SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
การถ่า ยทอดองค์ค วามรู้โ ครงการบริก ารวิช าการ
  กรณีศ ึก ษา ผลการสัง เกตการณ์โ ครงการพีอ าร์ร ัก ษ์ส ิ่ง
                        แวดล้อ ม
     โครงการ “คืน คลองสวยใส ให้ช ุม ชนของเรา ”
            (ธัน วาคม 2554 – กุม ภาพัน ธ์ 2555)
     สาขาวิช าการประชาสัม พัน ธ์ ร่ว มกับ สาขาวิช า
                 วารสารศาสตร์แ ละสื่อ ใหม่
      คณะนิเ ทศศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เกษมบัณ ฑิต




       โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา ” เป็นการ
ดำาเนินงานโดยสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชา
วารสารศาสตร์และสื่อใหม่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษม
บัณฑิต ภายใต้โครงการพีอาร์รักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการผนึก
กำาลังในการจัดโครงการบริการวิชาการเพื่อบำาเพ็ญประโยชน์และให้
ความรู้แก่ชุมชนและเยาวชน เป็นการปลูกจิตสำานึกให้คนในชุมชน
ตระหนักถึงความสำาคัญของคลองที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมาช้า
นาน ซึ่งลำาคลองได้ให้ประโยชน์หลายอย่าง อาทิเช่น คมนาคม ทำา
เกษตร หาปลาเพื่อเลี้ยงชีพ เป็นต้น คนในชุมชนควรร่วมกันดูแล
และพัฒนาคลองแสนแสบที่มีความสำาคัญในอดีตให้กลับมามีสภาพที่ดี
ขึ้นอีกครั้ง เพื่อเป็นการทดแทนบุญคุณและสร้างคุณภาพชีวิตของ
ชุมชนบริเวณคลองแสนแสบให้ได้พึ่งพาอาศัยกันเปรียบเป็นสายนำ้า
แห่งชีวิตที่มีคุณค่าสืบไป อีกทั้งเป็นโครงการต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสังคม
ชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2


       โครงการดังกล่าวเป็นผลจากการสังเกตการณ์การจัดโครงการ
บริ ก ารวิ ช าการ โดยการบู ร ณาการกั บ การวิ จั ย เรื่ อ ง การประเมิ น
ประสิทธิผลการประชาสัมพันธ์ โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชน
ของเรา” (โครงการนำา ร่อ ง : Pilot Project) โครงการศึ กษาคุ ณ ภาพ
ชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนบริเวณริมคลองแสนแสบ โครงการจิตต์
รักษ์คลองแสนแสบ ปีที่ 2 และการบูรณาการความรู้กับการเรียนการ
ส อ น ด้ า น ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ใ น ร า ย วิ ช า PR.421 Professional
Practicum in PR (การฝึ ก งานประชาสั ม พั น ธ์ ) ซึ่ ง พบประเด็ น ที่ น่ า
สนใจดังนี้



ข้อ เสนอแนะ ซึ่ง เป็น ความรู้ด ้า นการประชาสัม พัน ธ์ท ี่ไ ด้
จากการจัด โครงการบริก ารวิช าการ
1. สื่อประชาสัมพันธ์ (สิ่งพิมพ์) ควรเป็นส่วนประกอบ เพื่อขยายการ
รับรู้หลังจากการทำากิจกรรม
2. ควรสร้างการตระหนักในเรื่องจิตสำานึกสาธารณะให้บุคคลแต่ละ
กลุ่มในการรู้สึกรักสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อย่างจริงจัง
3. ควรลำาดับประเด็นที่ทำาได้ง่ายก่อน โดยชูเป็นเรื่องแรกที่จะดำาเนิน
การ เพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติตามได้จริง เช่น ไม่ทิ้งขยะ...
4. เนื้อหาควรชี้ให้เห็นคุณและโทษภัยจากการทิ้งขยะหรือการ
ละเลย ไม่ดูแลคลอง เพื่อกระตุ้นจิตสำานึกของคนทั่วไป
5. ควรมุ่งทำากิจกรรมลงพื้นที่ ให้ใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมายหลัก โดย
เฉพาะคนริมนำ้า และสร้างการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง ระยะ
ยาว
6. รูปแบบกิจกรรมควรเสริมแรงจูงใจให้เข้าร่วม เช่น การชิงโชค
หรือต่อยอดในเชิงรายได้เสริม ฯลฯ
7. ควรมีหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบหลักในการดำาเนินงาน
อย่างต่อเนื่อง เป็นแผนระยะยาว
8. ควรยกย่องเชิดชูชุมชนตัวอย่างที่ประสบความสำาเร็จ และเสริม
สร้างกิจกรรมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนด้วยกัน
9. ควรจำาแนกความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมให้ชัดเจน ของคน
แต่ละกลุ่มให้ชัดเจน ว่ากลุ่มไหนสามารถดำาเนินงานช่วยเหลือหรือ
เสริมสร้างในส่วนใดอย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อช่วยกำาหนดรูปแบบ
การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์รณรงค์ได้ง่ายยิ่งขึ้น
3


10. ควรมุ่งสื่อสารไปยังผู้นำาชุมชน และผลักดัน สนับสนุนความเข้ม
แข็งของชุมชนนั้นๆ ให้สามารถดำาเนินการต่อเนื่องอย่างจริงจังได้
ต่อไป
11. มาตรการกำากับ ควบคุม ทางกฎหมาย ควรดำาเนินการอย่างเข้ม
งวด เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติตามสร้างการมีส่วนร่วมและร่วม
มือร่วมใจระหว่างภาคสังคม ชุมชน และเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง
โดยตรง

       ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม
ป ร ะ ช า สัม พัน ธ์ โ ค ร ง ก า ร “คืน ค ล อ ง ส ว ย ใ ส ใ ห้ช ุม ช น ข อ ง
เรา” สามารถสรุป ประเด็น ที่น ่า สนใจได้ด ัง นี้
       1.1 กิ จ ก ร ร ม ที่ ไ ด้ ร ั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล อ ยู่ ใ น
ระดับ มาก
       พบว่า กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ถือเป็นกิจกรรมพิเศษ (Special
Events) ที่ไ ด้รั บความสนใจจากกลุ่ ม เป้ า หมายและชุ ม ชนในการ
รณรงค์ ใ ห้ อ นุ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบ ซึ่ ง กิ จ กรรมที่ ดำา เนิ น การ ใน
โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา” จำา นวน 2 กิจกรรม
คือ กิจ กรรม “รักนะคลองแสนแสบ”(พื้นที่การรณรงค์ โรงเรีย นวัด
เทพลีลา) และกิจกรรม “ร่วมฝัน นำ้า ใส ให้เทพลีลา” (พื้นที่รณรงค์
บริเวณชุมชนเทพลีลา) ได้รับการประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก
       ทั้งนี้ประเมินจากการได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากชุมชน
และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์

      1.2 กิจ กรรมที่ไ ด้ร ับ การประเมิน ประสิท ธิผ ล แล ะความ
พึง พอใจอยู่ใ นระดับ ปานกลาง
 พบว่า กิจกรรมประชาสัมพันธ์ที่ดำาเนินการ ในโครงการ “คืนคลอง
สวยใส ให้ชุมชนของเรา” จำานวน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรม “ล่องเรือ
ฟื้นฟูลำาคลอง ปราศจากนำ้าเสียด้วย Em Ball”(พื้นที่การรณรงค์
บริเวณคลองสามวาไปจนถึงคลองสองต้นนุ่น) และกิจกรรม “ธุรกิจ
ยุคใหม่ ใส่ใจลำาคลอง” (พื้นที่รณรงค์บริเวณเขตบึงกุ่ม เขตบางชัน
และเขตลาดกระบัง) ได้รับการประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง
      ปัญ หาและอุป สรรคจากการดำา เนิน โครงการบริก าร
วิช าการ
      1. การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็นสถานประกอบการขนาด
ใหญ่ ยังไม่ค่อยได้รับความร่วมมือเท่าที่ควรทั้งนี้เนื่องจากปัญหา
4


