SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
FURFURFURDDD
SUMMITSUMMITSUMMIT
201620162016
REPORTREPORTREPORT
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
EXECUTIVE SUMMARYEXECUTIVE SUMMARYEXECUTIVE SUMMARY
บทสรุปผู้บริหาร
ตลอดช่วงเวลาของการดาเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่ม
โครงการเมืองดีเด่น โดยผู้นาของเมืองที่มีผลงานสร้างสรรค์เมืองเป็นที่ประจักษ์ จะได้รับการ
เสนอชื่อเข้ารับมอบรางวัลจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ในวันรับปริญญาบัตรของ
มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังได้ริเริ่มจัดทาโครงการ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ
พัฒนาอนาคตของเมือง หรือที่เรียกชื่อย่อว่า FURD หรือแผนงาน นพม. โดยการสนับสนุน
ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทั้งนี้ เพื่อมุ่งหวังให้คนในเมือง
ไม่ว่าจะเป็นผู้นา ภาคประชาสังคมและนักวิชาการ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของเมืองและ
อนาคตที่จะนาไปสู่การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนและมีสุขภาวะ
ภาพรวมความเป็นเมืองในปัจจุบัน
เมือง ไม่ว่าจะหมายถึง ขอบเขตของพื้นที่หรือสังคมเมือง นับวันยิ่งจะมีความสาคัญ
มากขึ้น ด้วยเหตุที่ประชากรของโลกในปัจจุบันร้อยละ 50 อาศัยอยู่ในเขตเมืองและมี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น คาดกันว่าจะมีมากถึงร้อยละ 70 ของประชากรโลกในปี ค.ศ. 2050 และ
สัดส่วนประชากรโลกที่อยู่ในเขตเมืองมากที่สุดก็อยู่ในแถบเอเชีย
สาหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีประชากรอาศัยในเขตเมืองสูงถึงร้อยละ 44 ของ
ประชากรทั้งประเทศ หากนับรวม อบต. ขนาดใหญ่และขนาดกลางด้วยแล้ว ยิ่งจะทาให้ความ
เป็นเมืองมีมากขึ้น โดยสูงถึงร้อยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ
อย่างไรก็ตาม ความเป็นเมืองของไทยมีลักษณะกระจุก จะเห็นได้ในบริเวณ
กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด ความเป็นเมืองของกรุงเทพฯ
และปริมณฑลสูงถึงร้อยละ 76 เพราะมีการขยายพื้นที่เมืองของกรุงเทพฯ ออกไปอย่าง
ต่อเนื่อง จนทาให้กรุงเทพฯ กลายเป็นเมืองโตเดี่ยว ซึ่งศาสตราจารย์เกียรติคุณเดชา บุญค้า
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
ศิลปินแห่งชาติด้านภูมิสถาปัตย์ ได้กล่าวไว้ว่า กรุงเทพฯ เป็นตัวอย่างที่ดีของการ
พัฒนาเมืองที่เลวร้ายที่สุดในโลก ดังนั้น หากไม่ระวัง เมืองใหญ่ในภูมิภาคก็อาจจะ
เผชิญกับปัญหาเช่นเดียวกับกรุงเทพฯ
เมื่อพิจารณาถึงโครงสร้างประชากรในเขตเมือง โดยเฉพาะเขตเทศบาลนคร
จะพบว่าสังคมเมืองวันนี้เป็นสังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากมีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรในเขตเทศบาล ในเกือบทุกพื้นที่ของเทศบาลนคร
ยกเว้นเพียงเทศบาลนครแหลมฉบัง และพบว่า เทศบาลนครนนทบุรีมีประชากร
ผู้สูงอายุในเขตเมืองเป็นสัดส่วนมากที่สุด ถึงร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด ส่วน
เทศบาลเมืองก็เป็นไปทานองเดียวกัน
เมืองไทยกาลังขยายความเจริญ
ประเทศไทยที่เติบโตมาจนกระทั่งวันนี้ หลายเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
ทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มีตัวอย่างที่โดดเด่น ดังนี้
เมืองอุตสาหกรรม อย่าง Eastern Seaboard ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา
นอกจากจะเป็นแหล่งอุตสาหกรรมหนักและมีท่าเรือขนส่งสินค้าขนาดใหญ่แล้ว ปัจจุบัน
มีประชากรญี่ปุ่นอาศัยอยู่ในศรีราชา 8,000 คน คิดเป็น 60% ของประชากรเมืองศรี
ราชา จนได้รับฉายาว่า Little Osaka
เมืองประมง ดงโรงงาน อย่างมหาชัย สมุทรสาคร เมืองขนาดเล็ก ที่เต็ม
ไปด้วยแรงงานประมงต่างด้าวชาวพม่า ซึ่งดูจะมีจานวนมากที่สุดในประเทศไทยและ
ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงเป็นอันดับสามของประเทศ รองจากกรุงเทพฯ และ
สมุทรปราการ เท่านั้น
เมืองพัทยา เมืองที่ดึงดูดชาวรัสเซีย ซึ่งนิยมเข้ามาเที่ยวและลงทุนมากที่สุด
เมืองบุรีรัมย์ ถูกขนานนามว่าเป็นเมืองเศรษฐกิจติดจรวด ถูกพัฒนาให้เป็น
Sport City ดึงดูดนักท่องเที่ยวในอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกปี
เมืองกรุงเทพฯ ย่านห้วยขวาง ชุมชนแห่งใหม่ของนักธุรกิจชาวจีน จนได้รับ
ฉายาว่า เป็นเยาวราชแห่งที่สอง
เมืองรังสิต เมืองมหาวิทยาลัยหรือแหล่งการศึกษาแห่งใหม่ โดยพื้นที่รังสิต
นับตั้งแต่สนามบินดอนเมืองขึ้นไปตามทางถนนพหลโยธิน ถือเป็นย่านมหาวิทยาลัย
เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยชั้นนาถึง 4 แห่ง คือ ม.ราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ม.รังสิต และ ม.กรุงเทพ ศูนย์รังสิต มีจานวน
นักศึกษาและบุคลากรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 91 ของจานวนนักศึกษาและบุคลากรทั้ง
เขตปทุมธานี หรือประมาณ 118,600 คนจาก 130,000 คน อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของนิคม
อุตสาหกรรมนวนคร ที่มีจานวนบริษัทถึง 200 แห่ง เป็นแหล่งจ้างงานขนาดใหญ่
รองรับคนทางานนับหมื่นคน
การพัฒนาเมืองโดยคนเมือง
ในอดีต เมืองจะเติบโตจากการวางแผนของภาครัฐส่วนกลาง แต่ทุกวันนี้ไม่ได้
หมายความว่า เมืองอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาของรัฐจะหมดโอกาสของการพัฒนา
เพราะบทเรียนที่ผ่านมา การพัฒนาจากภาครัฐส่วนกลางไม่ได้สอดคล้องกับความ
ต้องการของคนในพื้นที่ แต่จะสังเกตว่า วันนี้เมืองกาลังกลายเป็นสนามใหม่ของนัก
สร้างสรรค์และมีจินตนาการ นอกจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว จะมีกรณีตัวอย่างของเมือง
มานาเสนอในรายงาน
เมืองมีความซับซ้อนมากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คุณภาพชีวิต
และความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย ในฐานะที่คนเป็น
สมาชิกของเมือง เราอาจจะต้องคิดทบทวนว่า เราต้องการพัฒนาเมืองหรือไม่ เราจะ
พัฒนาเมืองไปเพื่ออะไร เราจะพัฒนาเมืองไปในทิศทางไหน เราจะมีส่วนร่วมพัฒนา
