SlideShare a Scribd company logo
๑
การนําเสนอผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม”ประจําปี ๒๕๕๖
๑. หน้าปก
๑) ชื่อผลงานนวัตกรรม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียน
แกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
๒) การส่งผลงานนวัตกรรม (กรุณาระบุ ลงใน  ที่ตรงกับผลงาน)
 เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา
๓) ประเภทผลงานนวัตกรรม (กรุณาระบุ ลงใน  ที่ตรงกับผลงาน (เลือกได้เพียง ๑ ด้าน
เท่านั้น))
 ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
๔) ผู้เสนอผลงานนวัตกรรม
ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา นายภิญโญ นามสกุล จินตนปัญญา
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๑๖๗๖๗๗๒๑
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๒๒๒๐๔๐๐๐๓๒๒๙๖
๕) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม (ครู/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องจํานวนตามความเป็นจริง)
ƒนายดารงค์ นามสกุล วรรณแรก
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๕๘๘๒๒๖๐๑
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๔๒๒๐๐๔๐๒๕๐๘๕๗๓
นางพรพนา นามสกุล สมัยรัฐ
ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๔๘๙๘๐๑๕๔
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๒๒๐๐๔๐๐๔๐๔๙๒๔
นายสาคร นามสกุล ขันชู
ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๐๐๔๑๒๖๔๙
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๓๒๐๐๔๐๐๕๐๙๔๓๑
นายวรัญญู นามสกุล อติศักดิ์กุล
ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๗๘๙๕๙๖๑๔
เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๕๒๐๒๑๓๐๑๑๘๘๒
๖) ข้อมูลสถานศึกษา
ชื่อสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เลขที่ ๙๒ ถนน ตรัง-สตูล
ตาบล/แขวง ทุ่งยาว อาเภอ/เขต ปะเหลียน จังหวัด ตรัง
รหัสไปรษณีย์ ๙๒๑๘๐ โทรศัพท์ ๐๗๕๒๘๙๔๒๓ โทรสาร ๐๗๕๒๘๘๒๕๗
web site thungyaopadungsit.ac.th
E – mail address thungyaopadungsit@hotmail.com
สังกัด  สพม. เขต ๑๓ จังหวัด ตรัง-กระบี่
แบบ นร.๑
๒
๗) ศึกษานิเทศก์ผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรม -
๘) ข้อมูลคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษา (ที่จัดส่งผลงานเพื่อรับการประเมินระดับเขต)
คุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต ๑ (ระบุจังหวัด) จังหวัดตรัง
๒. บทสรุป
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนา
ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้ผู้เรียน
สร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม จากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน จุดมุ่งหมาย
ของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มีทักษะการทางานกลุ่มในการเรียนรู้
โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน หน่วยบูรณาการโดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการ ปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้น INPUT ขั้น PROCESS ขั้น
OUTPUT ขั้น FEEDBACK กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทาการสุ่มอย่างง่าย ( Simple
Random Sampling) จากประชากรโดยวิธีการจับฉลาก โดยใช้กลุ่มนักเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม คือกลุ่มนักเรียน
แกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มนักเรียน ม.๓/๑ กลุ่มนักเรียน ม.๓/๒ กลุ่มนักเรียน ม.๓/๓ และกลุ่มนักเรียน
ม.๓/๔ สุ่มได้ห้อง ม.๓/๑ จานวน ๓๔ คน
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ ๑.๐๐ ผล
การตรวจสอบความถูกต้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า
ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า
ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์
จานวน ๖๑ ข้อ พบว่าทุกข้อมีค่า ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ ๑.๐๐ ข้อสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต่ ๐.๒๐
ถึง ๐.๘๐ และค่าอานาจจาแนก ( r) ตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึ้นไป ได้ข้อสอบที่ดี จานวน ๔๕ ข้อ ผลการหาค่า
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้วิธีของวิชาร์ดสัน (Richardson) KR-๒๐ (Kuder Richardson-
๒๐) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ .๘๑๖๒ ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จากการประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และคะแนน
หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๐.๙๐ สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดคือร้อยละ ๘๐ ผลการประเมินทักษะ
การทางานกลุ่ม พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ผลการประเมินเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้ หน่วย
บูรณาการ ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับผู้เรียนเห็นด้วยและผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการปฏิบัติกิจกรรม
การเรียนรู้พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าค่าเฉลี่ย
โดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมาก
๓
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนชุมชน
ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นจากกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์
และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ความเป็นมาและความสําคัญ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๔
มาตรา ๒๔ ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์
จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นและทาเป็น รักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียน
การสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ
การเรียนรู้ และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ
แหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาส่งเสริมให้ผู้เรียน
เป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
จากหลักการดังกล่าวผู้สอนจึงได้พัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ ๔
ขั้นตอน (สุคนธ์ ภูริเวทย์, ๒๔๔๒, หน้า ๕๒ ) ได้แก่ ขั้น INPUT ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ผู้เรียนและ
วิเคราะห์หลักสูตร กาหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ กาหนดเนื้อหาวิชา กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ กาหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ กาหนดกระบวนการวัดและประเมินผล
ขั้น PROCESS ประกอบด้วยการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ๖ ขั้นตอน คือ
กาหนดปัญหา ทาความเข้าใจกับปัญหา ดาเนินการศึกษาค้นคว้า สังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของ
คาตอบ นาเสนอและประเมินผลงาน ขั้น OUTPUT ประกอบด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
วิเคราะห์ผลการเรียน โดยการทดสอบก่อนเรียน ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม ประเมินทักษะการทางาน
กลุ่ม ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทาแบบฝึกหัดทบทวน ทาแบบทดสอบหลังเรียน ขั้น FEEDBACK
ประกอบด้วยการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ ๙ ขั้น ของกาเย่ และบริกส์
(Gagne’ and Briggs, ๑๙๗๙ อ้างถึงในไชยยศ เรืองสุวรรณ, ๒๕๓๑, หน้า ๖๖-๖๗) คือ ต้องมีสิ่งเร้าให้ผู้เรียน
เกิดความสนใจ ต้องแจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนทราบ ต้องสร้างสถานการณ์เพื่อเชื่อมโยงเข้าหาความรู้เดิม ทาการ
เสนอบทเรียน แนะนาแนวทางในการเรียน หลังจากผู้เรียนเข้าใจแล้วให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ให้ข้อมูลย้อนกลับ
ประเมินผลการปฏิบัติ ทบทวนเพื่อให้เกิดความแม่นยาและการถ่ายโอนความรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร
มีองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ ผู้ส่งสาร ตัวสารหรือตัวกลาง หรือช่องทางในการสื่อสาร และผู้รับสาร
(สุคนธ์ ภูริเวทย์, ๒๕๕๒, หน้า ๗๐) อีกทั้งรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฝึกให้ผู้เรียนทากิจกรรมสร้างสรรค์ตาม
วงจรคุณภาพ PDCA คือขั้น P(PLAN) หรือวางแผนการทากิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้น D(DO) เป็นการดาเนิน
กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้วางแผนไว้ ขั้น C(CHECK) เป็นขั้นติดตามความก้าวหน้าจากการดาเนินกิจกรรม และขั้น
๔
A(ACTION) เป็นขั้นที่ต้องพัฒนาแก้ไข ตลอดจนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยังบูรณาการให้ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์
บทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล
อดุลยเดชฯ เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้
ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่พัฒนาขึ้น เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียน ให้ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม จากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์และวงจรคุณภาพ PDCA
จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน
๔. วัตถุประสงค์
๔.๑ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย ดังนี้
๑. ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้
๒. ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๓. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
๔. ประเมินทักษะการทางานกลุ่ม
๕. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
๖. ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
๔.๒ สร้างความตระหนักให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนชุมชนในการ
รักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นโดยการจัดกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และ
รักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๕. กระบวนการพัฒนาผลงานนวัตกรรม
๕.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ตั้งอยู่เลขที่ ๙๒ หมู่ 1 ตาบลทุ่งยาว อาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
บนเนื้อที่ประมาณ ประมาณ 57 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา เป็นโรงเรียนดีประจาอาเภอ บริหารจัดการเชิงระบบ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล และเป็นโรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง
เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง มีนักเรียน จานวน ๖๖๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ เปิดสอนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จากการประเมิน
คุณภาพภายนอก รอบ ๒ จาก สมศ .มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์มี
วิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น
ทางหลักสูตร ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ ส่วนมาตรฐาน ๑-๓ และ ๖-๘ อยู่ในระดับคุณภาพดี และ
๕
ดีมาก ตามลาดับ อย่างไรก็ตามจากการรายงานผลการทดสอบวัดคุณภาพขั้นพื้นฐานผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
(O-Net) ๘ กลุ่มสาระระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ในปีการศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๔
ตามลาดับ ดังนี้ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๑.๐๔ และร้อยละ ๔๗.๘๒ สาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๒๔.๔๑ ร้อยละ ๒๗.๖๐ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๒๘.๖๖ และร้อยละ ๓๐.๗๕ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๐.๑๕
และร้อยละ ๓๘.๓๙ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๒.๐๕ และร้อยละ สาระ
การเรียนรู้ศิลปะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๒๘.๗๓ และร้อยละ ๔๘.๔๔ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๖.๓๗ และร้อยละ ๔๕.๘๐ และสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๑๔.๗๑ และร้อยละ ๒๖.๖๖ ซึ่งส่วนใหญ่ต่ากว่าเกณฑ์คือร้อยละ ๕๐ ยังไม่บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา
จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ พบว่าผลการเรียนเฉลี่ย
(GPA) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามลาดับดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เท่ากับ ๒.๕๑ และ ๒.๑๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เท่ากับ ๒.๕๑ และ ๒.๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เท่ากับ ๒.๒๕ และ ๒.๓๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในภาพรวม
เท่ากับ ๒.๘๙ และ ๒.๕๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เท่ากับ ๓.๕๕ และ ๓.๔๓ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ศิลปะ เท่ากับ ๓.๒๙ และ ๓.๑๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เท่ากับ ๒.๕๙ และ
๒.๔๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เท่ากับ ๒.๘๐ และ ๒.๙๖ ส่วนในระดับโรงเรียนในภาพรวมมีผลการ
เรียนเฉลี่ย (GPA) เท่ากับ ๒.๘๐ ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง (โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์, ๒๕๕๕, หน้า (๖๕,๑๐๒-
๑๐๕) นักเรียนมีปัญหาในด้านการเรียนรู้ซึ่งเป็นผลที่ตามมาก็คือ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้
ความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ต่างๆ ไม่เหมาะสมกับระดับชั้นตามรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-
Net) และการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
จากการสารวจสภาพปัญหาในโรงเรียน ของผู้เรียน พบปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหลายปัญหา
ด้วยกัน อาทิ ปัญหาขยะในโรงเรียน ปัญหาการใช้ห้องเรียน ปัญหาการใช้อาคารหอประชุม ปัญหาห้องน้าห้องส้วม
ของโรงเรียน ปัญหาการใช้โรงอาหารในโรงเรียน ปัญหาการใช้อัฒจรรย์ของโรงเรียน ปัญหาการใช้ร้านค้าสวัสดิการ
ของโรงเรียน ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับขยะบริเวณที่ไปสารวจ เป็นส่วนใหญ่ และการไม่มีวินัยใน
การไปใช้สถานที่เหล่านั้นทากิจกรรมจึงเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาตามมา และจากประสบการณ์ด้านการ
จัด การเรียนรู้ของผู้สอน มักประสบปัญหาด้านการจัดกิจกรรมการเรียน การจัดการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียนไม่สนใจ
เรียน นักเรียนเบื่อเรียน ขาดเจตคติที่ดีต่อการเรียนและคิดว่าการเรียนรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ เป็นเรื่องยาก ผลการ
เรียนรู้ของนักเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู้น้อย ครูผู้สอนเน้นเนื้อหา สาระมากกว่า
กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิด การคิดแก้ปัญหา การค้นหาคาตอบด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้สาระ
การเรียนรู้ต่างๆ ตามธรรมชาติวิชาต้องการเน้นการเสาะหาความรู้ โดยที่ผู้เรียนค้นพบความรู้ สารวจตรวจสอบสิ่งที่
ต้องการรู้ และตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเป็น
กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพื่อแก้ปัญหา
หรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจาวัน และมีความสาคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการ
เรียนรู้ และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้น หาข้อมูลเพื่อเข้าใจกลไกของตัว
ปัญหา รวมทั้งวิธีแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนา
๖
ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการการชี้นาตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้โดยผ่านกระบวนการคิด
ด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียน (สกศ. , ๒๕๕๐, หน้า ๑) โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มี
ความสนใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และยังสามารถปรับประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์ของตนเอง
มีความรู้ความเข้าใจในปัญหาที่ศึกษาและให้เป็นไปในทางที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม
การเรียนการจัดการเรียนรู้ที่จะมีประสิทธิภาพ รูปแบบการการจัดการเรียนรู้เป็นตัวกลาง ที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ และเจตคติ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และเน้นการจัดการเรียนรู้ในเรื่อง
ใกล้ตัวที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
๕.๒ การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
จากสภาพปัญหาและความต้องการ ดังกล่าว จึงนามาซึ่งการกาหนดแนวทางในการออกแบบ
นวัตกรรม “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนา ท.ศ.รักษ์
สิ่งแวดล้อม” ซึ่งได้ออกแบบและพัฒนาโดยใช้ทฤษฎีระบบ ในการดาเนินงานและอาศัยการมีส่วนร่วมของฝ่าย
ต่างๆ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทางาน ของโรงเรียน ในการจัดกิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานมีการพัฒนาโดยคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ ( Faculty of
Health) ของมหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ (McMaster University) ที่ประเทศแคนาดาโดยเริ่มต้นใช้กับ
นักศึกษาแพทย์ฝึกหัด หลังจากนั้นได้ขยายไปสู่มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาหลายแห่ง ส่วนใหญ่นาไปใช้กับ
หลักสูตรของนักศึกษาแพทย์ เนื่องจากผู้เรียนต้องใช้ทักษะวิเคราะห์ปัญหาสูง ต่อมาในปี ค.ศ. ๑๙๘๐ การ
จัดการเรียนรู้ได้ขยายไปสู่สาขาอื่น อาทิ สาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ และได้มีการนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ในหลักสูตรสาขาต่างๆ (สกศ., ๒๕๕๐ อ้างถึงในประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, ๒๕๔๘,หน้า ๒)
การออกแบบนวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
และนักเรียนแกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม มีรูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหา และความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา
๒. กาหนดหลักการของรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๓. กาหนดจุดมุ่งหมายของรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๔. กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๕. อธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๖. แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๗. การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model
ได้จัดทาเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมเป็นลาดับขั้น ดังนี้
๗
กรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนํา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
สภาพปัญหาและความต้องการจําเป็นของสถานศึกษา
INPUT PROCESS OUTPUT
๑. วิเคราะห์ผู้เรียนและ
วิเคราะห์หลักสูตร
๒. กําหนดเป้าหมายในการ
จัดการเรียนรู้
๓. กําหนดเนื้อหาวิชา
๔. กําหนดจุดประสงค์การ
เรียนรู้
๕. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้
๖. กําหนดสื่อและแหล่ง
เรียนรู้
๗. กําหนดกระบวนการวัด
และประเมินผล
๘. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หน่วย
บูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
๘.๑ กําหนดปัญหา
๘.๒ ทําความเข้าใจกับปัญหา
๘.๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
๘.๔ สังเคราะห์ความรู้ สรุปและ
๘.๕ ประเมินค่าของคําตอบ
๘.๖ นําเสนอและประเมินผลงาน
๙. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และวิเคราะห์ผลการเรียน
- ทดสอบก่อนเรียน
- ประเมินชิ้นงานตามใบ
กิจกรรม
- ประเมินทักษะการทํางาน
กลุ่มตามวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
- ประเมิน
คุณลักษณะ
- ทําแบบทดสอบหลังเรียน
FEEDBACK
๑๐. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สภาพปัญหาในโรงเรียน