ด้านข้อมูลทางธุรกิจ และจะต้องรณรงค์ร่วมกับหน่วยงานของรัฐใน
การเข้าถึงผู้บริหารของสถานประกอบการที่มีอำานาจในการตัดสิน
ใจด้านนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการกำาจัดนำ้าเสีย ด้านสิ่งแวดล้อมและ
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์คลอง
      2. ปัญหาในด้านการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมของ
คนในชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลอง แต่ยัง
มีความเคยชินในการทิ้งขยะลงคลองและมีความคิดเห็นว่าการใช้
วิธีการต่าง ๆ เกี่ยวกับการบำาบัดนำ้าเสียก่อนทิ้งลงคลองเป็นเรื่องยุ่ง
ยาก เช่น การทำานำ้าหมักชีวภาพ (ต้องการให้นำาไปแจกจ่ายแต่ไม่
ต้องการทำาเอง) การทำาเครื่องกรองนำ้าเสียแบบง่าย ๆ (มองว่ายุ่ง
ยากในการหาวัสดุและน่าจะเป็นหน้าที่ของโรงงานในการนำาไปใช้)
การคัดแยกขยะในชุมชน (ต้องการให้สามารถคัดแยกแล้วนำาไป
ขายสร้างรายได้เป็นหลัก จึงจะไม่ทิ้งลงคลอง) เป็นต้น
      3. การขาดความต่อเนื่องของโครงการและกิจกรรมในการ
รณรงค์ในการอนุรักษ์คลอง ซึ่งส่วนใหญ่มีความเห็นว่ามีหน่วยงาน
ของรัฐ หรือหน่วยงานภายนอกมาจัดโครงการ ทำาให้ชุมชนตื่นตัว
แต่ขาดความต่อเนื่อง เนื่องจากระยะเวลาที่จำากัด และงบประมาณ
ทำาให้การรณรงค์ไม่ได้ผลเท่าที่ควรและชุมชนต้องการที่จะรวมตัว
กันระดมความเห็นต่อภาครัฐในด้านแนวทางการอนุรักษ์คลองแสน
แสบร่วมกัน
      4. การเข้าไปจัดกิจกรรมรณรงค์ในชุมชน ยังขาดแรงจูงใจ
ในการที่จะให้คนในชุมชนร่วมเป็นอาสาสมัคร จึงทำาให้ขาดความ
ร่วมมือที่ต่อเนื่อง เช่น การล่องเรือเก็บขยะ ฟื้นฟูลำาคลอง เป็นต้น
      5. หน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานที่รณรงค์ยังไม่ใช้วัน
อนุรักษ์คูคลองแห่งชาติ (20 กันยายนของทุกปี) ซึ่งเป็นวันพิเศษ
เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดกิจกรรมพิเศษ (Special Events)
อย่างเต็มที่ในการให้ความสำาคัญ การสร้างแรงจูงใจและสร้าง
กระแสในการรณรงค์ที่เกิดประสิทธิผล เช่น การมอบรางวัล การ
จัดกิจกรรมรณรงค์อนุรักษ์คลองที่ยิ่งใหญ่ เป็นต้น
      6. ในด้านกฎหมายเกี่ยวกับการไม่ทิ้งขยะลงคลอง ยังไม่มี
การดำาเนินการลงโทษหรือเอาผิดอย่างเป็นรูปธรรม ทำาให้ชาวบ้าน
ในชุมชนขาดความร่วมมือ

     ข้อ เสนอแนะที่ไ ด้จ ากการบริก ารวิช าการเพื่อ การบู
รณาการในการจัด การเรีย นการสอนรายวิช า PR.421
Professional Practicum in PR (การฝึก งานประชาสัม พัน ธ์ )
5


ในประเด็น การรณรงค์เ พื่อ อนุร ัก ษ์ส ิ่ง แวดล้อ ม : กรณีศ ึก ษา
คลองแสนแสบ
        เป็น การนำา ทฤษฎี KAP และ แนวคิด เกี่ย วกับ จิต สำา นึก
        ด้า นสิ่ง แวดล้อ ม มาใช้ใ นการประชาสัม พัน ธ์โ ครงการ
        บริก ารวิช าการ
        ซึ่งแนวคิดเรื่องจิตสำานึกต่อสิ่งแวดล้อม ได้กล่าวไว้ว่า เชื่อว่า
บุคคลที่มีจิตสำา นึกด้านสิ่งแวดล้อม คือบุคคลที่มีลักษณะของจิตที่มี
ทั้ ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก (Awareness) แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ
(Responsibility) รวมถึงการสร้างจิตสำา นึกด้านสิ่งแวดล้อมจะต้อง
สร้ า งทั ศ นคติ ที่ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ทุ ก คนเป็ น ผู้ ใ ช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกั น เป็ น
เจ้าของร่วมกัน ทั้งนี้การสร้างจิตสำานึกด้านสิ่งแวดล้อม จะต้องสร้าง
ความเข้าใจและความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง เพื่อให้บุคคล
หรื อ กลุ่ ม บุ ค คลได้ รั บ การปลู ก ฝั ง ให้ มี ค วามตระหนั ก ในปั ญ หาที่
เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ได้แก่


           1.  ความตระหนั ก (Awareness) เพื่ อ ให้ บุ ค คลหรื อ กลุ่ ม
               บุคคลมีความตระหนักและความรู้สึกไวต่อสิ่งแวดล้อมทั้ง
               ระบบ รวมถึงปัญหาที่เกี่ยวข้องด้วย
            2. ความรู้ ค วามเข้ า ใจ (Knowledge) เพื่ อ ให้ บุ ค คลหรื อ
กลุ่ ม สั ง คมมี ค วามเข้ า ใจพื้ น ฐานต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและปั ญ หาที่
เกี่ยวข้อง และแสดงความรับผิดชอบเพื่อเผชิญกับปัญหา
            3. ทัศนคติ(Attitude) เพื่อให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลมีค่านิยม
ทางสั ง คม มี ค วามรู้ สึ ก ที่ มั่ น คงต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มี แ รงจู ง ใจที่ จ ะให้
ความร่ ว มมื อ อย่ า งแข็ ง ขั น ในการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หาสิ่ ง
แวดล้อม
            4. ทักษะ(Skill) เพื่อให้บุคคลและกลุ่มบุคคลมีทักษะในการ
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
            5. ความสามารถในการประเมิ น ผล (Evaluation ability)
เพื่ อ ให้บุคคลและสั งคมสามารถประเมิ น เครื่ อ งมื อ ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม
และโปรแกรมด้ า นการศึ ก ษาในเรื่ อ ง นิ เ วศวิ ท ยา การเมื อ ง
เศรษฐกิจ สังคม จริยธรรม และปัจจัยทางการศึกษา
            6. การให้ ค วามร่ ว มมื อ (Participation) เพื่ อ ให้ บุ ค คลและ
กลุ่มบุคคลพัฒนาความรู้สึกของความรับ ผิด ชอบ และพิจารณาถึ ง
ปัญหาเร่งด่วนทางสิ่งแวดล้อมเพื่อให้แน่ใจว่ามีพฤติกรรมที่เหมาะ
สมในการแก้ปัญหาเหล่านั้น
6


        ดั ง นั้ น การวางแนวทางแก้ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม ควรให้ ค วาม
สำา คั ญต่อการปลุกจิต สำา นึ ก และพั ฒ นาจิ ต สำา นึ กให้ กับ ชุ ม ชน โดย
การสร้า งให้เกิด ความตระหนั ก ให้ ค วามรู้ สร้ างความเข้ าใจที่ ถู ก
ต้อง สร้างแรงจูงใจต่อการร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีทักษะ มี
ความสามารถต่อการประเมินสถานการณ์และหาแนวทางแก้ปัญหา
สิ่ งแวดล้อ ม ที่ สำา คัญ ต้อ งทำา ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น ต่ อ
การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม

        ข้อ เสนอแนะจากโครงการบริก ารวิช าการและการนำา
ศาสตร์ด ้า นการประชาสัม พัน ธ์ไ ปบูร ณาการเพื่อ ประยุก ต์
ใช้ใ นการรณรงค์ (จากการสัง เกตการณ์)
        1. ข้อ เสนอแนะเชิง นโยบาย
        1.1 การผนึก กำา ลัง ความร่ว มมือ ระหว่า งหน่ว ยงานต่า ง
   ๆ ในการรณรงค์
        ในการรณรงค์เกี่ยวกับการสร้างจิตสำานึกในการอนุรักษ์คลอง
แสนแสบ จากผลการวิจัยพบว่า การขอความร่วมมือไม่ค่อยได้ผล
เนื่องจากทำาไม่ต่อเนื่อง ในขณะที่ชุมชนต้องการ ดังนั้น ควรให้มี
ป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้
รั ก ษาความสะอาดคลอง ตลอดจนการผนึ ก กำา ลั ง ความร่ ว มมื อ
ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ภาครัฐ NGO สถาบันการศึกษา ที่มี
แนวทางการรณรงค์ เ ดี ย วกั น (โครงการคลองสวย นำ้า ใส-ของ
กรุ ง เทพมหานคร/โครงการรวมใจภั ก ดิ์ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบ-ของ
สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ นิ ด้ า / ชมรมคนรั ก คลองแสน
แสบ/ สร้ า งกระแสวั น อนุ รั ก ษ์ คู ค ลองแห่ ง ชาติ 20 กั น ยายน ให้ มี
บทบาทมากขึ้น) หรือสร้างเครือข่ายร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่ง
แวดล้ อ ม ทำา การรณรงค์ อ ย่ า งจริ ง จั ง ทั้ ง ในส่ ว นชุ ม ชน สถาน
ประกอบการ เช่น ทำา นำ้า หมักชีวภาพ (EM) การทำา ถังดักไขมัน
โดยมีการติดตามประเมินผล ตลอดจนการเดินรณรงค์ให้อนุรักษ์
คลองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการตื่นตัวในชุมชน
        ทั้งนี้ จากสภาพปัญหาพบว่ า หน่ว ยงานส่ว นใหญ่จ ะรณรงค์
ในลั ก ษณะของการแยกส่ ว น เช่ น ด้ า นประชาสั ม พั น ธ์ ด้ า น
กฎหมาย ด้านสถาปัตยกรรมการก่อสร้าง ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ซึ่ ง ควรมี ก ารนำา ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบนำา มา
หารื อ ร่ว มกั น แล้วผนึก กำา ลั งจั ด เป็ น โครงการใหญ่ (Big Project)
เพื่อให้เกิดพลังการพัฒนาในทุกภาคส่วนในทิศทางเดียวกัน
        1.2 ก า ร เ ข้ ม ง ว ด ข อ ง ม า ต ร ก า ร ท า ง ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ
   การไม่ท ิ้ง ขยะลงคลอง
7


       นอกจากประเด็นการขอความร่วมมือ ในการสร้ างจิตสำา นึก
หยุ ดทิ้งขยะลงนำ้า และการระบายนำ้า เสี ย ทั้ งจากบ้ า นเรื อ นลงคลอง
หน่ ว ยงานของรั ฐ ควรมีม าตรการทางกฎหมายเกี่ ย วกั บ การรั ก ษา
คลองที่เข้มงวดในสถานประกอบการต่าง ๆ เช่น โรงแรม ห้างร้าน
โรงงาน เป็นต้น และบ้านเรือน ที่พัก โดยมีประเด็นเสนอที่น่าสนใจ
ว่า การปลูก จิต สำา นึก อ าจต้อ งควบคู่ไ ปกับ การให้ร ู้โ ท ษท าง
กฎหมายที่เ ข้ม งวด เกี่ยวกับการทิ้งขยะและนำ้าเสียลงลำาคลอง เพื่อ
เร่ ง ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมความร่ ว มมื อ ได้ อี ก ทางหนึ่ ง ว่ า หากละเมิ ด
กฎหมายจะต้ อ งถู ก ปรั บ หรื อ โทษอย่ า งไรและมี ก ารจั บ ปรั บ อย่ า ง
จริงจัง
       1.3 ก า ร อำา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร กำา จั ด ข ย ะ แ ล ะ
             สุข ลัก ษณะในชุม ชน
       ชาวบ้านบางส่วนยังมีพฤติกรรมทิ้งขยะและไม่ถูกสุขลักษณะ
ในชุมชน ทำาให้เกิดความสกปรกและทิ้งขยะลงคลอง เพราะชุมชน
ค่ อ นข้ า งแคบ การเข้ า ไปเก็ บ ขยะของหน่ ว ยงานของรั ฐ ไม่ ทั่ ว ถึ ง
นาน ๆ ครั้ง ทำาให้การขนย้ายเพื่อนำาออกไปทิ้งภายนอกลำาบาก ถัง
ขยะมีไม่เพียงพอ จึงทำาให้ชาวบ้านส่วนหนึ่งเกิดพฤติกรรมการทิ้ง
ขยะ ไม่รักษาความสะอาดในชุมชนและคลอง เป็นต้น

       1.4 การส ร้า งเ ครือ ข่า ย แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ปัญ ห า กับ ผู้น ำา
ชุม ชน
       ปั ญ หาของการขาดจิ ต สำา นึ ก ไม่ ใ ช่ ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากระดั บ
ปัจเจกบุคคลโดยตรงเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปัญหาที่เชื่อมโยงจาก
ระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้ทำา หน้าที่ที่เพียงพอและเหมาะสม
ซึ่งชุมชนต้องการสะท้อนความคิดและความต้องการในการรณรงค์
ไปยั ง หน่ ว ยงานของรั ฐ และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
รณรงค์ ดังนั้นการแก้ปัญหาต้องไม่มองข้ามองค์การ หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องด้วย กล่าวคือควรมีการเชื่อมโยงกันที่ทำา ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
เกิ ด ความรู้ ความเข้ า ใจ และตระหนั ก ในการทำา หน้ า ที่ อ ย่ า งมี
จิตสำานึกต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เช่น องค์การปกครองส่วนท้อง
ถิ่นภาครัฐ (อบต. อบจ. อุตสาหกรรมจังหวัด เป็นต้น ) องค์กรภาค
เอกชนที่ มี ส่ ว นทำา ให้ นำ้า เน่ า เสี ย (เจ้ า ของโรงสี เจ้ า ของโรงงาน
เป็ น ต้ น ) ชุ ม ชน สถาบั น ศาสนา สถานศึ ก ษา สถานประกอบการ
หน่วยงานของรัฐ นักวิชาการ เพื่อร่วมกันกำาหนดแนวทางในการ
รณรงค์ ใ นทิ ศ ทางเดี ย วกั น และก่ อ ให้ เ กิ ด การปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ น รู ป
ธรรม
8


       1.5 ความต่อ เนื่อ งแล ะการนำา ผ ล กา รป ระ เมิน มา ใช้ใ น
การรณรงค์
       มี ห น่ ว ยงานโครงการต่ า ง ๆ เข้ า มารณรงค์ เ กี่ ย วกั บ การ
อนุรักษ์คลองแสนแสบ แต่ขาดความต่อเนื่องและการประเมิ นผลอ
ย่างจริงจัง จึงทำาให้การรณรงค์ไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควรเพราะ
เป็ น การกระตุ้ น จิ ต สำา นึ ก เพี ย งระยะเวลาสั้ น ๆ ทั้ ง ด้ า นการใช้ สื่ อ
ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละการจั ด กิ จ กรรม ดั ง นั้ น จึ ง ควรมี ก ารประเมิ น
ประสิทธิผลของโครงการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อนำามาใช้
ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง รู ป แ บ บ เ นื้ อ ห า ส า ร ก ล ยุ ท ธ์ ก ล วิ ธี สื่ อ
ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละกิ จ กรรมประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ มี ค วามเหมาะสม
สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย สถานการณ์ที่เป็นจริงในการรณรงค์

      2. ข้อ เสนอแนะเชิง ปฏิบ ัต ิ
      2.1 การสื่อ ความหมายในเชิง เนื้อ หาการรณรงค์ท ี่
เข้า ใจง่า ย ใกล้ต ัว และ สร้า งการมีส ่ว นร่ว ม
      ในการจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ไม่ควรที่จะมี
ลักษณะอุดมคติ หรือทำาให้เกิดความเข้าใจยาก เช่น ศัพท์ทาง
วิชาการ เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ส่วน
ใหญ่ เช่น ชาวบ้านในชุมชน ต้องการให้สื่อความหมายด้วยภาษา
และรูปภาพที่เข้าใจง่ายว่าต้องการที่จะให้ทำาอะไร อย่างไร (How
to) จึงจะเกิดผลในด้านความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม
(Knowledge-Attitude-Practice) ในการอนุรักษ์คลองแสนแสบ
ตลอดจนใช้จิตวิทยาการสื่อสารทำาให้เห็นผลกระทบที่ใกล้ตัว เช่น
การทิ้งขยะลงคลองเกิดผลกระทบที่อันตรายต่อชีวิตของชาวบ้าน
อย่างไร กลิ่นเหม็น โรคภัยไข้เจ็บ โทษและพิษภัยต่าง ๆ ที่จะได้รับ
เป็นต้น ตลอดจนสร้างความมีส่วนร่วม เช่น “ชุมชนรักคลอง” “ร่วม
มือร่วมใจรักษาคลองแสนแสบ” เป็นต้น
      นอกจากนี้ สือประชาสัมพันธ์ควรที่จะมีการแยกกลุ่มเป้าหมาย
                  ่
อย่างชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากการใช้เนื้อหาและการนำาเสนอข้อมูล
รูปภาพ มีความแตกต่างกัน เช่น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นชาวบ้านริม
คลอง ชาวบ้านที่อยู่ในชุมชน (แต่ไม่ติดบริเวณริมคลอง) เป็นต้น
      ส่วนในด้านชื่อของโครงการรณรงค์ หรือข้อความควรที่จะ
ระบุว่า “คลองแสนแสบ” เพื่อให้ชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากการใช้คำาว่า
“คลอง” จะกว้างมากเกินไป และไม่ควรระบุคำาว่า โครงการ เพราะ
ชาวบ้านในชุมชนมองว่าเป็นทางการมากเกินไป
      การนำาเสนอภาพประกอบการรณรงค์ ควรใช้เป็นภาพจริง
ของปัญหามลพิษคลองแสนแสบในปัจจุบัน ตลอดจนเปรียบเทียบ
9