เมืองได้อย่างไร และเมื่อไรเราจะลุกขึ้นมาพัฒนาเมืองของเรา
ศูนย์ศึกมหานครและเมืองจึงมีความตั้งใจจัดเวทีสาธารณะ “คนสร้างเมือง” ขึ้น
เพื่อเปิดมุมมองใหม่ต่อการพัฒนาเมืองของไทย และเพื่อเป็นก้าวแรกของการสานพลัง
ภาคีเครือข่ายการพัฒนาเมือง เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนอนาคตเมืองของไทยสู่เมืองสุข
ภาวะและยั่งยืน
3
คนเมืองเพิ่มขึ้น คนชนบทลดลง
ตั้งแต่ พ.ศ. 2548-2557 ประชากรไทยเพิ่มขึ้นไม่มากเท่าไรนัก แต่
ความเป็นเมืองกลับเติบโตอย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปีจาก พ.ศ.
2552 ที่มีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 36.9 จนกระทั่ง พ.ศ. 2558 เมืองไทยมี
ความเป็นเมืองมากถึงร้อยละ 44.4 หรือมีคนอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากถึง 29
ล้านคนทั่วประเทศไทยแล้ว และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นมากเรื่อย ๆ จากการที่คน
ในเขตเมืองเติบโตเร็วกว่าประชากรโดยรวม แสดงให้เห็นว่า คนในเขตเมือง
กาลังเพิ่มขึ้น ส่วนคนในชนบทกาลังลดลง
จากเดิมที่ความเป็นเมืองกระจุกตัวอยู่บริเวณเขตกรุงเทพฯ และ
ปริมณฑลเป็นหลัก กรุงเทพมหานครนับเป็นเมืองโตเดี่ยวขนานแท้ แต่ปัจจุบัน
ความเป็นเมืองได้เริ่มแผ่ขยายไปตามภูมิภาคและจังหวัดต่าง ๆ บ้างแล้ว มีเมือง
รองเจริญเกิดขึ้นมาให้เห็นมากกว่าแต่ก่อน เช่น ภูเก็ต ชลบุรี เชียงใหม่
ขอนแก่น เป็นต้น อีกทั้งความเป็นเมืองของเกือบทุกจังหวัดก็มีมากกว่าร้อยละ
30 แล้ว
แผนภาพที่ 1 ความเป็นเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2546 กับ พ.ศ. 2557
INTRODUCTIONINTRODUCTIONINTRODUCTION
สถานการณ์เมืองของไทย
ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย
คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
กรุงเทพฯ และปริมณฑลมีความเป็นเมืองสูงสุด
แม้เมืองของไทยจะเติบโตในทุกภูมิภาค แต่หากพิจารณาระดับจังหวัด กรุงเทพฯ ก็ยังมีขนาดประชากรที่สูงมาก โดยถ้าเทียบในระดับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแล้ว กรุงเทพฯ จะมีประชากรมากกว่าเมืองรอง เทศบาลนครนนทบุรี มากถึง 22 เท่า เป็นเหตุให้กรุงเทพฯ และปริมณฑลกลายเป็นภูมิภาคที่มีความเป็น
เมืองสูงมากที่สุดในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 76.3 หรือถ้าหากนับรวม อบต. ขนาดใหญ่และ อบต. ขนาดกลาง คนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลจะอาศัยอยู่ในเขต
เมืองมากถึงร้อยละ 87.5 เลยทีเดียว
ความเป็นเมืองของภูมิภาคอื่นยังมีไม่มากเท่าไรนัก มีเพียงภาคตะวันออกที่มีความเจริญใกล้เคียงเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมากที่สุด โดยเฉพาะจังหวัด
ชลบุรี จันทบุรี และระยองที่ล้วนมีความเป็นเมืองมากกว่าร้อยละ 60 ในแง่การเติบโตของประชากรจาก พ.ศ. 2549 - 2558 จังหวัดที่มีคนอาศัยเพิ่มขึ้นโดดเด่นมาก
คือ จังหวัดปทุมธานีและภูเก็ต ส่วนจังหวัดที่คนอาศัยลดลงอย่างเห็นได้ชัด คือ แพร่ ลาปาง สิงห์บุรี ชัยนาท พิจิตร และอุตรดิตถ์ สังเกตได้ว่าส่วนใหญ่เป็นจังหวัด
ทางภาคเหนือตอนล่างกับภาคกลางตอนบน
แผนภาพที่ 2 ประชากรและความเป็นเมืองในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พ.ศ. 2557
ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย
คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถานการณ์เมืองของไทย
5
เมืองใหญ่ในภูมิภาคเหนือ กลาง อีสาน ใต้
ในภาคเหนือ จังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูงจะอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบน อย่างจังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา และเชียงราย ล้วนมีคน
อาศัยในเขตเมืองมากกว่าร้อยละ 50 ทั้งสิ้น ส่วนพื้นที่อื่นยังคงมีความเป็นเมืองในระดับปานกลาง
ส่วนภาคกลาง ส่วนใหญ่ความเป็นเมืองล้วนต่ากว่าร้อยละ 40 ทั้งสิ้น มีเพียงจังหวัดชัยนาทที่ความเป็นเมืองสูงถึงร้อยละ 73.8 ในขณะที่เมือง
รองลงมาอย่างสระบุรีและอ่างทองมีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 46.6 และร้อยละ 42.5 ตามลาดับ เท่านั้น
ในภาคอีสาน แม้จะเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมาก แต่ความเป็นเมืองไม่ได้สูงมากนัก เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ คนเมืองจะกระจุกตัวอยู่ในอีสาน
ตอนกลาง เช่น ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดรธานี เป็นต้น
ในภาคใต้ คนอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากในจังหวัดภูเก็ต พัทลุงและสงขลา ส่วนจังหวัดอื่น ๆ ความเป็นเมืองยังไม่มากนัก โดยเฉพาะพื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนใต้ที่ความเป็นเมืองค่อนข้างต่ามาก
สถานการณ์เมืองของไทย
6
เศรษฐกิจกระจุกตัวในกรุงเทพฯ แต่จังหวัดแถบ
อีสานเติบโตเร็วสุด
ตลอดสิบปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ พ.ศ. 2548-2557 เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
ครองอันดับหนึ่งด้านมูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริง (Real Gross Regional Products หรือ
Regional GRP) ภาคตะวันออกตามมาเป็นอันดับสอง แต่ที่โดดเด่นคือ ในช่วงเวลา
ดังกล่าว มูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริงภาคอีสานก้าวกระโดดแซงภาคกลางกับภาคใต้
จากอันดับเกือบสุดท้ายกลายมาเป็นภูมิภาคที่มีเศรษฐกิจที่แท้จริงใหญ่เป็นอันดับ
สามของประเทศ
ในขณะที่จังหวัดที่มูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริงเติบโตเร็วมากที่สุดในช่วงเวลา
เดียวกันคือ ภูเก็ต ที่เติบโตเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 9.3 แต่ที่น่าสนใจคือ ใน 10 อันดับแรก
ของจังหวัดที่เติบโตเร็วที่สุด เป็นจังหวัดในภาคอีสานมากถึง 4 จังหวัด ได้แก่ เลย
อุดรธานี มุกดาหาร และขอนแก่น ฉะนั้น แม้อีสานจะเป็นภูมิภาคที่มีความยากจน
มากมาก่อน แต่ในช่วงสิบปีมานี้ เศรษฐกิจอีสานสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วมาก