พฤติกรรมการเรียน การมีวินัย
โรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง
ความสามารถในการคิด
คุณภาพผู้เรียน
มีสุข
ดี เก่ง
กิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
กําหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้
กําหนดหลักการ กําหนดจุดม่งหมาย
ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPP Model
๘
การวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียน
เรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน
รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี
วิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ
เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กันแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี
วิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสาคัญของ
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น
ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใช้ในในการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการ
สืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วน
ใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบาย
และตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ
เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาส
ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็น
คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา
และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
สาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด
ความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันครอบครัว เพศศึกษา
และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิด
สร้างสรรค์มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ
นิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิต
และครอบครัว
มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน
และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมี
คุณธรรม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้
พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนา
อย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้
มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย
ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา
ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ
ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุข
๙
กิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
จัดรายการเสียงตามสาย
จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์
The Best of the Best Classroom
of the Public Consciousness
นัก
เรียน
ห้อง
เรียน
พื้นที่
5 ส
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
กําหนดปัญหา บันทึกการสํารวจ ศึกษาค้นคว้า
รวบรวมข้อมูลปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียน
ทําความเข้าใจกับปัญหาอะไรเป็นสาเหตุสําคัญ
ของปัญหา
ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
สังเคราะห์ความรู้
สรุปและประเมินค่าของคําตอบ
นําเสนอและประเมินผลงาน
ทางสายกลาง
พอประมาณ
มีเหตุผลมี ภูมิคุ้มกัน
ความรู้
มีสติปัญญา รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
คุณธรรม
ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน สามัคคี แบ่งปัน
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
การกําหนดกิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. (PDCA)
ระบุปัญหาของ
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน
โรบงเรียน ท้องถิ่น
ระดมความคิดหาแนวทางในการ
แก้ไขปัญหา หรือการปรับปรุง
คุณภาพของสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นที่
เกิดขึ้น
เขียนกิจกรรม
เพื่อแก้ไขปัญหา
ที่กลุ่มลง
ความเห็น
ดําเนินงานตาม
กิจกรรม และ
ประชาสัมพันธ์ให้
ผู้อื่นเข้าร่วม
กิจกรรม
ประเมินผลการ
ดําเนินงานตาม
โครงการเพื่อ
แก้ไขปรับปรุง
ปรับปรุงการ
ดําเนินงาน สรุปผล
การดําเนินงาน และ
ประชาสัมพันธ์ใน
โรงเรียน
รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและ
แหล่งท่องเที่ยว
นโยบายกิจกรรมวันสําคัญ พิธีไหว้ครู
วันลอยกระทง วันสําคัญทางศาสนา
นักเรียนและครูพุทธไปวัด มุสลิมพัฒนา
กิจกรรมลูกเสือ,วันสําคัญลูกเสือ
กิจกรรมคาบจิตสาธารณะ
สวนเกษตรอินทรีย์
ปลูกพืชผักสวนครัว
เดินรณรงค์สิ่งแวดล้อม
วันสําคัญของชุมชน
การแข่งขันกีฬาภายใน
ปลูกต้นไม้บริเวณโรงเรียน
Big Cleaning Day
ประชาสัมพันธ์หน้าแถว
ปลูกป่าชายเลนร่วมกับชุมชน
นํานักเรียน และครู
ศึกษาแหล่งธรรมชาติ
กิจกรรมโครงงานกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ (ตัวแทนระดับภาค)
อบรมคุณธรรมจริยธรรมและ
สร้างจิตสํานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมโภชนาการโครงการ
อาหารกลางวันสําหรับนักเรียน
ขาดแคลนและจําหน่ายให้
นักเรียนทั่วไปในราคาถูก
น้ําดื่มเพื่อสุขภาพ ลดโลกร้อน
ประหยัดพลังงาน งบประมาณ
มาตรการส่งเสริมความปลอดภัยสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพ รั้ว สุขา โรงรถ ให้โรงเรียน
เป็นเขตปลอดบุหรี่
มาตรการและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
ปีการศึกษา 2556 จัดทําสวนพฤกษศาสตร์
พัฒนาระบบแหล่งจ่ายน้ํา น้ําดื่มมาตรฐาน
อย. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพ็ชร
กิจกรรม 5 ส เยี่ยมห้องเรียน
ประกวด Mind Map
ประกวดคําขวัญ
นิทรรศการสถานศึกษาพอเพียง
ป้ายรณรงค์
๑๐
๕.๓ ขั้นตอนการดําเนินงานพัฒนา
ขั้นตอนการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๑) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา
โดยการศึกษาบริบทของสถานศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการจาเป็น ตลอดจนวิเคราะห์ผู้เรียนด้าน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมการเรียน และการวิเคราะห์หลักสูตร
๒) กาหนดหลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๓) กาหนดจุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๔) กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
๕) กาหนดคาอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๖) กาหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๗) กาหนดการประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model
๘) เตรียมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ให้พร้อมสาหรับในการดาเนินการให้
ผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบในขั้นต่อไป
ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
๑) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ
หลักสูตรสถานศึกษา
๒) ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อนา
หลักการแนวคิด ทฤษฎีดังกล่าวมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
๓) ศึกษาเรื่องของกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ และเนื้อหายึดตาม
แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามเอกสาร และหนังสือเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ
๔) ศึกษาวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสารประกอบหลักสูตร ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๕) ดาเนินการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
๖) ดาเนินการสร้างสื่อการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ใบกิจกรรม ใบความรู้ Power Point
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้
๗) ดาเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรู้
๘) เตรียมแผนการจัดการเรียนรู้พร้อมสื่อการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียนที่
สร้างขึ้นให้พร้อมสาหรับดาเนินการให้ผู้เชี่ยวชาญชาญได้ตรวจสอบในขั้นต่อไป
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
หลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๑. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
๒. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่มจากการ
เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
๓. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน
๑๑
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
๒. มีทักษะการทางานกลุ่มในการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรียน ชุมชน และจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ รักษาสิ่งแวดล้อม
ให้ยั่งยืน โดยบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในการปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
คาอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้
๑. วิเคราะห์ผู้เรียน และวิเคราะห์หลักสูตร
การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนผ่านมาในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา
๒๕๕๕ การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านพฤติกรรมการเรียน การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดทาหน่วยบูรณาการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒. กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
๒.๑ กาหนดเป้าหมายด้านพุทธิพิสัย คือ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
๒.๒ กาหนดเป้าหมายด้านทักษะพิสัย คือ มีทักษะการทางานกลุ่มโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการ
แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
๒.๓ กาหนดเป้าหมายด้านจิตพิสัย คือ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้
๓. กําหนดเนื้อหาวิชา
๓.๑ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
๓.๒ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
๔. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
๔.๑ จุดประสงค์ทั่วไป
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
๔.๒ จุดประสงค์เฉพาะ
๑) สารวจ สืบค้น และวิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