ให้เห็นถึงสภาพคลองแสนแสบในอดีตกับปัจจุบัน เพื่อให้เห็นความ
แตกต่าง และเป็นแรงจูงใจในการร่วมมือกันอนุรักษ์ฟื้นฟูคลองแสน
แสบให้กลับมาสะอาดใสเหมือนเดิม
         2.2 การจูง ใจโดยใช้ร างวัล ล่อ ใจ หรือ การยอมรับ
         ในการจัดกิจกรรมรณรงค์ ถ้าจะให้ได้ผลความร่วมมืออย่าง
รวดเร็วอาจต้องใช้แรงจูงใจโดยใช้รางวัล หรือรายได้ ผล
ประโยชน์ที่จะได้รับหากให้ความร่วมมือ เช่น ชาวบ้านต้องการที่
จะทำานำ้าหมักชีวภาพ นำาไปใช้และนำาไปขายได้ การสร้างรายได้
ในชุมชน การคัดแยกขยะในชุมชน ธนาคารขยะ สามารถขายขยะ
ประเภทต่าง ๆ เพื่อสร้างรายได้ให้ครอบครัว ก็จะไม่ทิ้งขยะลง
คลอง หรือสถานประกอบการอาจต้องใช้การมอบรางวัลสถาน
ประกอบการรักคลอง ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ
หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (ต้องใช้ความร่วมมือร่วมกับหน่วยงาน
รัฐ มิฉะนั้นจะไม่ได้รับความร่วมมือในระดับนโยบายและปฏิบัติการ
ตลอดจนการให้ข้อมูล) มอบใบประกาศเกียรติคุณขอความร่วมมือ
กับสถานประกอบการขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ และโรงงาน ร่วมกับ
แนวคิดการสร้างภาพลักษณ์ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อ
สังคม (Corporate Social Responsibility :CSR) เพื่อให้เกิดการ
ยอมรับ
         2.3 การปลูก ฝัง จิต สำา นึก แบบมีส ่ว นร่ว มด้า นสิ่ง
แวดล้อ ม โดยเฉพาะกลุ่ม เยาวชน
         จากการประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลกิ จ กรรม ผลการวิ จั ย พบว่ า
เยาวชนเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ สำา คั ญ ในการปลู ก ฝั ง จิ ต สำา นึ ก ด้ า นสิ่ ง
แวดล้อมให้รักและหวงแหนลำา คลอง ทั้งนี้เนื่อ งจากมี ค วามสนใจ
กระตือรือร้นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไป และเป็นผู้มี
อิ ท ธิ พ ลที่ สำา คั ญ ในการสร้ า งทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมการอนุ รั ก ษ์
คลองแสนแสบให้พ่อ แม่และคนในครอบครัวโดยทางอ้อม ดังนั้น
การใช้ แ นวทางการสื่ อ สารแบบมี ส่ ว นร่ ว มโดยสื่ อ สารเรื่ อ งการ
อนุรั กษ์ในลักษณะปลูกฝั งผ่ านโรงเรี ย นแก่ เด็ กนั ก เรี ย นในชุ ม ชน
เช่น การทำานำ้าหมักชีวภาพ การรักษาลำาคลองง่าย ๆ การไม่ทิ้งนำ้า
เสียหรือขยะลงคลองหรืออาจร่วมกับชุมชนในการล่องเรือเก็บขยะ
การขุดลอกผักตบชวา เป็นต้น แล้วกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารบอก
ต่อระหว่างนักเรียนสู่ครอบครัวในชุมชนเพื่อให้เกิดจิตสำานึกด้านสิ่ง
แวดล้อมร่วมกันที่ได้ผลดีอีกทางหนึ่ง
          2.4 ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ร่ ว ม กั บ
ชุม ชน
10


        ควรที่จะเข้าไปจัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับชุมชนและดึงความ
ร่วมมือของผู้นำาชุมชน ชาวบ้านในชุมชนเข้ามาร่วมกับกิจกรรมให้
มากที่สุด เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น การล่องเรือเก็บขยะ ฟื้นฟู
คลอง การทำาความสะอาดในชุมชน การเดินรณรงค์ต้องมีการจัด
อย่างต่อเนื่อง และควรใช้สื่อบุคคลเป็นสื่อหลัก เช่น นักศึกษา นัก
วิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐ เข้าไปกระตุ้นจัดกิจกรรมรณรงค์ในชุมชน
เพราะชาวบ้านจะให้ความสนใจมากว่ามีคนมีความรู้ไปบอกก็จะทำา
ตาม ทั้งนี้โดยใช้การแจกสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ เช่น แผ่นพับ
โปสเตอร์ ใบปลิว ให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลองเป็นสื่อรอง
เพราะชาวบ้านในชุมชนจะไม่ค่อยอ่านทำาความเข้าใจเอง ต้อง
อธิบายร่วมกับการจัดกิจกรรม จึงจะให้ความสนใจ นอกจากนี้ชาว
บ้านบางคนอ่านหนังสือไม่ออก ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการรณรงค์อีก
ด้วย
        2.5 ก า ร ใ ช้ เ นื้ อ ห า ส า ร เ พื่ อ ร ณ ร ง ค์ ส ร้ า ง ค ว า ม รั ก
หวงแหนและทดแทนบุญ คุณ คลอง
        เนื่องจากลำา คลองเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และยังมีความใส
สะอาด ซึ่งมีเพียงส่วนน้อยที่ทิ้งขยะลงคลองและปล่อยนำ้าเสีย ดังนั้น
เนื้ อ หาสารที่ ใ ช้ ใ นการรณรงค์ จึ ง ยั ง ควรต้ อ งมี เ นื้ อ หาที่ ส ามารถ
สร้ า งความรู้สึ กรั ก และหวงแหนลำา คลองเสมื อ นเป็ น สมบั ติ ร่ ว มกั น
ช่วยกันรักษา ดูแล สอดส่องให้นำ้าในคลองสะอาดไม่ทำาให้นำ้าเสีย
หากนำ้า ในลำา คลองสะอาดส่งผลถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนด้วย
นอกจากนี้คลองแสนแสบยังมีบุญคุณในการช่วยผันนำ้าช่วงอุทกภัย
มีความสำา คัญต่อชีวิตของชุมชนอย่างเห็นได้ชัด เพราะต้องพึ่ งพา
อาศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้นชุมชนและทุกฝ่ายจึงควรช่วยกันอนุรักษ์
คลองแสนแสบต่อไป

       ข้อ เสนอแนะเกี่ย วกับ การบูร ณาการโครงการบริก าร
วิช าการเพื่อ ขยายผลกับ งานวิจ ัย ครั้ง ต่อ ไป
       การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม จิตสำานึกการ
อนุรักษ์คลองแสนแสบ ต้องนำาผลการวิจัยมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างให้
เหมาะสมเพื่อกำาหนดกรอบในการรณรงค์ให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้า
หมายแต่ละพื้นที่ ซึ่งหากเป็นสถานประกอบการ งานวิจัยอาจต้อง
เฉพาะเจาะจงเฉพาะกลุ่มเพื่อประกอบการวางแผนรณรงค์
ประชาสัมพันธ์การใช้สื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้มีความ
เหมาะสม มีการทำาวิจัยและประเมินผลของการสื่อสารอย่าง
สมำ่าเสมอ ในด้านการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม
เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลอง ของกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เช่น ชาวบ้าน
11