เศรษฐกิจที่เป็นตัวเงิน (Nominal Gross Provincial Products หรือ Nominal
GPP) ที่ใหญ่ที่สุดใน พ.ศ. 2557 คือ กรุงเทพมหานคร ที่มีมูลค่าเศรษฐกิจที่เป็นตัวเงิน
สูงถึง 4.1 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.4 ของมูลค่าเศรษฐกิจประเทศ ทิ้งห่าง
จังหวัดที่ตามมาอย่างระยองและชลบุรีที่มีมูลค่าเศรษฐกิจเพียง 0.87 และ 0.72 ล้าน
ล้านบาท ตามลาดับ หากจัดอันดับจังหวัดที่มูลค่าเศรษฐกิจที่เป็นตัวเงินสูงสุด จะ
พบว่า ทุกจังหวัดที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลล้วนอยู่ใน 10 อันดับแรก เป็น
การตอกย้าว่าเศรษฐกิจประเทศกระจุกตัวในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลสูงมาก
ในทางกลับกัน 10 อันดับแรกของจังหวัดที่เติบโตช้าที่สุดในประเทศ ประกอบด้วย
จังหวัดในภาคใต้มากที่สุดถึง 6 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา พัทลุง
ตรัง และระนอง
แผนภาพที่ 3 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภูมิภาคที่แท้จริง
ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย
คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถานการณ์เมืองของไทย
7
กรุงเทพฯ และปริมณฑลกับใต้พึ่งภาคบริการ
ภาคกลางและตะวันออกพึ่งอุตสาหกรรม
ภูมิภาคส่วนใหญ่พึ่งพิงเศรษฐกิจภาคบริการเป็นหลัก มีเพียงภาคกลางกับ
ภาคตะวันออกเท่านั้นที่พึ่งอุตสาหกรรมเป็นหลัก ภาคเกษตรมีสัดส่วนน้อยมากในทุก
ภูมิภาค ภาคใต้เป็นภูมิภาคเดียวที่พึ่งภาคเกษตรมากกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่า
เศรษฐกิจภูมิภาคที่แท้จริง
ในแง่การเติบโตก็ทานองเดียวกัน ในภาคกลางกับภาคตะวันออก
อุตสาหกรรมจะเติบโตโดดเด่นกว่าภาคการผลิตอื่น ๆ ส่วนภาคบริการจะเติบโตโดด
เด่นในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลกับภาคใต้ ทั้งสองภูมิภาคมีแนวโน้มพึ่งพา
เศรษฐกิจภาคบริการมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างเห็นได้ชัด
รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาค ภาคตะวันออก
โตเร็วที่สุด
ในช่วง พ.ศ. 2538 - 2557 รายได้ต่อหัวทุกภูมิภาคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะภาคตะวันออกที่มีรายได้เติบโตเร็วที่สุด ใน พ.ศ. 2557 ภาคตะวันออกเป็น
ภาคที่มีรายได้ต่อหัวมากที่สุด หรือเท่ากับ 4.26 แสนบาทต่อปี แซงหน้ากลุ่มจังหวัด
ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เมื่อ พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ จะเห็นว่ารายได้ต่อหัวใน
เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลกับภาคตะวันออกสูงกว่า 4 ภูมิภาคที่เหลือค่อนข้างมาก
สะท้อนถึงความเหลื่อมล้าทางรายได้ในระดับภูมิภาค ยิ่งไปกว่านั้น หากพิจารณา
ระดับจังหวัดแล้ว จะพบว่า ระยองมีรายได้ต่อหัวสูงมากถึง 1 ล้านบาทต่อปี มากกว่า
กรุงเทพมหานครเป็นเท่าตัว
แผนภาพที่ 4 อัตราการเติบโตเศรษฐกิจแต่ละภาคการผลิต
แผนภาพที่ 5 อัตราการเติบโตรายได้ต่อหัว พ.ศ. 2538-2557
ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย
คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อมูลจาก: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถานการณ์เมืองของไทย
8
POLICY THINKERPOLICY THINKERPOLICY THINKER
เมืองของไทย คือบ้านของเรา
ประเทศไทยทุกวันนี้ไม่ใช่ชนบทอีกต่อไป บ้านเมืองกลายมาเป็นเมือง นคร
และมหานครมากขึ้น ประชากรในเขตเมืองใหญ่และเขตเทศบาลทุกประเภท
รวมกันมีจานวนมากราวครึ่งหนึ่งของทั้งประเทศ และหากนับรวม อบต. ที่มีรายได้
สูงด้วยแล้ว ก็จะยิ่งเกินกว่าครึ่งหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ จึงยังมีโอกาสดีๆ อีกมหาศาลที่รอ
เมือง นคร มหานคร ของเรา พร้อมๆ กับมีปัญหาอีกนานัปการที่จะต้องบาบัด
แก้ไขต่อไป
อย่างไรก็ดี การบริหารและการพัฒนาของประเทศไทยในปัจจุบันกลับยังมี
ลักษณะรวมศูนย์ ไม่ได้มอบหมายให้เมืองและจังหวัดเป็นหน่วยหลักในการพัฒนา
ประเทศ กลับใช้แต่กรมและกระทรวงเป็นสาคัญ ดั้งนั้น หากจะวางแผน พัฒนา
และแก้ปัญหาเมืองให้ดีจริง จะต้องปฏิรูปให้พื้นที่กลายเป็นหน่วยหลักในการ
พัฒนาเสียก่อน
เฉพาะหน้านี้ คนในเมืองจะต้องสร้างเมืองด้วยตนเองมากขึ้น ต้องรัก
เมือง มีจิตอาสาเพื่อเมือง ร่วมกันดูแลพัฒนาเมือง ทาให้บรรดาเมือง
ทั้งหลายของไทยเป็นเสมือน “บ้าน” ของเรา สร้างเมืองโดยชาวเมืองและเพื่อ
ชาวเมืองให้มากขึ้น โดย "บ้าน" ต่างจาก "เมือง" ตรงที่มี "โอกาส" ให้สมาชิกใน
การดูแลตนเองและมีความ "จาเป็น" ที่สมาชิกจะต้องปกครองตนเองหรือพัฒนา
กันเองไปพร้อมกัน จิตสานึกของการรัก “เมือง” เสมือนเป็น “บ้าน” ของตัวเอง
เป็นสิ่งที่จะต้องรักษาเอาไว้และขยายไปให้ถึงเมือง นคร และมหานครด้วย แต่
ขณะเดียวกัน คนในเมืองก็ไม่ควรจะหลีกหนีหรือปฏิเสธฝ่ายราชการ แต่ควรสมาน
ความร่วมมือและดึงภาครัฐมาเป็นแนวร่วมการพัฒนา
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
9
อนึ่ง ประเทศไทยควรสร้างสิ่งที่เรียกว่า "ผู้สร้างบ้าน แปงเมือง" คน
เหล่านี้จะเป็นข้าราชการก็ได้ เป็นผู้นาท้องถิ่นก็ได้ จะเป็นคนธรรมดาก็ได้ เป็น
ผู้นาหรือสมาชิกของประชาสังคม จะเป็นครู อาจารย์ นักวิชาการก็ได้ หรือ
แม้กระทั่งเป็นชาวบ้านธรรมดาก็ยังได้ แต่คนเหล่านี้จะต้องเป็นเจ้าของเมือง
จะต้องรักเมือง จะต้องมีความเป็น “เมืองนิยม” เราจะต้องสร้างหลักนิยมใหม่
เป็นหลักนิยมที่รักเมือง เชิดชูเมือง ชื่นชมเมือง อาจกล่าวได้ว่า คนเหล่านี้คือ
"นาย" และ "พล" ประจาการของเมืองที่จะร่วมมือ สร้างสรรค์และพัฒนาเมือง
ร่วมกับราชการและท้องถิ่น และภาคเอกชนในแทบทุกด้าน
บรรดา "ผู้สร้างบ้าน แปงเมือง" ต้องมองถึงโอกาสของเมืองเป็นหลัก
ไม่มองแต่ปัญหา คิดเชิงบวก กล้านาส่วนราชการและท้องถิ่น โดยเน้นการนา
ทางความคิดและปัญญาอย่างสุภาพ ไม่แข็งกร้าว สันทัดเป็นพิเศษในการ
ทางานอย่างไม่เป็นทางการแต่ได้ผล พร้อมทั้งเคารพกฎระเบียบและกฎหมาย
กล่าวโดยสรุป ในการบริหารและการพัฒนาเมืองทุกวันนี้ ไม่เพียงแต่
จะต้องอาศัยเงิน และบุคลากรของภาครัฐและท้องถิ่นเป็นพื้นฐาน ไม่เพียงแต่
จะต้องมีความรู้และวิสัยทัศน์ของทางการซึ่งเพรียบพร้อมไปด้วยศิลปวิทยาและ
