้าและพันธุปลาบ้าน ั ์ นํ้าตอน ม.14 3 ค่ายเยาวชนคนรักษ์ป่าห้วยกบหอน ม.2 4 ค่ายอนุรกษ์ป่าต้นนํ้าบ้านนํ้าลอม ั 5 ค่ายผูนําธรรมชาติต้านยาเสพติด ้ 6 ค่ายธรรมชาติชนะยาเสพติด
  • 41. กระบวนการกลุ่มจะเป็ นเวทีเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผูใหญ่กบเด็ก ้ ั - เพือสร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจ ความเชือมันระหว่างกัน ่ ่ ่
  • 44. สร้ างกระแสร่ วม ของคนทั้งตําบลปี ละ 1-2 ครั้ง รวมพลังทีมสร้ างสุ ขภาวะส่ งเสริมการออกกําลังกาย
  • 45. ทําเกษตร แต่ไม่เคยเรี ยนรู ้เรื่ องดิน ต้ องเรี ยนรู้เรื่ องชุดดิน โดยร่ วมเรียนรู้ การขุดดินและเทียบชันดิน ้
  • 46. การเรียนรู้ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ทําจากสิ่ งทีตนเองมี ่ ทําแล้ วใช้ เอง เหลือขายในชุมชนมีมากส่ งขายทีอน ่ ื่
  • 48. เรี ยนรู ้การทําปุ๋ ยหมักอัดเม็ด
  • 50. ร่ วมกับครู ฝึ กทักษะการตรวจหา สารปนเปื้ อน ในอาหารทีมาจากนอกชุมชน ่ ให้เยาวชนเรียนรู้เรื่องของอาหารปลอดภัยและการตรวจสอบ
  • 51. วันกล่าวปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระของตําบลนาบัว ปฏิญาณตนงดเหล้าวันพระ จากปี 2550-ปี 2554
  • 52. ้ ั หน่วยกูชีพ – กูภย คนตําบลนาบัวร่ วมใจ รู ปธรรมของการมีจิตสาธารณะของคนนาบัว
  • 53. ทุกวันพุธ ้ ้ ั รถกูชีพ-กูภยพาเจ้าหน้าที่และแกนนําเรี ยนรู ้ การฟื้ นฟูสภาพผูป่วย ผูพิการ ผูสูงอายุผยากไร้ถึงบ้าน ้ ้ ้ ู้ นักกายภาพบําบัด จาก รพร.นครไทยออกทํางานที่ รพสต.นาบัวในวันพุธ
  • 55. เริ่ มต้นของทางเลือกการดูแลผูป่วยเรื้ อรังที่บาน ้ ้ ทดลองออกพูดคุยรู ปแบบการทํางาน (หากทําจริงจะร่ วมด้ วยหรื อเปล่ า)
  • 56. เมือทําแล้ วเห็นผล ่ จึงมีคนมาเติมเต็มและสร้ างการเรียนรู้
  • 57. “ศูนย์กลางการบริการด้านอาชีพ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว มุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ เพื่อให้เปนตําบลมีบริการที่หลากหลาย” “สังคม อยู่เย็น เปนสุข” คนกินดี อยู่ดี มีสุขไม่มหนี้” ี เน้นการออม ระดมเงิน ช่วยเหลือเกื้อกูล เรียนรู้เต็มศักยภาพ ใช้ทุนทาง สังคม ถ่ายทอดรุ่นสู่รุ่น ทําอาชีพเสริม ลดหนีสิน รวมกลุ่มเพื่อใช้ทรัพยากรในตําบล ้ พึ่งตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่ม คนอยู่กับปา ร่วมกันอย่างพึ่งพา รายได้ ลดต้นทุนการผลิต จิตสาธารณะ หวงแหน อนุรักษ์ สร้าง สร้างทีม ปลูกฝง ผู้นําต้องทํา กระบวน สร้าง วัฒนธรรม เปน การร่วมคิด เครือข่าย การลงแรง แบบอย่าง ร่วมทํา การทํางาน
  • 58. การขยายเครื อข่ายจากตําบลสู่อาเภอ ํ จากอําเภอสู่จงหวัด ั • เครื อข่ ายลดอุบตเหตุอาเภอนครไทย ั ิ ํ • แกนนําเยาวชน ของแต่ ละโรงเรี ยนร่ วมเป็ นเครื อข่ าย รณรงค์ ลดเหล้ าบุหรี่ และอุบตเหตุ ั ิ • เครื อข่ ายผู้ป่วยโรคเรื อรั งตําบลเนินเพิ่ม ยางโกลน ้ • เครื อข่ ายครู ในการปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมและปลูก จิตสํานึกเรื่ องทักษะการปฏิเสธเหล้ า บุหรี่ การดูแลให้ เด็กมีสุขนิสัย
  • 59. การประเมินผลโดยชุมชน พบว่า • ชุมชนสามารถสร้ างตัวชี ้วัดความสุขของตนเองได้ และร่วมกันกําหนด ทิศทางไปให้ ถงเปาหมาย ึ ้ • 70 % ของคนในทุกหมูบ้าน ของตําบลนาบัวเป็ นเครื อข่ายการทํางานสร้ าง ่ สุขภาพและรู้จก สสส. ั • ตําบลนาบัวได้ รับการประกาศให้ เป็ นตําบลที่มีผลการดําเนินงานเรื่ องของ การดําเนินกิจกรรมเรื่ องของการควบคุมปองกันเหล้ า บุหรี่ ดีเด่นจาก ้ กระทรวงสาธารณสุข • มีกิจกรรมรณรงค์เรื่ องงดเหล้ าวันพระและงดเหล้ าเข้ าพรรษา และมีจํานวนผ้ ที่ลดละเลิกเหล้ าและบุหรี่ เพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 15
  • 60. ปัจจุบนคนตําบลนาบัว ั • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการที่มีพฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพมาเป็ นพฤติกรรมที่เอื ้อต่อ ่ การมีสขภาพดี เช่น ุ - การสร้ างเครื อข่ายลดอุบติเหตุ รณรงค์ดื่มไม่ขบ ขับขี่ปลอดภัย ตําบลต้ นแบบลดอุบติเหตุ ั ั ั - เครื อข่ายลดละเลิกเหล้ าวันพระและเข้ าพรรษา - การลดละเลิกบุหรี่ - การออกกําลังกาย ร้ อยละ 90 ของประชาชน + การปรับเปลี่ยนแนวคิดของคนในชุมชนให้ มีจิตสาธารณะและรักษ์ สขภาพของตนเองและชุมชน ุ เกิดเป็ นวิถีการดูแลสุขภาพแบบพอเพียงและช่วยเหลือกัน
  • 61. การประเมินผลโดยชุมชน พบว่า • ชุมชนสามารถสร้ างตัวชี ้วัดความสุขของตนเองได้ • 80 % ของคนในทุกหมูบ้าน ของตําบลนาบัวเป็ นเครื อข่ายการทํางาน ่ สร้ างสุขภาพ • ตําบลนาบัวได้ รับการประกาศให้ เป็ นตําบลที่มีผลการดําเนินงานเรื่ อง ของการดําเนินกิจกรรมเรื่ องของการควบคุมปองกันเหล้ า บุหรี่ ดีเด่นจาก ้ กระทรวงสาธารณสุข • มีกิจกรรมรณรงค์เรื่ องงดเหล้ าวันพระและงดเหล้ าเข้ าพรรษา