ในชุมชน นักเรียน เป็นต้น และมีการวิจัยประเมินประสิทธิผลของ
สื่อประชาสัมพันธ์ประเภทอื่นๆ นอกเหนือจากโปสเตอร์ แผ่นพับ
ใบปลิว ป้ายรณรงค์ และป้ายผ้า เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาสื่อ
ประชาสัมพันธ์ที่มีความหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับกลุ่ม
เป้าหมาย

                      ******************

More Related Content

Similar to องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green Weerachat Martluplao
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวFURD_RSU
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 

Similar to องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา” (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยนู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลนู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
Pf
PfPf
Pf
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
 

องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”

  • 1. การถ่า ยทอดองค์ค วามรู้โ ครงการบริก ารวิช าการ กรณีศ ึก ษา ผลการสัง เกตการณ์โ ครงการพีอ าร์ร ัก ษ์ส ิ่ง แวดล้อ ม โครงการ “คืน คลองสวยใส ให้ช ุม ชนของเรา ” (ธัน วาคม 2554 – กุม ภาพัน ธ์ 2555) สาขาวิช าการประชาสัม พัน ธ์ ร่ว มกับ สาขาวิช า วารสารศาสตร์แ ละสื่อ ใหม่ คณะนิเ ทศศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เกษมบัณ ฑิต โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา ” เป็นการ ดำาเนินงานโดยสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชา วารสารศาสตร์และสื่อใหม่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต ภายใต้โครงการพีอาร์รักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการผนึก กำาลังในการจัดโครงการบริการวิชาการเพื่อบำาเพ็ญประโยชน์และให้ ความรู้แก่ชุมชนและเยาวชน เป็นการปลูกจิตสำานึกให้คนในชุมชน ตระหนักถึงความสำาคัญของคลองที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมาช้า นาน ซึ่งลำาคลองได้ให้ประโยชน์หลายอย่าง อาทิเช่น คมนาคม ทำา เกษตร หาปลาเพื่อเลี้ยงชีพ เป็นต้น คนในชุมชนควรร่วมกันดูแล และพัฒนาคลองแสนแสบที่มีความสำาคัญในอดีตให้กลับมามีสภาพที่ดี ขึ้นอีกครั้ง เพื่อเป็นการทดแทนบุญคุณและสร้างคุณภาพชีวิตของ ชุมชนบริเวณคลองแสนแสบให้ได้พึ่งพาอาศัยกันเปรียบเป็นสายนำ้า แห่งชีวิตที่มีคุณค่าสืบไป อีกทั้งเป็นโครงการต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสังคม ชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • 2. 2 โครงการดังกล่าวเป็นผลจากการสังเกตการณ์การจัดโครงการ บริ ก ารวิ ช าการ โดยการบู ร ณาการกั บ การวิ จั ย เรื่ อ ง การประเมิ น ประสิทธิผลการประชาสัมพันธ์ โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชน ของเรา” (โครงการนำา ร่อ ง : Pilot Project) โครงการศึ กษาคุ ณ ภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนบริเวณริมคลองแสนแสบ โครงการจิตต์ รักษ์คลองแสนแสบ ปีที่ 2 และการบูรณาการความรู้กับการเรียนการ ส อ น ด้ า น ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ใ น ร า ย วิ ช า PR.421 Professional Practicum in PR (การฝึ ก งานประชาสั ม พั น ธ์ ) ซึ่ ง พบประเด็ น ที่ น่ า สนใจดังนี้ ข้อ เสนอแนะ ซึ่ง เป็น ความรู้ด ้า นการประชาสัม พัน ธ์ท ี่ไ ด้ จากการจัด โครงการบริก ารวิช าการ 1. สื่อประชาสัมพันธ์ (สิ่งพิมพ์) ควรเป็นส่วนประกอบ เพื่อขยายการ รับรู้หลังจากการทำากิจกรรม 2. ควรสร้างการตระหนักในเรื่องจิตสำานึกสาธารณะให้บุคคลแต่ละ กลุ่มในการรู้สึกรักสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อย่างจริงจัง 3. ควรลำาดับประเด็นที่ทำาได้ง่ายก่อน โดยชูเป็นเรื่องแรกที่จะดำาเนิน การ เพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติตามได้จริง เช่น ไม่ทิ้งขยะ... 4. เนื้อหาควรชี้ให้เห็นคุณและโทษภัยจากการทิ้งขยะหรือการ ละเลย ไม่ดูแลคลอง เพื่อกระตุ้นจิตสำานึกของคนทั่วไป 5. ควรมุ่งทำากิจกรรมลงพื้นที่ ให้ใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมายหลัก โดย เฉพาะคนริมนำ้า และสร้างการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง ระยะ ยาว 6. รูปแบบกิจกรรมควรเสริมแรงจูงใจให้เข้าร่วม เช่น การชิงโชค หรือต่อยอดในเชิงรายได้เสริม ฯลฯ 7. ควรมีหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบหลักในการดำาเนินงาน อย่างต่อเนื่อง เป็นแผนระยะยาว 8. ควรยกย่องเชิดชูชุมชนตัวอย่างที่ประสบความสำาเร็จ และเสริม สร้างกิจกรรมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนด้วยกัน 9. ควรจำาแนกความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมให้ชัดเจน ของคน แต่ละกลุ่มให้ชัดเจน ว่ากลุ่มไหนสามารถดำาเนินงานช่วยเหลือหรือ เสริมสร้างในส่วนใดอย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อช่วยกำาหนดรูปแบบ การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์รณรงค์ได้ง่ายยิ่งขึ้น
  • 3. 3 10. ควรมุ่งสื่อสารไปยังผู้นำาชุมชน และผลักดัน สนับสนุนความเข้ม แข็งของชุมชนนั้นๆ ให้สามารถดำาเนินการต่อเนื่องอย่างจริงจังได้ ต่อไป 11. มาตรการกำากับ ควบคุม ทางกฎหมาย ควรดำาเนินการอย่างเข้ม งวด เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติตามสร้างการมีส่วนร่วมและร่วม มือร่วมใจระหว่างภาคสังคม ชุมชน และเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง โดยตรง ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม ป ร ะ ช า สัม พัน ธ์ โ ค ร ง ก า ร “คืน ค ล อ ง ส ว ย ใ ส ใ ห้ช ุม ช น ข อ ง เรา” สามารถสรุป ประเด็น ที่น ่า สนใจได้ด ัง นี้ 1.1 กิ จ ก ร ร ม ที่ ไ ด้ ร ั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล อ ยู่ ใ น ระดับ มาก พบว่า กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ถือเป็นกิจกรรมพิเศษ (Special Events) ที่ไ ด้รั บความสนใจจากกลุ่ ม เป้ า หมายและชุ ม ชนในการ รณรงค์ ใ ห้ อ นุ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบ ซึ่ ง กิ จ กรรมที่ ดำา เนิ น การ ใน โครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา” จำา นวน 2 กิจกรรม คือ กิจ กรรม “รักนะคลองแสนแสบ”(พื้นที่การรณรงค์ โรงเรีย นวัด เทพลีลา) และกิจกรรม “ร่วมฝัน นำ้า ใส ให้เทพลีลา” (พื้นที่รณรงค์ บริเวณชุมชนเทพลีลา) ได้รับการประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ประเมินจากการได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากชุมชน และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ 1.2 กิจ กรรมที่ไ ด้ร ับ การประเมิน ประสิท ธิผ ล แล ะความ พึง พอใจอยู่ใ นระดับ ปานกลาง พบว่า กิจกรรมประชาสัมพันธ์ที่ดำาเนินการ ในโครงการ “คืนคลอง สวยใส ให้ชุมชนของเรา” จำานวน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรม “ล่องเรือ ฟื้นฟูลำาคลอง ปราศจากนำ้าเสียด้วย Em Ball”(พื้นที่การรณรงค์ บริเวณคลองสามวาไปจนถึงคลองสองต้นนุ่น) และกิจกรรม “ธุรกิจ ยุคใหม่ ใส่ใจลำาคลอง” (พื้นที่รณรงค์บริเวณเขตบึงกุ่ม เขตบางชัน และเขตลาดกระบัง) ได้รับการประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง ปัญ หาและอุป สรรคจากการดำา เนิน โครงการบริก าร วิช าการ 1. การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็นสถานประกอบการขนาด ใหญ่ ยังไม่ค่อยได้รับความร่วมมือเท่าที่ควรทั้งนี้เนื่องจากปัญหา