เทคโนโลยีเท่านั้น หากยังจะต้องอาศัยการปลูกฝังความรักเมือง นิยมเมือง และ
ภูมิใจในเมือง ให้คนอยากอาสามาพัฒนาเมืองด้วย สิ่งนี้จะเป็นหลักนิยมใหม่ที่
จะเคียงคู่ไปด้วยกันกับ "ชาตินิยม" ที่ปลูกฝังกันมานานแล้ว
เมืองของไทย คือบ้านของเรา
10
MAYOR PERSPECTIVEMAYOR PERSPECTIVEMAYOR PERSPECTIVE
การพัฒนาเมืองในทัศนะผู้นาเมืองยุคใหม่
เมืองน่าอยู่ กายภาพก็สาคัญ แต่สาคัญกว่าคือคน
ผู้พัฒนาเมืองทุกคนต่างมีเป้าหมายมุ่งสู่เมืองน่าอยู่เป็นสาคัญ เรื่องกายภาพ
หรือโครงสร้างพื้นฐานของเมือง เป็นสิ่งที่ต้องทาอยู่แล้ว แต่ขอนแก่นไม่ใช่เมืองที่มีแค่
ถนนดีๆ มีสายไฟลงดิน องค์ประกอบของเมืองน่าอยู่ที่สาคัญที่สุด คือ “คน”
เมืองจะน่าอยู่ได้ ต้องผ่านกระบวนมีส่วนรวมของคนให้มากที่สุด ขอนแก่น
วันนี้จึงมีเวทีภาคประชาชนหลายร้อยเวที ที่สาคัญที่สุดคือ เวทีสภาเมือง ทุก
โครงการผ่านการโต้เถียงของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกเรื่องที่เป็นเรื่องความขัดแย้ง เมื่อ
ผ่านกระบวนการสภาเมือง จะสามารถแก้ไขได้หมด ฉะนั้น เมืองน่าอยู่ จึงไม่ใช่แค่
โครงสร้างพื้นฐานดีเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของ คนเมืองที่ต้องรักกัน เข้าใจกัน ผ่าน
กระบวนการมีส่วนร่วมของเมืองไปด้วยกัน
การก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมือง หรือ kktt เพื่อระดมทุนสร้างระบบขนส่งมวลชนใน
เมืองขอนแก่นด้วยตนเอง ขณะนี้โครงการได้รับการอนุมัติแล้ว บริษัทตั้งแล้วด้วยการ
ระดมทุนจากเอกชนคนละ 10 ล้านบาท จานวน 20 แห่ง ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท
สิ่งสาคัญที่ทาให้โครงการเดินหน้าต่อได้ ทั้งๆ ที่ไม่ใช่อานาจหน้าที่ที่ท้องถิ่นจะทาได้
แต่เพราะความร่วมมือของคนขอนแก่น การถักทอทั้งภาคเอกชน ภาคประชาชน ผ่าน
กระบวนการมีส่วนร่วมหลากหลายเวที จนวันนี้รัฐส่วนกลางต้องยอมรับและอนุมัติให้
เดินต่อได้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า การขับเคลื่อนเมือง แม้จะติดขัดกฎระเบียบ แต่หากคน
ในเมืองสู้ ประสานความร่วมมือ ท้ายที่สุด คนในเมืองย่อมรู้ปัญหา รู้ศักยภาพของ
ตัวเองได้ที่สุด พร้อมแก้ปัญหา ต่างจากคนของส่วนกลางที่ส่งมาที่สุดท้ายต้องปรับตัว
เข้าหาคนในเมือง
11
เมืองจะพัฒนาได้ ท้องถิ่นต้องไม่ยอมจานน
ตลอด 10 กว่าปีที่ผ่านมา เป็นที่รู้กันว่า พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เกิด
ปัญหาความขัดแย้ง มาตลอด อย่างไรก็ตาม เทศบาลนครยะลา ให้ข้อคิดที่สาคัญว่า
แม้จะเกิดอุปสรรคแค่ไหน ท้องถิ่นต้องไม่ยอมจานนต่อปัญหา ยิ่งเป็นแรงผลักดันให้
ยะลาต้องเร่งพัฒนาตัวเอง ปัจจุบันเมืองยะลาได้พัฒนาเมืองด้วยหลัก 6 Cs คือ
 Cleanness เมืองยะลา เป็นเมืองแห่งความสะอาดมาแต่อดีต ฉะนั้นความอยู่
รอดของเมือง ขึ้นอยู่กับความสะอาดของเมือง ให้ความสาคัญกับการลดขยะ
มากกว่าแยกขยะ ต้องสร้างให้คนยะลารู้สึกเป็นเจ้าของเมือง (sense of be-
longing) เพื่อดูแลไม่ให้ใครทาให้เมืองสกปรก
 Collaboration เนื่องจากเมืองมีลักษณะพิเศษ คือสังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม
การมีส่วนร่วมจึงสาคัญ เพราะจะสามารถตอบโจทย์ให้กลุ่มคนในสังคมจัดการ
มีส่วนร่วม ตั้งแต่ในระดับชุมชน ประชุมประจาเดือน จนถึงระดับสภา
ประชาชน วาระของเมือง (city agenda) จะถูกขับเคลื่อนผ่านเวทีเหล่านี้
 Connectivity การเชื่อมโยงของคนในสังคม เน้นเรื่องจราจร เชื่อมโยงคนให้
เข้าหากัน
 Culture ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของยะลา คือ การอยู่ร่วม
ของคนสามเชื้อชาติ ท้องถิ่นจึงให้ความสาคัญกับทุกศาสนาอย่างเท่าเทียม
ดาเนินการต่อยอดวัฒนธรรมให้เป็นรายได้ เช่น การจัดงาน มลายู เดย์ ออฟ
ยะลา และจะต่อยอดร่วมกับมาเลเซีย และอินโดนีเซีย พร้อมปลูกฝังให้
เยาวชนเข้าใจความแตกต่างศาสนา
 Competitive ความสามารถในการแข่งขัน ทุ่มเทงบประมาณการศึกษา การ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเรียนภาษาอังกฤษ ทาวิจัยสินค้าเกษตร เช่น
ส้มโชกุน พร้อมเปิดตลาดสินค้าในต่างประเทศ เพื่อให้คนยะลามีความ
ได้เปรียบทางการแข่งขันได้
 Comfort ทาให้คนยะลา มีความสุขกายสุขใจเมื่อยังอยู่ยะลา
พงษ์ศักดิ์ ยิ่งจนมเจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา
ธีระศักดิ์ ฑีฆายุพันธุ์ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
รศ.ดร.อดิศร์ อิศรางกูล ณ อยุธยา (ผู้ดาเนินรายการ) อดีตคณบดีคณะพัฒนาเศรษฐกิจ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
คุณสมบัติของผู้นาเมืองยุคใหม่
1. ผู้นาต้องมีสานึกรักท้องถิ่น
2. ผู้นาท้องถิ่น ต้องแยกเรื่องระหว่างเรื่องส่วนตัว (individual)
และเรื่อง ส่วนรวม (public)
3. ผู้นาต้องไม่หลงตัวเอง สามารถฟังคาเตือนได้
4. ผู้นาต้องยืดหยัดต่อสู้กับปัญหาและยืดเคียงข้างประชาชน
5. ผู้นาต้องให้ความสาคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วมให้มากที่สุด
6. ผู้นาต้องมีวิสัยทัศน์
7. ผู้นาต้องพัฒนาตัวเองอย่างสม่าเสมอ
8. ผู้นาต้องทางานหนัก มีสานึกความผิดชอบ
9. ผู้นา ต้องสร้างผู้นา ผู้นาต้องสร้างคนรุ่นใหม่เสมอ
การพัฒนาเมืองในทัศนะผู้นาเมืองยุคใหม่
12
CIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATIONCIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATIONCIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATION
ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
Social Enterprise กับการอนุรักษ์และพัฒนา
เศรษฐกิจเมืองจันทบูร
ชุมชนริมน้าจันทบูร เป็นชุมชนเก่าในจังหวัดจันทบุรีที่ใช้กระบวนการ
อนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมภายใต้แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
มาใช้จนเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีหลักคิดคือ ชุมชนจะต้องร่วมเป็น
เจ้าของ และร่วมรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยตรงจากการอนุรักษ์ โดยเริ่ม
จากการก่อตั้งบริษัทชุมชนภายใต้ชื่อ “บริษัท จันทบูรรักษ์ดี จากัด แล้วจึงเริ่ม