๒) วิเคราะห์และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓) อธิบายความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
๔) ตระหนักและเห็นคุณค่าต่อการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
๕. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้
๕.๑ แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยาย ทดสอบก่อนเรียน(คาบที่ ๑)
๑๒
๕.๒ ทากิจกรรมกลุ่มสารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียนตาม
ใบกิจกรรมที่ ๑ บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ ๒)
๕.๓ ทากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ ๒ เลือกเครื่องมือที่จะทาความเข้าใจกับปัญหา
ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคาถามที่จะใช้เก็บข้อมูล (คาบที่ ๓)
๕.๔ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๓ ดาเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลาเรียน
กับนักเรียนในโรงเรียน จานวน ๒๔๐ คน ทุกระดับชั้น ระดับละ ๔๐ คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละห้องเรียน
นาข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคาถาม (คาบที่ ๔)
๕.๕ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ ๕ สรุปและ
ประเมินค่าของคาตอบ (คาบที่ ๕)
๕.๖ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๖ นาเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ ๕ และ
ทาต่อนอกเวลาเรียน)
๕.๗ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ
ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ ๗ (คาบที่ ๖ และทาต่อนอกเวลาเรียน)
๕.๘ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ ๗-๘ และทบทวนนอกเวลาเรียน)
๕.๙ ทากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
ของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ ๙ และทาต่อนอกเวลาเรียน)
๕.๑๐ ทาแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ ๙ และตอบคาถามท้ายบทตามใบ
กิจกรรมที่ ๑๐ (ทาเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน)
๕.๑๑ ทาแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ ๑๐)
๖. กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้
๖.๑ สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อ Power Point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ
เอกสารประกอบ Power Point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ ใบกิจกรรมที่ ๑-๑๐ เว็บไซต์โรงเรียน
ทุ่งยาวผดุงศิษย์ เว็บบล็อกครูพรพนา
๖.๒ แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ บริเวณโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
๗. กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินผลก่อนเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินผลหลังเรียน
ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม
- ประเมินทักษะการทางานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเมินเจตคติต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้
ทดสอบหลังเรียน
๑๓
๘. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนี้
๘.๑ กาหนดปัญหา
๘ .๒ ทาความเข้าใจกับปัญหา
๘ .๓ ดาเนินการศึกษาค้นคว้า
๘ .๔ สังเคราะห์ความรู้
๘ .๕ สรุปและประเมินค่าของคาตอบ
๘.๖ นาเสนอและประเมินผลงาน
๙. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวิเคราะห์ผลการเรียน ได้แก่ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และหลังเรียน
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนกับเกณฑ์
๑๐. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน
สรุปข้อมูลในขั้นตอนทั้ง ๙ ขั้นตอนที่ดาเนินการ ถ้าขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งบกพร่อง ปรับปรุง
แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์)
- แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
- ตรวจชิ้นงานจากใบกิจกรรมที่
๑-๑๐
- คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
- คะแนนผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ
๘๐
วัดทักษะการทางานกลุ่ม - แบบประเมินทักษะ
การทางานกลุ่มแบบ Rubricให้
คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ
ระดับคุณภาพ ๓ ระดับคือ ๓,๒,๑
- ผ่านเกณฑ์
ระดับคุณภาพ ๓
วัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการ
เรียนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหา
เป็นฐานและวัดคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในการเรียนรู้
- แบบวัดเจตคติจิตต่อการจัดการ
เรียนการจัดการเรียนรู้
- แบบประเมินผลงาน แบบ
Rubricให้คะแนนแบบแยก
องค์ประกอบระดับคุณภาพ ๓
ระดับคือ ๓,๒,๑
- ผ่านเกณฑ์
ระดับคุณภาพ ๓
๑๔
การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model
๑. ด้านบริบท (Context Evaluation : C)
๑.๑ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์
สิ่งแวดล้อมฯ ได้ดีขึ้น
๑.๒ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทาให้นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
รักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
๑.๓ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจริง มีการบูรณาการ
สาระการเรียนรู้หลากหลาย
๑.๔ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
๑.๕ เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสาหรับนักเรียน
๑.๖ เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา
๑.๗ เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจาวันของนักเรียน
๑.๘ เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา
๒. ด้านปัจจัยนําเข้า (Input Evaluation : I )
๒.๑ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา
๒.๒ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจานวนนักเรียน
๒.๓ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ
๒.๔ นักเรียนมีความสะดวกในการนาสื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้มาใช้
๒.๕ ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้
๒.๖ ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการเรียนรู้พร้อม
๒.๗ ขนาดห้องปฏิบัติการมีความเหมาะสมกับจานวนนักเรียน
๒.๘ ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน
๒.๙ ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย
๒.๑๐ ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม
๒.๑๑ ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน
๒.๑๒ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน
๒.๑๓ นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน
๓. ด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P )
๓.๑ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา
๓.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม
๓.๓ กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ
๓.๔ กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือทาจริง
๓.๕ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและกระบวนการแก้ปัญหา
๓.๖ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
๓.๗ กระบวนการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลาดับขั้นตอน
๑๕
๓.๘ นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมินผลก่อนที่จะเรียน
๓.๙ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑๐ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน
๓.๑๑ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
๓.๑๒ มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน
๓.๑๓ มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบกิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น
๓.๑๔ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนา
๔. ด้านผลผลิต (Product Evaluation : P )
๔.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียนได้ดีขึ้น
๔.๒ นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครูสอน
๔.๓ นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
๔.๔ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น
๔.๕ นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
วิธีการสร้างเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบตรวจสอบ
ความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ และแบบตรวจสอบความถูกต้องของ
องค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
วิธีการสร้างแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
มีวิธีการสร้างดังต่อไปนี้
๑. ศึกษาวิธีการสร้าง และรูปแบบของแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของ การ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ จากเอกสารต่างๆ ซึ่งใช้แบบตรวจสอบ ๓ ระดับ คือ สอดคล้อง ไม่แน่ใจ
ไม่สอดคล้อง
๒ . กาหนดรายการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย
พิจารณาประเด็นรายการตรวจสอบให้สอดคล้องสัมพันธ์กันในแต่ละรายการ เช่น หลักการของการออกแบบ
การจัดการเรียนรู้กับข้อมูลพื้นฐาน จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้กับหลักการออกแบบการ
จัดการเรียนรู้ เป็นต้น
๓. กาหนดข้อเสนอแนะเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้
๔ . ตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับรายการตรวจสอบความสอดคล้อง
๕ . นาผลการตรวจในข้อ ๔ มาปรับปรุงเบื้องต้น พร้อมพิมพ์ต้นฉบับตรวจสอบอีกครั้ง
๖ . นาผลการตรวจในข้อ ๕ มาปรับปรุงเป็นฉบับสมบูรณ์ก่อนให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ
๗ . เตรียมแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้พร้อม
เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในขั้นตอนต่อไป
วิธีการสร้างแบบตรวจสอบความถูกต้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
มีวิธีการสร้างดังต่อไปนี้
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม

More Related Content

Viewers also liked

4กิจกรรมการเรียนการสอน
4กิจกรรมการเรียนการสอน4กิจกรรมการเรียนการสอน
4กิจกรรมการเรียนการสอนkrupornpana55
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์krupornpana55
 
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุดkrupornpana55
 
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่นkrupornpana55
 
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์krupornpana55
 
27ศึกษาระบบนิเวศ
27ศึกษาระบบนิเวศ27ศึกษาระบบนิเวศ
27ศึกษาระบบนิเวศkrupornpana55
 
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชนkrupornpana55
 
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชาkrupornpana55
 
18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลนkrupornpana55
 
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระkrupornpana55
 
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธงkrupornpana55
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลกkrupornpana55
 
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถวkrupornpana55
 

Viewers also liked (20)

4กิจกรรมการเรียนการสอน
4กิจกรรมการเรียนการสอน4กิจกรรมการเรียนการสอน
4กิจกรรมการเรียนการสอน
 
29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์
 
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
 
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น
1 กิจกรรม5 ส ดีเด่น
 
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
26ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์
 
27ศึกษาระบบนิเวศ
27ศึกษาระบบนิเวศ27ศึกษาระบบนิเวศ
27ศึกษาระบบนิเวศ
 
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน
24ร่วมปลูกป่าชายเลนกับชุมชน
 
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา
22มุลิมพัฒนาโรงเรียนวันวิสาขบูชา
 
18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน
 
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
 
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง
8จัดเสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
 
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
 

Similar to 4รายงานนวีตกรรม

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
Tar Bt
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
project
projectproject
project
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Watcharasak Chantong
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิดNirut Uthatip
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 

Similar to 4รายงานนวีตกรรม (20)

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
005
005005
005
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
03
0303
03
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 