  • 4. 4 ด้านข้อมูลทางธุรกิจ และจะต้องรณรงค์ร่วมกับหน่วยงานของรัฐใน การเข้าถึงผู้บริหารของสถานประกอบการที่มีอำานาจในการตัดสิน ใจด้านนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการกำาจัดนำ้าเสีย ด้านสิ่งแวดล้อมและ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์คลอง 2. ปัญหาในด้านการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมของ คนในชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลอง แต่ยัง มีความเคยชินในการทิ้งขยะลงคลองและมีความคิดเห็นว่าการใช้ วิธีการต่าง ๆ เกี่ยวกับการบำาบัดนำ้าเสียก่อนทิ้งลงคลองเป็นเรื่องยุ่ง ยาก เช่น การทำานำ้าหมักชีวภาพ (ต้องการให้นำาไปแจกจ่ายแต่ไม่ ต้องการทำาเอง) การทำาเครื่องกรองนำ้าเสียแบบง่าย ๆ (มองว่ายุ่ง ยากในการหาวัสดุและน่าจะเป็นหน้าที่ของโรงงานในการนำาไปใช้) การคัดแยกขยะในชุมชน (ต้องการให้สามารถคัดแยกแล้วนำาไป ขายสร้างรายได้เป็นหลัก จึงจะไม่ทิ้งลงคลอง) เป็นต้น 3. การขาดความต่อเนื่องของโครงการและกิจกรรมในการ รณรงค์ในการอนุรักษ์คลอง ซึ่งส่วนใหญ่มีความเห็นว่ามีหน่วยงาน ของรัฐ หรือหน่วยงานภายนอกมาจัดโครงการ ทำาให้ชุมชนตื่นตัว แต่ขาดความต่อเนื่อง เนื่องจากระยะเวลาที่จำากัด และงบประมาณ ทำาให้การรณรงค์ไม่ได้ผลเท่าที่ควรและชุมชนต้องการที่จะรวมตัว กันระดมความเห็นต่อภาครัฐในด้านแนวทางการอนุรักษ์คลองแสน แสบร่วมกัน 4. การเข้าไปจัดกิจกรรมรณรงค์ในชุมชน ยังขาดแรงจูงใจ ในการที่จะให้คนในชุมชนร่วมเป็นอาสาสมัคร จึงทำาให้ขาดความ ร่วมมือที่ต่อเนื่อง เช่น การล่องเรือเก็บขยะ ฟื้นฟูลำาคลอง เป็นต้น 5. หน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานที่รณรงค์ยังไม่ใช้วัน อนุรักษ์คูคลองแห่งชาติ (20 กันยายนของทุกปี) ซึ่งเป็นวันพิเศษ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดกิจกรรมพิเศษ (Special Events) อย่างเต็มที่ในการให้ความสำาคัญ การสร้างแรงจูงใจและสร้าง กระแสในการรณรงค์ที่เกิดประสิทธิผล เช่น การมอบรางวัล การ จัดกิจกรรมรณรงค์อนุรักษ์คลองที่ยิ่งใหญ่ เป็นต้น 6. ในด้านกฎหมายเกี่ยวกับการไม่ทิ้งขยะลงคลอง ยังไม่มี การดำาเนินการลงโทษหรือเอาผิดอย่างเป็นรูปธรรม ทำาให้ชาวบ้าน ในชุมชนขาดความร่วมมือ ข้อ เสนอแนะที่ไ ด้จ ากการบริก ารวิช าการเพื่อ การบู รณาการในการจัด การเรีย นการสอนรายวิช า PR.421 Professional Practicum in PR (การฝึก งานประชาสัม พัน ธ์ )
  • 5. 5 ในประเด็น การรณรงค์เ พื่อ อนุร ัก ษ์ส ิ่ง แวดล้อ ม : กรณีศ ึก ษา คลองแสนแสบ เป็น การนำา ทฤษฎี KAP และ แนวคิด เกี่ย วกับ จิต สำา นึก ด้า นสิ่ง แวดล้อ ม มาใช้ใ นการประชาสัม พัน ธ์โ ครงการ บริก ารวิช าการ ซึ่งแนวคิดเรื่องจิตสำานึกต่อสิ่งแวดล้อม ได้กล่าวไว้ว่า เชื่อว่า บุคคลที่มีจิตสำา นึกด้านสิ่งแวดล้อม คือบุคคลที่มีลักษณะของจิตที่มี ทั้ ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก (Awareness) แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ (Responsibility) รวมถึงการสร้างจิตสำา นึกด้านสิ่งแวดล้อมจะต้อง สร้ า งทั ศ นคติ ที่ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ทุ ก คนเป็ น ผู้ ใ ช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกั น เป็ น เจ้าของร่วมกัน ทั้งนี้การสร้างจิตสำานึกด้านสิ่งแวดล้อม จะต้องสร้าง ความเข้าใจและความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง เพื่อให้บุคคล หรื อ กลุ่ ม บุ ค คลได้ รั บ การปลู ก ฝั ง ให้ มี ค วามตระหนั ก ในปั ญ หาที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ได้แก่ 1. ความตระหนั ก (Awareness) เพื่ อ ให้ บุ ค คลหรื อ กลุ่ ม บุคคลมีความตระหนักและความรู้สึกไวต่อสิ่งแวดล้อมทั้ง ระบบ รวมถึงปัญหาที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ความรู้ ค วามเข้ า ใจ (Knowledge) เพื่ อ ให้ บุ ค คลหรื อ กลุ่ ม สั ง คมมี ค วามเข้ า ใจพื้ น ฐานต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและปั ญ หาที่ เกี่ยวข้อง และแสดงความรับผิดชอบเพื่อเผชิญกับปัญหา 3. ทัศนคติ(Attitude) เพื่อให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลมีค่านิยม ทางสั ง คม มี ค วามรู้ สึ ก ที่ มั่ น คงต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มี แ รงจู ง ใจที่ จ ะให้ ความร่ ว มมื อ อย่ า งแข็ ง ขั น ในการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หาสิ่ ง แวดล้อม 4. ทักษะ(Skill) เพื่อให้บุคคลและกลุ่มบุคคลมีทักษะในการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 5. ความสามารถในการประเมิ น ผล (Evaluation ability) เพื่ อ ให้บุคคลและสั งคมสามารถประเมิ น เครื่ อ งมื อ ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม และโปรแกรมด้ า นการศึ ก ษาในเรื่ อ ง นิ เ วศวิ ท ยา การเมื อ ง เศรษฐกิจ สังคม จริยธรรม และปัจจัยทางการศึกษา 6. การให้ ค วามร่ ว มมื อ (Participation) เพื่ อ ให้ บุ ค คลและ กลุ่มบุคคลพัฒนาความรู้สึกของความรับ ผิด ชอบ และพิจารณาถึ ง ปัญหาเร่งด่วนทางสิ่งแวดล้อมเพื่อให้แน่ใจว่ามีพฤติกรรมที่เหมาะ สมในการแก้ปัญหาเหล่านั้น