ออกแบบ ปรับปรุง ฟื้นฟูอาคารสถาปัตยกรรมเรือนไม้เก่าเพื่อพัฒนาเป็น
โรงแรมในลักษณะแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ (Historic Inn) และระดมทุน
จากผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นคนในชุมชน ตลอดจนปรับปรุงพื้นที่ทั่วทั้งชุมชนให้กลายเป็น
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แห่งใหม่ สร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้าน
ความสาเร็จที่เกิดขึ้นทาให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นตัวอย่างของการอนุรักษ์ย่าน
ชุมชนเก่าในนาม “จันทรบูรโมเดล” อ.ธิป ศรีสกุลไชยรัก อาจารย์ประจาสถาบันอาศรมศิลป์
อ. ปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์ นักวิชาการอิสระ ผู้ดาเนินรายการ
13
สาดสีเมืองสาย ศิลปะกับการพัฒนาเมืองสายบุรี
สายบุรี ลุคเกอร์ (Saiburi Looker) เป็นการรวมกลุ่มของคนรุ่นใหม่ใน
พื้นที่ที่เฝ้ามองปรากฏการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเมืองสายบุรี จนนาไปสู่
การฟื้นฟูความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและค้นหาคาอธิบายความสัมพันธ์ทางกร
เมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมผ่านเรื่องเล่าจากผู้คนหลากหลายที่ถ่ายทอด
ถึงตัวตนของคนสายบุรีและความเป็นสายบุรีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การรวมตัว
ดังกล่าว นอกจากมีเป้าหมายเพื่อค้นหาร่องรอยและทาความเข้าใจที่มาที่ไปของ
ตนเองแล้ว ยังมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเข้าใจกับบุคคลทั้งที่เป็นคนในพื้นที่และ
บุคคลภายนอกโดยสื่อสารผ่านกิจกรรมทางศิลปะเป็นหลัก รวมถึงสื่อสมัยใหม่
อาทิ หนังสั้น และสื่อ Social Media อื่นๆ เพื่อให้มีพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ของคนที่มีความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ ศาสนา นาไปสู่การลดความขัดแย้ง
สร้างสังคมที่เข้มแข็ง มีสุขภาวะที่ดีและยั่งยืน
อานัส พงษ์ประเสริฐ ประธานกลุ่ม Saiburi Looker
ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
14
มือเย็น เมืองเย็น เป็นการรวมตัวของอาสาสมัครที่ต้องการเพิ่มจานวน
พื้นที่สีเขียวในเมืองเชียงใหม่ที่ปัจจุบันเริ่มประสบปัญหามลพิษและความแออัด โดย
ใช้แนวคิดในการจัดกิจกรรมที่สนุก สร้างแรงบันดาลใจและความสนใจให้คน
เชียงใหม่ได้ลงมือพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองร่วมกัน คือ แคมเปญท้าปลูกต้นไม้
ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การใช้บุคคลมีชื่อเสียงเพื่อจูงใจคนให้มาร่วมกิจกรรม
รวมทั้งกาหนดบทลงโทษที่สนุกสนานอย่างการให้กระโดดน้าคูเมืองเชียงใหม่กรณี
ที่ผู้ใดทาต้นไม้ที่ต้นปลูกตาย กิจกรรมเหล่านี้มีส่วนสาคัญในการหล่อหลอมให้คนใน
พื้นที่เกิดความรับผิดชอบและมีสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยเต็มใจ จนถึง
ปัจจุบัน กิจกรรมของกลุ่มมือเย็น เมืองเย็นประสบความสาเร็จมาก โดยสามารถ
ขยายจานวนผู้เข้าร่วมโครงการได้เป็นจานวนมาก ทั้งยังพัฒนาไปสู่การประสาน
ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มากขึ้นอีกด้วย
ฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกุล กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น
Social Media ระดมพลังคนเมืองเชียงใหม่
ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
15
บ้านสวนกง อาเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ชุมชนชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่างที่
หล่อเลี้ยงเมืองสงขลามาอย่างยาวนานกาลังเผชิญกับภัยคุกคามทั้งจากธรรมชาติ
และน้ามือมนุษย์ ซึ่งที่ผ่านมา การขับเคลื่อนประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมมักเน้นไปใน
เชิงลบทั้งการต่อสู้และต่อต้าน แต่กลับไม่ได้ผล การขับเคลื่อนประเด็นด้าน
สิ่งแวดล้อมเชิงบวกจึงถูกนามาใช้ผ่านภาคประชาสังคมในพื้นที่ซึ่งพยายามพัฒนา
ชุมชนบ้านสวนกงให้เป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อการศึกษาโดยร่วมมือกับ
นักวิชาการในการออกแบบวางผังพิพิธภัณฑ์ให้สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา
ของพื้นที่ มีเป้าหมายเพื่อสร้างกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนสร้างการเรียนรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืนและไม่เบียดเบียน
ธรรมชาติ
ศุทธิดา วงศ์เทียมชัย นักภูมิสถาปัตย์
กิตติภพ สุทธิสว่าง ศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติเพื่อชุมชน
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติบ้านสวนกงกับการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
16
Inclusive Business กับการพัฒนาย่านเมืองสาราญราษฎร์
การรักษาและฟื้นฟูย่านเมืองเก่าที่เคยเป็นแหล่งพาณิชยกรรมและ
ย่านศิลปวัฒนธรรมที่สาคัญของเมืองให้คงอยู่ได้ในยุคปัจจุบันสามารถทาได้
หลายวิธี แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) เป็นแนวคิด
หนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อเชื่อมโยงชุมชนกับการท่องเที่ยว เน้นให้เกิดการกระจาย
รายได้จากการท่องเที่ยวไปสู่ชุมชนด้วยการสร้างธุรกิจการท่องเที่ยวที่
เชื่อมโยงคนในชุมชนเข้าสู่ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยว ผลที่ได้จึงเป็นการสร้างธุรกิจร่วมกัน ดังเช่น Once Again Hostel
โฮสเทลเพื่อชุมชนเมืองย่านสาราญราษฎร์ที่ริเริ่มโดยศานนท์ หวังสร้างบุญ
ซึ่งปรับปรุงโรงพิมพ์เก่ามาเป็นที่พักสาหรับนักท่องเที่ยว ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเกาะ
รัตนโกสินทร์และมีจุดเด่นตรงที่ผสานเสน่ห์ทางวัฒนธรรมของชุมชนโดยรอบ
4 ชุมชนที่กาลังจะหายไป กิจกรรมลักษณะนี้ช่วยให้ชุมชนไม่ละทิ้งมรดกที่สืบ
ทอดกันมา ทั้งยังเปลี่ยนมรดกเหล่านี้ให้เป็นทุนที่มีศักยภาพ สามารถสร้าง
มูลค่าจากการท่องเที่ยวได้ อันจะทาให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีและลดช่องว่าง
ระหว่างรายได้ได้อีกทางหนึ่ง