More from krupornpana55

การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 

4รายงานนวีตกรรม

  • 1. ๑ การนําเสนอผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม”ประจําปี ๒๕๕๖ ๑. หน้าปก ๑) ชื่อผลงานนวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียน แกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม ๒) การส่งผลงานนวัตกรรม (กรุณาระบุ ลงใน  ที่ตรงกับผลงาน)  เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา ๓) ประเภทผลงานนวัตกรรม (กรุณาระบุ ลงใน  ที่ตรงกับผลงาน (เลือกได้เพียง ๑ ด้าน เท่านั้น))  ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ๔) ผู้เสนอผลงานนวัตกรรม ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา นายภิญโญ นามสกุล จินตนปัญญา ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๑๖๗๖๗๗๒๑ เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๒๒๒๐๔๐๐๐๓๒๒๙๖ ๕) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม (ครู/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องจํานวนตามความเป็นจริง) ƒนายดารงค์ นามสกุล วรรณแรก ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๕๘๘๒๒๖๐๑ เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๔๒๒๐๐๔๐๒๕๐๘๕๗๓ นางพรพนา นามสกุล สมัยรัฐ ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๔๘๙๘๐๑๕๔ เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๒๒๐๐๔๐๐๔๐๔๙๒๔ นายสาคร นามสกุล ขันชู ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๐๐๔๑๒๖๔๙ เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๓๒๐๐๔๐๐๕๐๙๔๓๑ นายวรัญญู นามสกุล อติศักดิ์กุล ตาแหน่ง ครู โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๗๘๙๕๙๖๑๔ เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๕๕๒๐๒๑๓๐๑๑๘๘๒ ๖) ข้อมูลสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เลขที่ ๙๒ ถนน ตรัง-สตูล ตาบล/แขวง ทุ่งยาว อาเภอ/เขต ปะเหลียน จังหวัด ตรัง รหัสไปรษณีย์ ๙๒๑๘๐ โทรศัพท์ ๐๗๕๒๘๙๔๒๓ โทรสาร ๐๗๕๒๘๘๒๕๗ web site thungyaopadungsit.ac.th E – mail address thungyaopadungsit@hotmail.com สังกัด  สพม. เขต ๑๓ จังหวัด ตรัง-กระบี่ แบบ นร.๑
  • 2. ๒ ๗) ศึกษานิเทศก์ผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรม - ๘) ข้อมูลคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษา (ที่จัดส่งผลงานเพื่อรับการประเมินระดับเขต) คุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต ๑ (ระบุจังหวัด) จังหวัดตรัง ๒. บทสรุป การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม จากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา ทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน จุดมุ่งหมาย ของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มีทักษะการทางานกลุ่มในการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน หน่วยบูรณาการโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการ ปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้น INPUT ขั้น PROCESS ขั้น OUTPUT ขั้น FEEDBACK กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทาการสุ่มอย่างง่าย ( Simple Random Sampling) จากประชากรโดยวิธีการจับฉลาก โดยใช้กลุ่มนักเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม คือกลุ่มนักเรียน แกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มนักเรียน ม.๓/๑ กลุ่มนักเรียน ม.๓/๒ กลุ่มนักเรียน ม.๓/๓ และกลุ่มนักเรียน ม.๓/๔ สุ่มได้ห้อง ม.๓/๑ จานวน ๓๔ คน การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่าทุกข้อมีค่าความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ ๑.๐๐ ผล การตรวจสอบความถูกต้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์ จานวน ๖๑ ข้อ พบว่าทุกข้อมีค่า ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ ๑.๐๐ ข้อสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต่ ๐.๒๐ ถึง ๐.๘๐ และค่าอานาจจาแนก ( r) ตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึ้นไป ได้ข้อสอบที่ดี จานวน ๔๕ ข้อ ผลการหาค่า ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้วิธีของวิชาร์ดสัน (Richardson) KR-๒๐ (Kuder Richardson- ๒๐) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ .๘๑๖๒ ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จากการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และคะแนน หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๐.๙๐ สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดคือร้อยละ ๘๐ ผลการประเมินทักษะ การทางานกลุ่ม พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ผลการประเมินเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้ หน่วย บูรณาการ ค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งฉบับผู้เรียนเห็นด้วยและผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่าค่าเฉลี่ย โดยรวมทั้งฉบับอยู่ในระดับมาก
  • 3. ๓ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนชุมชน ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นจากกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ความเป็นมาและความสําคัญ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๔ ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นและทาเป็น รักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียน การสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ การเรียนรู้ และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาส่งเสริมให้ผู้เรียน เป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จากหลักการดังกล่าวผู้สอนจึงได้พัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ออกแบบตามทฤษฎีระบบ ๔ ขั้นตอน (สุคนธ์ ภูริเวทย์, ๒๔๔๒, หน้า ๕๒ ) ได้แก่ ขั้น INPUT ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ผู้เรียนและ วิเคราะห์หลักสูตร กาหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ กาหนดเนื้อหาวิชา กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ กาหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ กาหนดกระบวนการวัดและประเมินผล ขั้น PROCESS ประกอบด้วยการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ๖ ขั้นตอน คือ กาหนดปัญหา ทาความเข้าใจกับปัญหา ดาเนินการศึกษาค้นคว้า สังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของ คาตอบ นาเสนอและประเมินผลงาน ขั้น OUTPUT ประกอบด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ วิเคราะห์ผลการเรียน โดยการทดสอบก่อนเรียน ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม ประเมินทักษะการทางาน กลุ่ม ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทาแบบฝึกหัดทบทวน ทาแบบทดสอบหลังเรียน ขั้น FEEDBACK ประกอบด้วยการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ ๙ ขั้น ของกาเย่ และบริกส์ (Gagne’ and Briggs, ๑๙๗๙ อ้างถึงในไชยยศ เรืองสุวรรณ, ๒๕๓๑, หน้า ๖๖-๖๗) คือ ต้องมีสิ่งเร้าให้ผู้เรียน เกิดความสนใจ ต้องแจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนทราบ ต้องสร้างสถานการณ์เพื่อเชื่อมโยงเข้าหาความรู้เดิม ทาการ เสนอบทเรียน แนะนาแนวทางในการเรียน หลังจากผู้เรียนเข้าใจแล้วให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ประเมินผลการปฏิบัติ ทบทวนเพื่อให้เกิดความแม่นยาและการถ่ายโอนความรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร มีองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ ผู้ส่งสาร ตัวสารหรือตัวกลาง หรือช่องทางในการสื่อสาร และผู้รับสาร (สุคนธ์ ภูริเวทย์, ๒๕๕๒, หน้า ๗๐) อีกทั้งรูปแบบการจัดการเรียนรู้ฝึกให้ผู้เรียนทากิจกรรมสร้างสรรค์ตาม วงจรคุณภาพ PDCA คือขั้น P(PLAN) หรือวางแผนการทากิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้น D(DO) เป็นการดาเนิน กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้วางแผนไว้ ขั้น C(CHECK) เป็นขั้นติดตามความก้าวหน้าจากการดาเนินกิจกรรม และขั้น
  • 4. ๔ A(ACTION) เป็นขั้นที่ต้องพัฒนาแก้ไข ตลอดจนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยังบูรณาการให้ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์ บทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชฯ เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่พัฒนาขึ้น เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน ให้ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม จากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์และวงจรคุณภาพ PDCA จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน ๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย ดังนี้ ๑. ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ ๒. ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๓. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๔. ประเมินทักษะการทางานกลุ่ม ๕. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ๖. ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ๔.๒ สร้างความตระหนักให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนชุมชนในการ รักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และท้องถิ่นโดยการจัดกิจกรรมที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และ รักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. กระบวนการพัฒนาผลงานนวัตกรรม ๕.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ตั้งอยู่เลขที่ ๙๒ หมู่ 1 ตาบลทุ่งยาว อาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง บนเนื้อที่ประมาณ ประมาณ 57 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา เป็นโรงเรียนดีประจาอาเภอ บริหารจัดการเชิงระบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล และเป็นโรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง มีนักเรียน จานวน ๖๖๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จากการประเมิน คุณภาพภายนอก รอบ ๒ จาก สมศ .มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์มี วิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น ทางหลักสูตร ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ ส่วนมาตรฐาน ๑-๓ และ ๖-๘ อยู่ในระดับคุณภาพดี และ
  • 5. ๕ ดีมาก ตามลาดับ อย่างไรก็ตามจากการรายงานผลการทดสอบวัดคุณภาพขั้นพื้นฐานผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ (O-Net) ๘ กลุ่มสาระระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ในปีการศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ตามลาดับ ดังนี้ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๑.๐๔ และร้อยละ ๔๗.๘๒ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๒๔.๔๑ ร้อยละ ๒๗.๖๐ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๒๘.๖๖ และร้อยละ ๓๐.๗๕ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๐.๑๕ และร้อยละ ๓๘.๓๙ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๗๒.๐๕ และร้อยละ สาระ การเรียนรู้ศิลปะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๒๘.๗๓ และร้อยละ ๔๘.๔๔ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๖.๓๗ และร้อยละ ๔๕.๘๐ และสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๑๔.๗๑ และร้อยละ ๒๖.๖๖ ซึ่งส่วนใหญ่ต่ากว่าเกณฑ์คือร้อยละ ๕๐ ยังไม่บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ พบว่าผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามลาดับดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เท่ากับ ๒.๕๑ และ ๒.๑๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เท่ากับ ๒.๕๑ และ ๒.๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เท่ากับ ๒.๒๕ และ ๒.๓๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในภาพรวม เท่ากับ ๒.๘๙ และ ๒.๕๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เท่ากับ ๓.๕๕ และ ๓.๔๓ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ เท่ากับ ๓.๒๙ และ ๓.๑๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เท่ากับ ๒.๕๙ และ ๒.๔๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เท่ากับ ๒.๘๐ และ ๒.๙๖ ส่วนในระดับโรงเรียนในภาพรวมมีผลการ เรียนเฉลี่ย (GPA) เท่ากับ ๒.