  • 6. 6 ดั ง นั้ น การวางแนวทางแก้ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม ควรให้ ค วาม สำา คั ญต่อการปลุกจิต สำา นึ ก และพั ฒ นาจิ ต สำา นึ กให้ กับ ชุ ม ชน โดย การสร้า งให้เกิด ความตระหนั ก ให้ ค วามรู้ สร้ างความเข้ าใจที่ ถู ก ต้อง สร้างแรงจูงใจต่อการร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีทักษะ มี ความสามารถต่อการประเมินสถานการณ์และหาแนวทางแก้ปัญหา สิ่ งแวดล้อ ม ที่ สำา คัญ ต้อ งทำา ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น ต่ อ การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ข้อ เสนอแนะจากโครงการบริก ารวิช าการและการนำา ศาสตร์ด ้า นการประชาสัม พัน ธ์ไ ปบูร ณาการเพื่อ ประยุก ต์ ใช้ใ นการรณรงค์ (จากการสัง เกตการณ์) 1. ข้อ เสนอแนะเชิง นโยบาย 1.1 การผนึก กำา ลัง ความร่ว มมือ ระหว่า งหน่ว ยงานต่า ง ๆ ในการรณรงค์ ในการรณรงค์เกี่ยวกับการสร้างจิตสำานึกในการอนุรักษ์คลอง แสนแสบ จากผลการวิจัยพบว่า การขอความร่วมมือไม่ค่อยได้ผล เนื่องจากทำาไม่ต่อเนื่อง ในขณะที่ชุมชนต้องการ ดังนั้น ควรให้มี ป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้ รั ก ษาความสะอาดคลอง ตลอดจนการผนึ ก กำา ลั ง ความร่ ว มมื อ ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ภาครัฐ NGO สถาบันการศึกษา ที่มี แนวทางการรณรงค์ เ ดี ย วกั น (โครงการคลองสวย นำ้า ใส-ของ กรุ ง เทพมหานคร/โครงการรวมใจภั ก ดิ์ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบ-ของ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ นิ ด้ า / ชมรมคนรั ก คลองแสน แสบ/ สร้ า งกระแสวั น อนุ รั ก ษ์ คู ค ลองแห่ ง ชาติ 20 กั น ยายน ให้ มี บทบาทมากขึ้น) หรือสร้างเครือข่ายร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่ง แวดล้ อ ม ทำา การรณรงค์ อ ย่ า งจริ ง จั ง ทั้ ง ในส่ ว นชุ ม ชน สถาน ประกอบการ เช่น ทำา นำ้า หมักชีวภาพ (EM) การทำา ถังดักไขมัน โดยมีการติดตามประเมินผล ตลอดจนการเดินรณรงค์ให้อนุรักษ์ คลองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการตื่นตัวในชุมชน ทั้งนี้ จากสภาพปัญหาพบว่ า หน่ว ยงานส่ว นใหญ่จ ะรณรงค์ ในลั ก ษณะของการแยกส่ ว น เช่ น ด้ า นประชาสั ม พั น ธ์ ด้ า น กฎหมาย ด้านสถาปัตยกรรมการก่อสร้าง ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่ ง ควรมี ก ารนำา ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ ค ลองแสนแสบนำา มา หารื อ ร่ว มกั น แล้วผนึก กำา ลั งจั ด เป็ น โครงการใหญ่ (Big Project) เพื่อให้เกิดพลังการพัฒนาในทุกภาคส่วนในทิศทางเดียวกัน 1.2 ก า ร เ ข้ ม ง ว ด ข อ ง ม า ต ร ก า ร ท า ง ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ การไม่ท ิ้ง ขยะลงคลอง
  • 7. 7 นอกจากประเด็นการขอความร่วมมือ ในการสร้ างจิตสำา นึก หยุ ดทิ้งขยะลงนำ้า และการระบายนำ้า เสี ย ทั้ งจากบ้ า นเรื อ นลงคลอง หน่ ว ยงานของรั ฐ ควรมีม าตรการทางกฎหมายเกี่ ย วกั บ การรั ก ษา คลองที่เข้มงวดในสถานประกอบการต่าง ๆ เช่น โรงแรม ห้างร้าน โรงงาน เป็นต้น และบ้านเรือน ที่พัก โดยมีประเด็นเสนอที่น่าสนใจ ว่า การปลูก จิต สำา นึก อ าจต้อ งควบคู่ไ ปกับ การให้ร ู้โ ท ษท าง กฎหมายที่เ ข้ม งวด เกี่ยวกับการทิ้งขยะและนำ้าเสียลงลำาคลอง เพื่อ เร่ ง ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมความร่ ว มมื อ ได้ อี ก ทางหนึ่ ง ว่ า หากละเมิ ด กฎหมายจะต้ อ งถู ก ปรั บ หรื อ โทษอย่ า งไรและมี ก ารจั บ ปรั บ อย่ า ง จริงจัง 1.3 ก า ร อำา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร กำา จั ด ข ย ะ แ ล ะ สุข ลัก ษณะในชุม ชน ชาวบ้านบางส่วนยังมีพฤติกรรมทิ้งขยะและไม่ถูกสุขลักษณะ ในชุมชน ทำาให้เกิดความสกปรกและทิ้งขยะลงคลอง เพราะชุมชน ค่ อ นข้ า งแคบ การเข้ า ไปเก็ บ ขยะของหน่ ว ยงานของรั ฐ ไม่ ทั่ ว ถึ ง นาน ๆ ครั้ง ทำาให้การขนย้ายเพื่อนำาออกไปทิ้งภายนอกลำาบาก ถัง ขยะมีไม่เพียงพอ จึงทำาให้ชาวบ้านส่วนหนึ่งเกิดพฤติกรรมการทิ้ง ขยะ ไม่รักษาความสะอาดในชุมชนและคลอง เป็นต้น 1.4 การส ร้า งเ ครือ ข่า ย แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ปัญ ห า กับ ผู้น ำา ชุม ชน ปั ญ หาของการขาดจิ ต สำา นึ ก ไม่ ใ ช่ ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากระดั บ ปัจเจกบุคคลโดยตรงเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปัญหาที่เชื่อมโยงจาก ระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้ทำา หน้าที่ที่เพียงพอและเหมาะสม ซึ่งชุมชนต้องการสะท้อนความคิดและความต้องการในการรณรงค์ ไปยั ง หน่ ว ยงานของรั ฐ และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ รณรงค์ ดังนั้นการแก้ปัญหาต้องไม่มองข้ามองค์การ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องด้วย กล่าวคือควรมีการเชื่อมโยงกันที่ทำา ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง เกิ ด ความรู้ ความเข้ า ใจ และตระหนั ก ในการทำา หน้ า ที่ อ ย่ า งมี จิตสำานึกต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เช่น องค์การปกครองส่วนท้อง ถิ่นภาครัฐ (อบต. อบจ. อุตสาหกรรมจังหวัด เป็นต้น ) องค์กรภาค เอกชนที่ มี ส่ ว นทำา ให้ นำ้า เน่ า เสี ย (เจ้ า ของโรงสี เจ้ า ของโรงงาน เป็ น ต้ น ) ชุ ม ชน สถาบั น ศาสนา สถานศึ ก ษา สถานประกอบการ หน่วยงานของรัฐ นักวิชาการ เพื่อร่วมกันกำาหนดแนวทางในการ รณรงค์ ใ นทิ ศ ทางเดี ย วกั น และก่ อ ให้ เ กิ ด การปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม
  • 8. 8 1.5 ความต่อ เนื่อ งแล ะการนำา ผ ล กา รป ระ เมิน มา ใช้ใ น การรณรงค์ มี ห น่ ว ยงานโครงการต่ า ง ๆ เข้ า มารณรงค์ เ กี่ ย วกั บ การ อนุรักษ์คลองแสนแสบ แต่ขาดความต่อเนื่องและการประเมิ นผลอ ย่างจริงจัง จึงทำาให้การรณรงค์ไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควรเพราะ เป็ น การกระตุ้ น จิ ต สำา นึ ก เพี ย งระยะเวลาสั้ น ๆ ทั้ ง ด้ า นการใช้ สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละการจั ด กิ จ กรรม ดั ง นั้ น จึ ง ควรมี ก ารประเมิ น ประสิทธิผลของโครงการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อนำามาใช้ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง รู ป แ บ บ เ นื้ อ ห า ส า ร ก ล ยุ ท ธ์ ก ล วิ ธี สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละกิ จ กรรมประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ มี ค วามเหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย สถานการณ์ที่เป็นจริงในการรณรงค์ 2. ข้อ เสนอแนะเชิง ปฏิบ ัต ิ 2.1 การสื่อ ความหมายในเชิง เนื้อ หาการรณรงค์ท ี่ เข้า ใจง่า ย ใกล้ต ัว และ สร้า งการมีส ่ว นร่ว ม ในการจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ไม่ควรที่จะมี ลักษณะอุดมคติ หรือทำาให้เกิดความเข้าใจยาก เช่น ศัพท์ทาง วิชาการ เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ส่วน ใหญ่ เช่น ชาวบ้านในชุมชน ต้องการให้สื่อความหมายด้วยภาษา และรูปภาพที่เข้าใจง่ายว่าต้องการที่จะให้ทำาอะไร อย่างไร (How to) จึงจะเกิดผลในด้านความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม (Knowledge-Attitude-Practice) ในการอนุรักษ์คลองแสนแสบ ตลอดจนใช้จิตวิทยาการสื่อสารทำาให้เห็นผลกระทบที่ใกล้ตัว เช่น การทิ้งขยะลงคลองเกิดผลกระทบที่อันตรายต่อชีวิตของชาวบ้าน อย่างไร กลิ่นเหม็น โรคภัยไข้เจ็บ โทษและพิษภัยต่าง ๆ ที่จะได้รับ เป็นต้น ตลอดจนสร้างความมีส่วนร่วม เช่น “ชุมชนรักคลอง” “ร่วม มือร่วมใจรักษาคลองแสนแสบ” เป็นต้น นอกจากนี้ สือประชาสัมพันธ์ควรที่จะมีการแยกกลุ่มเป้าหมาย ่ อย่างชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากการใช้เนื้อหาและการนำาเสนอข้อมูล รูปภาพ มีความแตกต่างกัน เช่น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นชาวบ้านริม คลอง ชาวบ้านที่อยู่ในชุมชน (แต่ไม่ติดบริเวณริมคลอง) เป็นต้น ส่วนในด้านชื่อของโครงการรณรงค์ หรือข้อความควรที่จะ ระบุว่า “คลองแสนแสบ” เพื่อให้ชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากการใช้คำาว่า “คลอง” จะกว้างมากเกินไป และไม่ควรระบุคำาว่า โครงการ เพราะ ชาวบ้านในชุมชนมองว่าเป็นทางการมากเกินไป การนำาเสนอภาพประกอบการรณรงค์ ควรใช้เป็นภาพจริง ของปัญหามลพิษคลองแสนแสบในปัจจุบัน ตลอดจนเปรียบเทียบ