ศานนท์ หวังสร้างบุญ เจ้าของธุรกิจโฮสเทลเพื่อชุมชน
ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
17
HEALTH & WELL BEING IN METROPOLISHEALTH & WELL BEING IN METROPOLISHEALTH & WELL BEING IN METROPOLIS
สิทธิการมีสุขภาวะที่ดีในเมืองใหญ่
สิ่งที่อยากจะโยงคือเรื่องสุขภาพกับการพัฒนาเมือง สองเรื่องนี้ไปด้วยกัน
ประเด็นคือ คุณจะมีสุขภาพดีคุณพึ่งแค่หมอกับการดูแลตัวเองไม่ได้ คุณต้องดูแล
สิ่งแวดล้อมของคุณด้วย เราเชื่อว่าสุขภาพจะดีได้คุณก็ต้องออกแบบสิ่งแวดล้อมที่
ดีด้วย ที่ทาให้สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมที่จะพูดวันนี้คือเรื่องของเมือง
เรื่องสุขภาวะนั้นคนทั่วไปอาจจะมองเป็นเรื่องสุขภาพดีไม่ดีของคนๆหนึ่ง แต่ใน
ระดับเมืองนั้น สุขภาพดีของคนๆ หนึ่งทาให้สุขภาพของอีกคนดีไปด้วยหรือไม่ เช่น การ
ขับรถติดแอร์ทาให้คนข้างในรถเย็นแต่ทาให้อากาศภายนอกร้อนขึ้น รถเมล์ร้อน คนขับ
ตุ๊กๆ ร้อน มีประเทศไหนที่เรียกรถเมล์ว่ารถเมล์ร้อน รถเมล์ร้อนนั้นร้อนเพราะตัวรถเมล์
ร้อนเองหรือร้อนเพราะรถที่อยู่โดยรอบทาให้อากาศร้อนขึ้น เพราะฉะนั้น ความสาคัญของ
เรื่องสุขภาพคือการถามว่า การที่ตัวคุณดีแล้ว ทาให้คนอื่นแย่ลงหรือเปล่า ผมคิดว่านี่เป็น
คาถามสาคัญที่ผมพูดตลอดเวลาเรื่องเมืองและการเมืองของเมือง ประเด็นนี้ยังเป็นแค่
เรื่องตัวคุณกับคนอื่น แต่ในคาถามระยะยาวกว่านั้น คือถามว่าสุขภาพดีแล้วยั่งยืนไหม
เรื่องความยั่งยืนของเมืองก็ตามมา จากแนวคิดการพัฒนาเมืองแบบ Sustainability วันนี้
พัฒนามาสู่ Resilience แล้ว เช่น ฝนตกน้าท่วม วันพรุ่งนี้จะฟื้นไหม
หัวใจสาคัญที่ผมพยายามจะบอกก็คือ เวลาที่เราพูดถึงเรื่องการเมืองในเมืองหรือ
Urban Politics เป็นการพูดถึงชีวิต พูดถึงการใช้ชีวิตนี่แหละ การเมืองของการมีชีวิตอยู่
อาจจะไม่ได้พูดเรื่องใหญ่โตประเภทอานาจอธิปไตย การแบ่งสรรอานาจระหว่างบริหาร
ตุลาการ แต่พูดถึงคาถามง่ายๆ ว่าสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของคุณ น้า อากาศ ที่พัก จะทา
ให้ดีอย่างไร ไม่ได้ตั้งต้นที่ว่าหน่วยราชการหน่วยไหนมีหน้าที่อะไร แต่ถามก่อนว่าอะไรที่
ทาให้เกิดสุขภาวะที่ดี (Well-Being) รอบตัวคุณ แล้วคุณเกี่ยวข้องกับตรงนั้นอย่างไร
ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18
ยกตัวอย่างเรื่องการสร้างคอนโดมิเนียมจานวนมากในปัจจุบันว่ากาลังจะก่อให้เกิดวิกฤตกับสุขภาวะของคนเมืองอย่างยิ่งในเรื่องการกิน
คอนโดมิเนียมสร้างขึ้นโดยทาลายตลาด กาจัดแผงอาหารริมทางออกไป แต่ไม่มีคอนโดมิเนียมแห่งใดคิดสร้างศูนย์อาหารในคอนโดขึ้นมาทดแทน
เพราะกลัวเรื่องแมลง ทุกวันนี้ คนเมืองจึงกาลังเผชิญวิกฤตของการไม่มีอาหารที่คุณภาพดีและราคาเข้าถึงได้ทานในเมืองใหญ่ เพราะนอกจาก
คอนโดมิเนียมแล้ว การพัฒนาเมืองในแนวทางของผังเมืองที่คิดแต่ว่า Public Space จะต้องเป็นแต่สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว ลานออกกาลังกาย
แต่ไม่มีใครคิดถึงการสร้างหรือรักษาพื้นที่ในการรับประทานอาหาร ทุกวันนี้สัญญาณของวิกฤตอาหารในเมืองใหญ่มีให้เห็นแล้วจากการที่คนที่
อาศัยในคอนโดมิเนียมราคาหลักล้านต้องมายืนซื้ออาหารริมถนน
สิทธิการมีสุขภาวะที่ดีในเมืองใหญ่
19
หนังสือแนะนาหนังสือแนะนาหนังสือแนะนา
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
จุดหนังสือเมือง
วิธีการสั่งซื้อ
1. Inbox ทาง Page Facebook : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ตลอด 24 ชั่วโมง
2. ติดต่อเบอร์ 02-938-8826 ในเวลาราชการ
20
21
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ
พัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) หรือ Future Urban Development (FURD) ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI)
โดยการสนับสนุนของ ชสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทางแผนงานฯ มีความสนใจด้านการพัฒนาเมือง คลังปัญญา
เรื่องเมือง สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมือง อีกทั้งมีการสื่อสารความรู้ที่ทางแผนงานฯได้ทาการศึกษา วิจัยสู่สาธารณะ
โลโก้ของแผนงานฯ ยังได้สื่อถึงความเป็นแผนงานฯและทิศทางการทางานได้อย่างชัดเจน โดย F U R D ที่ปรากฏในโลโก้นั้นเป็น
อักษรย่อของFuture Urban Development เมื่อพิจารณาถึงสีโลโก้ที่ปรากฏสีเขียวสื่อถึงการงอกงามตามธรรมชาติ และสีน้าตาลสื่อความ
หมายถึงผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ เป็นการคาดหวังที่ต้องการเห็นการพัฒนาเมืองที่ไม่เพียงรุดหน้าในทางวัตถุเท่านั้น หากยังต้องใส่ใจถึงการ
พัฒนามิติอื่นๆไปพร้อมกัน เพื่อมุ่งสู่เมืองที่สมดุล สร้างความสุขแก่ผู้คนอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ที่ตัวอักษร D ของโลโก้นั้นถูกออกแบบให้มีลักษณะคล้าย “ลูกยางนา” เพื่อสื่อความหมายถึงความสามารถในการเจริญ
งอกงามในยามที่เมล็ดลูกยางทอดลงบนผืนดิน การเติบโตดังกล่าวเปรียบเสมือนกับการทางานของแผนงานฯ ที่มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเมือง
มุ่งมั่นหว่านเมล็ดพันธุ์แห่งความรู้จากงานวิจัยสู่สังคม ด้วยความเชื่อมั่นถึงศักยภาพของท้องถิ่น ที่แต่ละแห่งนั้นอุดมไปด้วยความรุ่มรวยในมิติ
ต่างๆอันเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ทางแผนงานฯยังขอร่วมเชิดชูความรักความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ให้ผลิหน่อจากผืนดินของท้องถิ่น ก่อนเบ่ง
บานเป็น “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง” ที่แกล้วกล้า ให้ร่มเงาและความผาสุกกับผู้คนในที่แห่งนั้น
ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองศูนย์ศึกษามหานครและเมืองศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
22
ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สิถิตพงศ์สถาพร ปาณัท ทองพ่วง
รูปเล่ม: จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ปีที่เผยแพร่: ตุลาคม 2559
furd-rsu.org
ที่อยู่ติดต่อ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
www.facebook.com/furd.rsu
@furd_rsu
FURD RSU
02-938-8826
02-938-8864