๘๐ ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง (โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์, ๒๕๕๕, หน้า (๖๕,๑๐๒- ๑๐๕) นักเรียนมีปัญหาในด้านการเรียนรู้ซึ่งเป็นผลที่ตามมาก็คือ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้ ความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ต่างๆ ไม่เหมาะสมกับระดับชั้นตามรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O- Net) และการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน จากการสารวจสภาพปัญหาในโรงเรียน ของผู้เรียน พบปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหลายปัญหา ด้วยกัน อาทิ ปัญหาขยะในโรงเรียน ปัญหาการใช้ห้องเรียน ปัญหาการใช้อาคารหอประชุม ปัญหาห้องน้าห้องส้วม ของโรงเรียน ปัญหาการใช้โรงอาหารในโรงเรียน ปัญหาการใช้อัฒจรรย์ของโรงเรียน ปัญหาการใช้ร้านค้าสวัสดิการ ของโรงเรียน ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับขยะบริเวณที่ไปสารวจ เป็นส่วนใหญ่ และการไม่มีวินัยใน การไปใช้สถานที่เหล่านั้นทากิจกรรมจึงเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาตามมา และจากประสบการณ์ด้านการ จัด การเรียนรู้ของผู้สอน มักประสบปัญหาด้านการจัดกิจกรรมการเรียน การจัดการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียนไม่สนใจ เรียน นักเรียนเบื่อเรียน ขาดเจตคติที่ดีต่อการเรียนและคิดว่าการเรียนรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ เป็นเรื่องยาก ผลการ เรียนรู้ของนักเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู้น้อย ครูผู้สอนเน้นเนื้อหา สาระมากกว่า กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิด การคิดแก้ปัญหา การค้นหาคาตอบด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้สาระ การเรียนรู้ต่างๆ ตามธรรมชาติวิชาต้องการเน้นการเสาะหาความรู้ โดยที่ผู้เรียนค้นพบความรู้ สารวจตรวจสอบสิ่งที่ ต้องการรู้ และตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพื่อแก้ปัญหา หรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจาวัน และมีความสาคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการ เรียนรู้ และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้น หาข้อมูลเพื่อเข้าใจกลไกของตัว ปัญหา รวมทั้งวิธีแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนา
  • 6. ๖ ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการการชี้นาตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้โดยผ่านกระบวนการคิด ด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียน (สกศ. , ๒๕๕๐, หน้า ๑) โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มี ความสนใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และยังสามารถปรับประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์ของตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในปัญหาที่ศึกษาและให้เป็นไปในทางที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม การเรียนการจัดการเรียนรู้ที่จะมีประสิทธิภาพ รูปแบบการการจัดการเรียนรู้เป็นตัวกลาง ที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดและ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ และเจตคติ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และเน้นการจัดการเรียนรู้ในเรื่อง ใกล้ตัวที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ ๕.๒ การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา จากสภาพปัญหาและความต้องการ ดังกล่าว จึงนามาซึ่งการกาหนดแนวทางในการออกแบบ นวัตกรรม “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนา ท.ศ.รักษ์ สิ่งแวดล้อม” ซึ่งได้ออกแบบและพัฒนาโดยใช้ทฤษฎีระบบ ในการดาเนินงานและอาศัยการมีส่วนร่วมของฝ่าย ต่างๆ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการทางาน ของโรงเรียน ในการจัดกิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานมีการพัฒนาโดยคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ ( Faculty of Health) ของมหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ (McMaster University) ที่ประเทศแคนาดาโดยเริ่มต้นใช้กับ นักศึกษาแพทย์ฝึกหัด หลังจากนั้นได้ขยายไปสู่มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาหลายแห่ง ส่วนใหญ่นาไปใช้กับ หลักสูตรของนักศึกษาแพทย์ เนื่องจากผู้เรียนต้องใช้ทักษะวิเคราะห์ปัญหาสูง ต่อมาในปี ค.ศ. ๑๙๘๐ การ จัดการเรียนรู้ได้ขยายไปสู่สาขาอื่น อาทิ สาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ และได้มีการนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้ในหลักสูตรสาขาต่างๆ (สกศ., ๒๕๕๐ อ้างถึงในประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, ๒๕๔๘,หน้า ๒) การออกแบบนวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม มีรูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหา และความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา ๒. กาหนดหลักการของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๓. กาหนดจุดมุ่งหมายของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๔. กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๕. อธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๖. แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๗. การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ได้จัดทาเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมเป็นลาดับขั้น ดังนี้
  • 7. ๗ กรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และนักเรียนแกนนํา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและความต้องการจําเป็นของสถานศึกษา INPUT PROCESS OUTPUT ๑. วิเคราะห์ผู้เรียนและ วิเคราะห์หลักสูตร ๒. กําหนดเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ ๓. กําหนดเนื้อหาวิชา ๔. กําหนดจุดประสงค์การ เรียนรู้ ๕. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ๖. กําหนดสื่อและแหล่ง เรียนรู้ ๗. กําหนดกระบวนการวัด และประเมินผล ๘. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หน่วย บูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ๘.๑ กําหนดปัญหา ๘.๒ ทําความเข้าใจกับปัญหา ๘.๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ๘.๔ สังเคราะห์ความรู้ สรุปและ ๘.๕ ประเมินค่าของคําตอบ ๘.๖ นําเสนอและประเมินผลงาน ๙. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และวิเคราะห์ผลการเรียน - ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินชิ้นงานตามใบ กิจกรรม - ประเมินทักษะการทํางาน กลุ่มตามวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ - ประเมิน คุณลักษณะ - ทําแบบทดสอบหลังเรียน FEEDBACK ๑๐. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สภาพปัญหาในโรงเรียน พฤติกรรมการเรียน การมีวินัย โรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง ความสามารถในการคิด คุณภาพผู้เรียน มีสุข ดี เก่ง กิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน กําหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ กําหนดหลักการ กําหนดจุดม่งหมาย ประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPP Model
  • 8. ๘ การวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียน เรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี วิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี วิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสาคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใช้ในในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการ สืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วน ใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบาย และตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาส ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็น คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิด สร้างสรรค์มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ นิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิต และครอบครัว มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้ กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมี คุณธรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้ พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนา อย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้ มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข
  • 9. ๙ กิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จัดรายการเสียงตามสาย จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ The Best of the Best Classroom of the Public Consciousness นัก เรียน ห้อง เรียน พื้นที่ 5 ส กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กําหนดปัญหา บันทึกการสํารวจ ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียน ทําความเข้าใจกับปัญหาอะไรเป็นสาเหตุสําคัญ ของปัญหา ดําเนินการศึกษาค้นคว้า สังเคราะห์ความรู้ สรุปและประเมินค่าของคําตอบ นําเสนอและประเมินผลงาน ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผลมี ภูมิคุ้มกัน ความรู้ มีสติปัญญา รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง คุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน สามัคคี แบ่งปัน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การกําหนดกิจกรรมร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. (PDCA) ระบุปัญหาของ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน โรบงเรียน ท้องถิ่น ระดมความคิดหาแนวทางในการ แก้ไขปัญหา หรือการปรับปรุง คุณภาพของสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นที่ เกิดขึ้น เขียนกิจกรรม เพื่อแก้ไขปัญหา ที่กลุ่มลง ความเห็น ดําเนินงานตาม กิจกรรม และ ประชาสัมพันธ์ให้ ผู้อื่นเข้าร่วม กิจกรรม ประเมินผลการ ดําเนินงานตาม โครงการเพื่อ แก้ไขปรับปรุง ปรับปรุงการ ดําเนินงาน สรุปผล การดําเนินงาน และ ประชาสัมพันธ์ใน โรงเรียน รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและ แหล่งท่องเที่ยว นโยบายกิจกรรมวันสําคัญ พิธีไหว้ครู วันลอยกระทง วันสําคัญทางศาสนา นักเรียนและครูพุทธไปวัด มุสลิมพัฒนา กิจกรรมลูกเสือ,วันสําคัญลูกเสือ กิจกรรมคาบจิตสาธารณะ สวนเกษตรอินทรีย์ ปลูกพืชผักสวนครัว เดินรณรงค์สิ่งแวดล้อม วันสําคัญของชุมชน การแข่งขันกีฬาภายใน ปลูกต้นไม้บริเวณโรงเรียน Big Cleaning Day ประชาสัมพันธ์หน้าแถว ปลูกป่าชายเลนร่วมกับชุมชน นํานักเรียน และครู ศึกษาแหล่งธรรมชาติ กิจกรรมโครงงานกลุ่มสาระ การเรียนรู้ (ตัวแทนระดับภาค) อบรมคุณธรรมจริยธรรมและ สร้างจิตสํานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมโภชนาการโครงการ อาหารกลางวันสําหรับนักเรียน ขาดแคลนและจําหน่ายให้ นักเรียนทั่วไปในราคาถูก น้ําดื่มเพื่อสุขภาพ ลดโลกร้อน ประหยัดพลังงาน งบประมาณ มาตรการส่งเสริมความปลอดภัยสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ รั้ว สุขา โรงรถ ให้โรงเรียน เป็นเขตปลอดบุหรี่ มาตรการและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา 2556 จัดทําสวนพฤกษศาสตร์ พัฒนาระบบแหล่งจ่ายน้ํา น้ําดื่มมาตรฐาน อย. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพ็ชร กิจกรรม 5 ส เยี่ยมห้องเรียน ประกวด Mind Map ประกวดคําขวัญ นิทรรศการสถานศึกษาพอเพียง ป้ายรณรงค์
  • 10. ๑๐ ๕.๓ ขั้นตอนการดําเนินงานพัฒนา ขั้นตอนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา โดยการศึกษาบริบทของสถานศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการจาเป็น ตลอดจนวิเคราะห์ผู้เรียนด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมการเรียน และการวิเคราะห์หลักสูตร ๒) กาหนดหลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๓) กาหนดจุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๔) กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ๕) กาหนดคาอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๖) กาหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๗) กาหนดการประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ๘) เตรียมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ให้พร้อมสาหรับในการดาเนินการให้ ผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบในขั้นต่อไป ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ๑) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ หลักสูตรสถานศึกษา ๒) ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อนา หลักการแนวคิด ทฤษฎีดังกล่าวมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ๓) ศึกษาเรื่องของกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ และเนื้อหายึดตาม แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามเอกสาร และหนังสือเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ๔) ศึกษาวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสารประกอบหลักสูตร ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๕) ดาเนินการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ๖) ดาเนินการสร้างสื่อการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ใบกิจกรรม ใบความรู้ Power Point ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้ ๗) ดาเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรู้ ๘) เตรียมแผนการจัดการเรียนรู้พร้อมสื่อการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียนที่ สร้างขึ้นให้พร้อมสาหรับดาเนินการให้ผู้เชี่ยวชาญชาญได้ตรวจสอบในขั้นต่อไป การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ๒. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่มจากการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ๓. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียน
  • 11. ๑๑ จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๒. มีทักษะการทางานกลุ่มในการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมใน โรงเรียน ชุมชน และจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ รักษาสิ่งแวดล้อม ให้ยั่งยืน โดยบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในการปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน คาอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์ผู้เรียน และวิเคราะห์หลักสูตร การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนผ่านมาในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านพฤติกรรมการเรียน การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดทาหน่วยบูรณาการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ๒.๑ กาหนดเป้าหมายด้านพุทธิพิสัย คือ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๒.๒ กาหนดเป้าหมายด้านทักษะพิสัย คือ มีทักษะการทางานกลุ่มโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ๒.๓ กาหนดเป้าหมายด้านจิตพิสัย คือ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้ ๓. กําหนดเนื้อหาวิชา ๓.๑ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ๓.๒ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๔. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ จุดประสงค์ทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๔.๒ จุดประสงค์เฉพาะ ๑) สารวจ สืบค้น และวิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา ๒) วิเคราะห์และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓) อธิบายความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ๔) ตระหนักและเห็นคุณค่าต่อการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๕. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ๕.๑ แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยาย ทดสอบก่อนเรียน(คาบที่ ๑)
  • 12. ๑๒ ๕.๒ ทากิจกรรมกลุ่มสารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียนตาม ใบกิจกรรมที่ ๑ บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ ๒) ๕.๓ ทากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ ๒ เลือกเครื่องมือที่จะทาความเข้าใจกับปัญหา ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคาถามที่จะใช้เก็บข้อมูล (คาบที่ ๓) ๕.๔ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๓ ดาเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลาเรียน กับนักเรียนในโรงเรียน จานวน ๒๔๐ คน ทุกระดับชั้น ระดับละ ๔๐ คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละห้องเรียน นาข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคาถาม (คาบที่ ๔) ๕.๕ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ ๕ สรุปและ ประเมินค่าของคาตอบ (คาบที่ ๕) ๕.๖ ทากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๖ นาเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ ๕ และ ทาต่อนอกเวลาเรียน) ๕.๗ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ ๗ (คาบที่ ๖ และทาต่อนอกเวลาเรียน) ๕.๘ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ ๗-๘ และทบทวนนอกเวลาเรียน) ๕.๙ ทากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ ๙ และทาต่อนอกเวลาเรียน) ๕.๑๐ ทาแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ ๙ และตอบคาถามท้ายบทตามใบ กิจกรรมที่ ๑๐ (ทาเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน) ๕.๑๑ ทาแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ ๑๐) ๖. กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ ๖.๑ สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อ Power Point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ เอกสารประกอบ Power Point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ ใบกิจกรรมที่ ๑-๑๐ เว็บไซต์โรงเรียน ทุ่งยาวผดุงศิษย์ เว็บบล็อกครูพรพนา ๖.๒ แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ บริเวณโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ๗. กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล การประเมินผลก่อนเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินผลหลังเรียน ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม - ประเมินทักษะการทางานกลุ่ม - ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินเจตคติต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ ทดสอบหลังเรียน
  • 13. ๑๓ ๘. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนี้ ๘.๑ กาหนดปัญหา ๘ .๒ ทาความเข้าใจกับปัญหา ๘ .๓ ดาเนินการศึกษาค้นคว้า ๘ .๔ สังเคราะห์ความรู้ ๘ .๕ สรุปและประเมินค่าของคาตอบ ๘.๖ นาเสนอและประเมินผลงาน ๙. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวิเคราะห์ผลการเรียน ได้แก่ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และหลังเรียน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนกับเกณฑ์ ๑๐. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน สรุปข้อมูลในขั้นตอนทั้ง ๙ ขั้นตอนที่ดาเนินการ ถ้าขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งบกพร่อง ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ทดสอบ ผลสัมฤทธิ์) - แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ตรวจชิ้นงานจากใบกิจกรรมที่ ๑-๑๐ - คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน - คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ วัดทักษะการทางานกลุ่ม - แบบประเมินทักษะ การทางานกลุ่มแบบ Rubricให้ คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ ระดับคุณภาพ ๓ ระดับคือ ๓,๒,๑ - ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ ๓ วัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการ เรียนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหา เป็นฐานและวัดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในการเรียนรู้ - แบบวัดเจตคติจิตต่อการจัดการ เรียนการจัดการเรียนรู้ - แบบประเมินผลงาน แบบ Rubricให้คะแนนแบบแยก องค์ประกอบระดับคุณภาพ ๓ ระดับคือ ๓,๒,๑ - ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ ๓
  • 14. ๑๔ การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model ๑. ด้านบริบท (Context Evaluation : C) ๑.๑ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์ สิ่งแวดล้อมฯ ได้ดีขึ้น ๑.๒ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทาให้นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ๑.๓ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจริง มีการบูรณาการ สาระการเรียนรู้หลากหลาย ๑.๔ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ๑.๕ เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสาหรับนักเรียน ๑.๖ เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา ๑.๗ เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจาวันของนักเรียน ๑.๘ เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา ๒. ด้านปัจจัยนําเข้า (Input Evaluation : I ) ๒.๑ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา ๒.๒ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจานวนนักเรียน ๒.๓ สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ ๒.๔ นักเรียนมีความสะดวกในการนาสื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้มาใช้ ๒.๕ ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้ ๒.๖ ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการเรียนรู้พร้อม ๒.๗ ขนาดห้องปฏิบัติการมีความเหมาะสมกับจานวนนักเรียน ๒.๘ ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน ๒.๙ ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย ๒.๑๐ ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ๒.๑๑ ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน ๒.๑๒ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน ๒.๑๓ นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน ๓. ด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P ) ๓.๑ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา ๓.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม ๓.๓ กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ ๓.๔ กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือทาจริง ๓.๕ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและกระบวนการแก้ปัญหา ๓.๖ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนาเสนอหน้าชั้นเรียน ๓.๗ กระบวนการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลาดับขั้นตอน
  • 15. ๑๕ ๓.๘ นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมินผลก่อนที่จะเรียน ๓.๙ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑๐ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน ๓.๑๑ มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ๓.๑๒ มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน ๓.๑๓ มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบกิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น ๓.๑๔ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนา ๔. ด้านผลผลิต (Product Evaluation : P ) ๔.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียนได้ดีขึ้น ๔.๒ นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครูสอน ๔.๓ นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม ๔.๔ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น ๔.๕ นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ วิธีการสร้างเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบตรวจสอบ ความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ และแบบตรวจสอบความถูกต้องของ องค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ วิธีการสร้างแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ มีวิธีการสร้างดังต่อไปนี้ ๑. ศึกษาวิธีการสร้าง และรูปแบบของแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของ การ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ จากเอกสารต่างๆ ซึ่งใช้แบบตรวจสอบ ๓ ระดับ คือ สอดคล้อง ไม่แน่ใจ ไม่สอดคล้อง ๒ . กาหนดรายการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย พิจารณาประเด็นรายการตรวจสอบให้สอดคล้องสัมพันธ์กันในแต่ละรายการ เช่น หลักการของการออกแบบ การจัดการเรียนรู้กับข้อมูลพื้นฐาน จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้กับหลักการออกแบบการ จัดการเรียนรู้ เป็นต้น ๓. กาหนดข้อเสนอแนะเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๔ . ตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับรายการตรวจสอบความสอดคล้อง ๕ . นาผลการตรวจในข้อ ๔ มาปรับปรุงเบื้องต้น พร้อมพิมพ์ต้นฉบับตรวจสอบอีกครั้ง ๖ . นาผลการตรวจในข้อ ๕ มาปรับปรุงเป็นฉบับสมบูรณ์ก่อนให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ ๗ . เตรียมแบบตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้พร้อม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในขั้นตอนต่อไป วิธีการสร้างแบบตรวจสอบความถูกต้องขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ มีวิธีการสร้างดังต่อไปนี้