  • 9. 9 ให้เห็นถึงสภาพคลองแสนแสบในอดีตกับปัจจุบัน เพื่อให้เห็นความ แตกต่าง และเป็นแรงจูงใจในการร่วมมือกันอนุรักษ์ฟื้นฟูคลองแสน แสบให้กลับมาสะอาดใสเหมือนเดิม 2.2 การจูง ใจโดยใช้ร างวัล ล่อ ใจ หรือ การยอมรับ ในการจัดกิจกรรมรณรงค์ ถ้าจะให้ได้ผลความร่วมมืออย่าง รวดเร็วอาจต้องใช้แรงจูงใจโดยใช้รางวัล หรือรายได้ ผล ประโยชน์ที่จะได้รับหากให้ความร่วมมือ เช่น ชาวบ้านต้องการที่ จะทำานำ้าหมักชีวภาพ นำาไปใช้และนำาไปขายได้ การสร้างรายได้ ในชุมชน การคัดแยกขยะในชุมชน ธนาคารขยะ สามารถขายขยะ ประเภทต่าง ๆ เพื่อสร้างรายได้ให้ครอบครัว ก็จะไม่ทิ้งขยะลง คลอง หรือสถานประกอบการอาจต้องใช้การมอบรางวัลสถาน ประกอบการรักคลอง ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (ต้องใช้ความร่วมมือร่วมกับหน่วยงาน รัฐ มิฉะนั้นจะไม่ได้รับความร่วมมือในระดับนโยบายและปฏิบัติการ ตลอดจนการให้ข้อมูล) มอบใบประกาศเกียรติคุณขอความร่วมมือ กับสถานประกอบการขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ และโรงงาน ร่วมกับ แนวคิดการสร้างภาพลักษณ์ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคม (Corporate Social Responsibility :CSR) เพื่อให้เกิดการ ยอมรับ 2.3 การปลูก ฝัง จิต สำา นึก แบบมีส ่ว นร่ว มด้า นสิ่ง แวดล้อ ม โดยเฉพาะกลุ่ม เยาวชน จากการประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลกิ จ กรรม ผลการวิ จั ย พบว่ า เยาวชนเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ สำา คั ญ ในการปลู ก ฝั ง จิ ต สำา นึ ก ด้ า นสิ่ ง แวดล้อมให้รักและหวงแหนลำา คลอง ทั้งนี้เนื่อ งจากมี ค วามสนใจ กระตือรือร้นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไป และเป็นผู้มี อิ ท ธิ พ ลที่ สำา คั ญ ในการสร้ า งทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมการอนุ รั ก ษ์ คลองแสนแสบให้พ่อ แม่และคนในครอบครัวโดยทางอ้อม ดังนั้น การใช้ แ นวทางการสื่ อ สารแบบมี ส่ ว นร่ ว มโดยสื่ อ สารเรื่ อ งการ อนุรั กษ์ในลักษณะปลูกฝั งผ่ านโรงเรี ย นแก่ เด็ กนั ก เรี ย นในชุ ม ชน เช่น การทำานำ้าหมักชีวภาพ การรักษาลำาคลองง่าย ๆ การไม่ทิ้งนำ้า เสียหรือขยะลงคลองหรืออาจร่วมกับชุมชนในการล่องเรือเก็บขยะ การขุดลอกผักตบชวา เป็นต้น แล้วกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารบอก ต่อระหว่างนักเรียนสู่ครอบครัวในชุมชนเพื่อให้เกิดจิตสำานึกด้านสิ่ง แวดล้อมร่วมกันที่ได้ผลดีอีกทางหนึ่ง 2.4 ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ร่ ว ม กั บ ชุม ชน
  • 10. 10 ควรที่จะเข้าไปจัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับชุมชนและดึงความ ร่วมมือของผู้นำาชุมชน ชาวบ้านในชุมชนเข้ามาร่วมกับกิจกรรมให้ มากที่สุด เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น การล่องเรือเก็บขยะ ฟื้นฟู คลอง การทำาความสะอาดในชุมชน การเดินรณรงค์ต้องมีการจัด อย่างต่อเนื่อง และควรใช้สื่อบุคคลเป็นสื่อหลัก เช่น นักศึกษา นัก วิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐ เข้าไปกระตุ้นจัดกิจกรรมรณรงค์ในชุมชน เพราะชาวบ้านจะให้ความสนใจมากว่ามีคนมีความรู้ไปบอกก็จะทำา ตาม ทั้งนี้โดยใช้การแจกสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ ใบปลิว ให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลองเป็นสื่อรอง เพราะชาวบ้านในชุมชนจะไม่ค่อยอ่านทำาความเข้าใจเอง ต้อง อธิบายร่วมกับการจัดกิจกรรม จึงจะให้ความสนใจ นอกจากนี้ชาว บ้านบางคนอ่านหนังสือไม่ออก ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการรณรงค์อีก ด้วย 2.5 ก า ร ใ ช้ เ นื้ อ ห า ส า ร เ พื่ อ ร ณ ร ง ค์ ส ร้ า ง ค ว า ม รั ก หวงแหนและทดแทนบุญ คุณ คลอง เนื่องจากลำา คลองเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และยังมีความใส สะอาด ซึ่งมีเพียงส่วนน้อยที่ทิ้งขยะลงคลองและปล่อยนำ้าเสีย ดังนั้น เนื้ อ หาสารที่ ใ ช้ ใ นการรณรงค์ จึ ง ยั ง ควรต้ อ งมี เ นื้ อ หาที่ ส ามารถ สร้ า งความรู้สึ กรั ก และหวงแหนลำา คลองเสมื อ นเป็ น สมบั ติ ร่ ว มกั น ช่วยกันรักษา ดูแล สอดส่องให้นำ้าในคลองสะอาดไม่ทำาให้นำ้าเสีย หากนำ้า ในลำา คลองสะอาดส่งผลถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนด้วย นอกจากนี้คลองแสนแสบยังมีบุญคุณในการช่วยผันนำ้าช่วงอุทกภัย มีความสำา คัญต่อชีวิตของชุมชนอย่างเห็นได้ชัด เพราะต้องพึ่ งพา อาศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้นชุมชนและทุกฝ่ายจึงควรช่วยกันอนุรักษ์ คลองแสนแสบต่อไป ข้อ เสนอแนะเกี่ย วกับ การบูร ณาการโครงการบริก าร วิช าการเพื่อ ขยายผลกับ งานวิจ ัย ครั้ง ต่อ ไป การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม จิตสำานึกการ อนุรักษ์คลองแสนแสบ ต้องนำาผลการวิจัยมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างให้ เหมาะสมเพื่อกำาหนดกรอบในการรณรงค์ให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้า หมายแต่ละพื้นที่ ซึ่งหากเป็นสถานประกอบการ งานวิจัยอาจต้อง เฉพาะเจาะจงเฉพาะกลุ่มเพื่อประกอบการวางแผนรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การใช้สื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้มีความ เหมาะสม มีการทำาวิจัยและประเมินผลของการสื่อสารอย่าง สมำ่าเสมอ ในด้านการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม เกี่ยวกับการอนุรักษ์คลอง ของกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เช่น ชาวบ้าน
  • 11. 11 ในชุมชน นักเรียน เป็นต้น และมีการวิจัยประเมินประสิทธิผลของ สื่อประชาสัมพันธ์ประเภทอื่นๆ นอกเหนือจากโปสเตอร์ แผ่นพับ ใบปลิว ป้ายรณรงค์ และป้ายผ้า เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาสื่อ ประชาสัมพันธ์ที่มีความหลากหลาย ทันสมัยและเหมาะสมกับกลุ่ม เป้าหมาย ******************