More Related Content

What's hot

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559Klangpanya
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015Thana Chirapiwat
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560Kanjana thong
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปสปสช นครสวรรค์
 
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (19)

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
 
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
 

Viewers also liked

PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...FURD_RSU
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...FURD_RSU
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวFURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองFURD_RSU
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนFURD_RSU
 
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาFURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวเมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาPPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตFURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"FURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"FURD_RSU
 

Viewers also liked (20)

PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวเมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาPPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
 

Similar to FURD SUMMIT 2016 REPORT

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...Kanjana thong
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD_RSU
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02BeeEM2
 
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furdโครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา FurdUkrit Chalermsan
 
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2yahapop
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD_RSU
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่เซฟ หัวเกรียน
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...FURD_RSU
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการนวพร คำแสนวงษ์
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)Kanjana thong
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master planBen Cybergigz
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 

Similar to FURD SUMMIT 2016 REPORT (20)

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
strategy PR
 strategy PR strategy PR
strategy PR
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02Random 140804044059-phpapp02
Random 140804044059-phpapp02
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
 
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furdโครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
 
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 

FURD SUMMIT 2016 REPORT

  • 2.
  • 3.
  • 4. 1 EXECUTIVE SUMMARYEXECUTIVE SUMMARYEXECUTIVE SUMMARY บทสรุปผู้บริหาร ตลอดช่วงเวลาของการดาเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่ม โครงการเมืองดีเด่น โดยผู้นาของเมืองที่มีผลงานสร้างสรรค์เมืองเป็นที่ประจักษ์ จะได้รับการ เสนอชื่อเข้ารับมอบรางวัลจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ในวันรับปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังได้ริเริ่มจัดทาโครงการ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ พัฒนาอนาคตของเมือง หรือที่เรียกชื่อย่อว่า FURD หรือแผนงาน นพม. โดยการสนับสนุน ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทั้งนี้ เพื่อมุ่งหวังให้คนในเมือง ไม่ว่าจะเป็นผู้นา ภาคประชาสังคมและนักวิชาการ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของเมืองและ อนาคตที่จะนาไปสู่การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนและมีสุขภาวะ ภาพรวมความเป็นเมืองในปัจจุบัน เมือง ไม่ว่าจะหมายถึง ขอบเขตของพื้นที่หรือสังคมเมือง นับวันยิ่งจะมีความสาคัญ มากขึ้น ด้วยเหตุที่ประชากรของโลกในปัจจุบันร้อยละ 50 อาศัยอยู่ในเขตเมืองและมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น คาดกันว่าจะมีมากถึงร้อยละ 70 ของประชากรโลกในปี ค.ศ. 2050 และ สัดส่วนประชากรโลกที่อยู่ในเขตเมืองมากที่สุดก็อยู่ในแถบเอเชีย สาหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีประชากรอาศัยในเขตเมืองสูงถึงร้อยละ 44 ของ ประชากรทั้งประเทศ หากนับรวม อบต. ขนาดใหญ่และขนาดกลางด้วยแล้ว ยิ่งจะทาให้ความ เป็นเมืองมีมากขึ้น โดยสูงถึงร้อยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ อย่างไรก็ตาม ความเป็นเมืองของไทยมีลักษณะกระจุก จะเห็นได้ในบริเวณ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด ความเป็นเมืองของกรุงเทพฯ และปริมณฑลสูงถึงร้อยละ 76 เพราะมีการขยายพื้นที่เมืองของกรุงเทพฯ ออกไปอย่าง ต่อเนื่อง จนทาให้กรุงเทพฯ กลายเป็นเมืองโตเดี่ยว ซึ่งศาสตราจารย์เกียรติคุณเดชา บุญค้า ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 2 ศิลปินแห่งชาติด้านภูมิสถาปัตย์ ได้กล่าวไว้ว่า กรุงเทพฯ เป็นตัวอย่างที่ดีของการ พัฒนาเมืองที่เลวร้ายที่สุดในโลก ดังนั้น หากไม่ระวัง เมืองใหญ่ในภูมิภาคก็อาจจะ เผชิญกับปัญหาเช่นเดียวกับกรุงเทพฯ เมื่อพิจารณาถึงโครงสร้างประชากรในเขตเมือง โดยเฉพาะเขตเทศบาลนคร จะพบว่าสังคมเมืองวันนี้เป็นสังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากมีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรในเขตเทศบาล ในเกือบทุกพื้นที่ของเทศบาลนคร ยกเว้นเพียงเทศบาลนครแหลมฉบัง และพบว่า เทศบาลนครนนทบุรีมีประชากร ผู้สูงอายุในเขตเมืองเป็นสัดส่วนมากที่สุด ถึงร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด ส่วน เทศบาลเมืองก็เป็นไปทานองเดียวกัน เมืองไทยกาลังขยายความเจริญ ประเทศไทยที่เติบโตมาจนกระทั่งวันนี้ หลายเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มีตัวอย่างที่โดดเด่น ดังนี้ เมืองอุตสาหกรรม อย่าง Eastern Seaboard ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา นอกจากจะเป็นแหล่งอุตสาหกรรมหนักและมีท่าเรือขนส่งสินค้าขนาดใหญ่แล้ว ปัจจุบัน มีประชากรญี่ปุ่นอาศัยอยู่ในศรีราชา 8,000 คน คิดเป็น 60% ของประชากรเมืองศรี ราชา จนได้รับฉายาว่า Little Osaka เมืองประมง ดงโรงงาน อย่างมหาชัย สมุทรสาคร เมืองขนาดเล็ก ที่เต็ม ไปด้วยแรงงานประมงต่างด้าวชาวพม่า ซึ่งดูจะมีจานวนมากที่สุดในประเทศไทยและ ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงเป็นอันดับสามของประเทศ รองจากกรุงเทพฯ และ สมุทรปราการ เท่านั้น เมืองพัทยา เมืองที่ดึงดูดชาวรัสเซีย ซึ่งนิยมเข้ามาเที่ยวและลงทุนมากที่สุด เมืองบุรีรัมย์ ถูกขนานนามว่าเป็นเมืองเศรษฐกิจติดจรวด ถูกพัฒนาให้เป็น Sport City ดึงดูดนักท่องเที่ยวในอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกปี เมืองกรุงเทพฯ ย่านห้วยขวาง ชุมชนแห่งใหม่ของนักธุรกิจชาวจีน จนได้รับ ฉายาว่า เป็นเยาวราชแห่งที่สอง เมืองรังสิต เมืองมหาวิทยาลัยหรือแหล่งการศึกษาแห่งใหม่ โดยพื้นที่รังสิต นับตั้งแต่สนามบินดอนเมืองขึ้นไปตามทางถนนพหลโยธิน ถือเป็นย่านมหาวิทยาลัย เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยชั้นนาถึง 4 แห่ง คือ ม.ราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ม.รังสิต และ ม.กรุงเทพ ศูนย์รังสิต มีจานวน นักศึกษาและบุคลากรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 91 ของจานวนนักศึกษาและบุคลากรทั้ง เขตปทุมธานี หรือประมาณ 118,600 คนจาก 130,000 คน อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของนิคม อุตสาหกรรมนวนคร ที่มีจานวนบริษัทถึง 200 แห่ง เป็นแหล่งจ้างงานขนาดใหญ่ รองรับคนทางานนับหมื่นคน การพัฒนาเมืองโดยคนเมือง ในอดีต เมืองจะเติบโตจากการวางแผนของภาครัฐส่วนกลาง แต่ทุกวันนี้ไม่ได้ หมายความว่า เมืองอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาของรัฐจะหมดโอกาสของการพัฒนา เพราะบทเรียนที่ผ่านมา การพัฒนาจากภาครัฐส่วนกลางไม่ได้สอดคล้องกับความ ต้องการของคนในพื้นที่ แต่จะสังเกตว่า วันนี้เมืองกาลังกลายเป็นสนามใหม่ของนัก สร้างสรรค์และมีจินตนาการ นอกจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว จะมีกรณีตัวอย่างของเมือง มานาเสนอในรายงาน เมืองมีความซับซ้อนมากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย ในฐานะที่คนเป็น สมาชิกของเมือง เราอาจจะต้องคิดทบทวนว่า เราต้องการพัฒนาเมืองหรือไม่ เราจะ พัฒนาเมืองไปเพื่ออะไร เราจะพัฒนาเมืองไปในทิศทางไหน เราจะมีส่วนร่วมพัฒนา เมืองได้อย่างไร และเมื่อไรเราจะลุกขึ้นมาพัฒนาเมืองของเรา ศูนย์ศึกมหานครและเมืองจึงมีความตั้งใจจัดเวทีสาธารณะ “คนสร้างเมือง” ขึ้น เพื่อเปิดมุมมองใหม่ต่อการพัฒนาเมืองของไทย และเพื่อเป็นก้าวแรกของการสานพลัง ภาคีเครือข่ายการพัฒนาเมือง เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนอนาคตเมืองของไทยสู่เมืองสุข ภาวะและยั่งยืน
  • 6. 3 คนเมืองเพิ่มขึ้น คนชนบทลดลง ตั้งแต่ พ.ศ. 2548-2557 ประชากรไทยเพิ่มขึ้นไม่มากเท่าไรนัก แต่ ความเป็นเมืองกลับเติบโตอย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปีจาก พ.ศ. 2552 ที่มีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 36.9 จนกระทั่ง พ.ศ. 2558 เมืองไทยมี ความเป็นเมืองมากถึงร้อยละ 44.4 หรือมีคนอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากถึง 29 ล้านคนทั่วประเทศไทยแล้ว และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นมากเรื่อย ๆ จากการที่คน ในเขตเมืองเติบโตเร็วกว่าประชากรโดยรวม แสดงให้เห็นว่า คนในเขตเมือง กาลังเพิ่มขึ้น ส่วนคนในชนบทกาลังลดลง จากเดิมที่ความเป็นเมืองกระจุกตัวอยู่บริเวณเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลเป็นหลัก กรุงเทพมหานครนับเป็นเมืองโตเดี่ยวขนานแท้ แต่ปัจจุบัน ความเป็นเมืองได้เริ่มแผ่ขยายไปตามภูมิภาคและจังหวัดต่าง ๆ บ้างแล้ว มีเมือง รองเจริญเกิดขึ้นมาให้เห็นมากกว่าแต่ก่อน เช่น ภูเก็ต ชลบุรี เชียงใหม่ ขอนแก่น เป็นต้น อีกทั้งความเป็นเมืองของเกือบทุกจังหวัดก็มีมากกว่าร้อยละ 30 แล้ว แผนภาพที่ 1 ความเป็นเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2546 กับ พ.ศ. 2557 INTRODUCTIONINTRODUCTIONINTRODUCTION สถานการณ์เมืองของไทย ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 7. 4 กรุงเทพฯ และปริมณฑลมีความเป็นเมืองสูงสุด แม้เมืองของไทยจะเติบโตในทุกภูมิภาค แต่หากพิจารณาระดับจังหวัด กรุงเทพฯ ก็ยังมีขนาดประชากรที่สูงมาก โดยถ้าเทียบในระดับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแล้ว กรุงเทพฯ จะมีประชากรมากกว่าเมืองรอง เทศบาลนครนนทบุรี มากถึง 22 เท่า เป็นเหตุให้กรุงเทพฯ และปริมณฑลกลายเป็นภูมิภาคที่มีความเป็น เมืองสูงมากที่สุดในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 76.3 หรือถ้าหากนับรวม อบต. ขนาดใหญ่และ อบต. ขนาดกลาง คนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลจะอาศัยอยู่ในเขต เมืองมากถึงร้อยละ 87.5 เลยทีเดียว ความเป็นเมืองของภูมิภาคอื่นยังมีไม่มากเท่าไรนัก มีเพียงภาคตะวันออกที่มีความเจริญใกล้เคียงเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมากที่สุด โดยเฉพาะจังหวัด ชลบุรี จันทบุรี และระยองที่ล้วนมีความเป็นเมืองมากกว่าร้อยละ 60 ในแง่การเติบโตของประชากรจาก พ.ศ. 2549 - 2558 จังหวัดที่มีคนอาศัยเพิ่มขึ้นโดดเด่นมาก คือ จังหวัดปทุมธานีและภูเก็ต ส่วนจังหวัดที่คนอาศัยลดลงอย่างเห็นได้ชัด คือ แพร่ ลาปาง สิงห์บุรี ชัยนาท พิจิตร และอุตรดิตถ์ สังเกตได้ว่าส่วนใหญ่เป็นจังหวัด ทางภาคเหนือตอนล่างกับภาคกลางตอนบน แผนภาพที่ 2 ประชากรและความเป็นเมืองในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พ.ศ. 2557 ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถานการณ์เมืองของไทย
  • 8. 5 เมืองใหญ่ในภูมิภาคเหนือ กลาง อีสาน ใต้ ในภาคเหนือ จังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูงจะอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบน อย่างจังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา และเชียงราย ล้วนมีคน อาศัยในเขตเมืองมากกว่าร้อยละ 50 ทั้งสิ้น ส่วนพื้นที่อื่นยังคงมีความเป็นเมืองในระดับปานกลาง ส่วนภาคกลาง ส่วนใหญ่ความเป็นเมืองล้วนต่ากว่าร้อยละ 40 ทั้งสิ้น มีเพียงจังหวัดชัยนาทที่ความเป็นเมืองสูงถึงร้อยละ 73.8 ในขณะที่เมือง รองลงมาอย่างสระบุรีและอ่างทองมีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 46.6 และร้อยละ 42.5 ตามลาดับ เท่านั้น ในภาคอีสาน แม้จะเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมาก แต่ความเป็นเมืองไม่ได้สูงมากนัก เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ คนเมืองจะกระจุกตัวอยู่ในอีสาน ตอนกลาง เช่น ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดรธานี เป็นต้น ในภาคใต้ คนอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากในจังหวัดภูเก็ต พัทลุงและสงขลา ส่วนจังหวัดอื่น ๆ ความเป็นเมืองยังไม่มากนัก โดยเฉพาะพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนใต้ที่ความเป็นเมืองค่อนข้างต่ามาก สถานการณ์เมืองของไทย
  • 9. 6 เศรษฐกิจกระจุกตัวในกรุงเทพฯ แต่จังหวัดแถบ อีสานเติบโตเร็วสุด ตลอดสิบปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ พ.ศ. 2548-2557 เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ครองอันดับหนึ่งด้านมูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริง (Real Gross Regional Products หรือ Regional GRP) ภาคตะวันออกตามมาเป็นอันดับสอง แต่ที่โดดเด่นคือ ในช่วงเวลา ดังกล่าว มูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริงภาคอีสานก้าวกระโดดแซงภาคกลางกับภาคใต้ จากอันดับเกือบสุดท้ายกลายมาเป็นภูมิภาคที่มีเศรษฐกิจที่แท้จริงใหญ่เป็นอันดับ สามของประเทศ ในขณะที่จังหวัดที่มูลค่าเศรษฐกิจที่แท้จริงเติบโตเร็วมากที่สุดในช่วงเวลา เดียวกันคือ ภูเก็ต ที่เติบโตเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 9.3 แต่ที่น่าสนใจคือ ใน 10 อันดับแรก ของจังหวัดที่เติบโตเร็วที่สุด เป็นจังหวัดในภาคอีสานมากถึง 4 จังหวัด ได้แก่ เลย อุดรธานี มุกดาหาร และขอนแก่น ฉะนั้น แม้อีสานจะเป็นภูมิภาคที่มีความยากจน มากมาก่อน แต่ในช่วงสิบปีมานี้ เศรษฐกิจอีสานสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วมาก เศรษฐกิจที่เป็นตัวเงิน (Nominal Gross Provincial Products หรือ Nominal GPP) ที่ใหญ่ที่สุดใน พ.ศ. 2557 คือ กรุงเทพมหานคร ที่มีมูลค่าเศรษฐกิจที่เป็นตัวเงิน สูงถึง 4.1 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.4 ของมูลค่าเศรษฐกิจประเทศ ทิ้งห่าง จังหวัดที่ตามมาอย่างระยองและชลบุรีที่มีมูลค่าเศรษฐกิจเพียง 0.87 และ 0.72 ล้าน ล้านบาท ตามลาดับ หากจัดอันดับจังหวัดที่มูลค่าเศรษฐกิจที่เป็นตัวเงินสูงสุด จะ พบว่า ทุกจังหวัดที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลล้วนอยู่ใน 10 อันดับแรก เป็น การตอกย้าว่าเศรษฐกิจประเทศกระจุกตัวในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลสูงมาก ในทางกลับกัน 10 อันดับแรกของจังหวัดที่เติบโตช้าที่สุดในประเทศ ประกอบด้วย จังหวัดในภาคใต้มากที่สุดถึง 6 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา พัทลุง ตรัง และระนอง แผนภาพที่ 3 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภูมิภาคที่แท้จริง ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถานการณ์เมืองของไทย
  • 10. 7 กรุงเทพฯ และปริมณฑลกับใต้พึ่งภาคบริการ ภาคกลางและตะวันออกพึ่งอุตสาหกรรม ภูมิภาคส่วนใหญ่พึ่งพิงเศรษฐกิจภาคบริการเป็นหลัก มีเพียงภาคกลางกับ ภาคตะวันออกเท่านั้นที่พึ่งอุตสาหกรรมเป็นหลัก ภาคเกษตรมีสัดส่วนน้อยมากในทุก ภูมิภาค ภาคใต้เป็นภูมิภาคเดียวที่พึ่งภาคเกษตรมากกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่า เศรษฐกิจภูมิภาคที่แท้จริง ในแง่การเติบโตก็ทานองเดียวกัน ในภาคกลางกับภาคตะวันออก อุตสาหกรรมจะเติบโตโดดเด่นกว่าภาคการผลิตอื่น ๆ ส่วนภาคบริการจะเติบโตโดด เด่นในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลกับภาคใต้ ทั้งสองภูมิภาคมีแนวโน้มพึ่งพา เศรษฐกิจภาคบริการมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างเห็นได้ชัด รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาค ภาคตะวันออก โตเร็วที่สุด ในช่วง พ.ศ. 2538 - 2557 รายได้ต่อหัวทุกภูมิภาคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคตะวันออกที่มีรายได้เติบโตเร็วที่สุด ใน พ.ศ. 2557 ภาคตะวันออกเป็น ภาคที่มีรายได้ต่อหัวมากที่สุด หรือเท่ากับ 4.26 แสนบาทต่อปี แซงหน้ากลุ่มจังหวัด ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เมื่อ พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ จะเห็นว่ารายได้ต่อหัวใน เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลกับภาคตะวันออกสูงกว่า 4 ภูมิภาคที่เหลือค่อนข้างมาก สะท้อนถึงความเหลื่อมล้าทางรายได้ในระดับภูมิภาค ยิ่งไปกว่านั้น หากพิจารณา ระดับจังหวัดแล้ว จะพบว่า ระยองมีรายได้ต่อหัวสูงมากถึง 1 ล้านบาทต่อปี มากกว่า กรุงเทพมหานครเป็นเท่าตัว แผนภาพที่ 4 อัตราการเติบโตเศรษฐกิจแต่ละภาคการผลิต แผนภาพที่ 5 อัตราการเติบโตรายได้ต่อหัว พ.ศ. 2538-2557 ข้อมูลจาก: กระทรวงมหาดไทย คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลจาก: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คานวณโดย: ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถานการณ์เมืองของไทย
  • 11. 8 POLICY THINKERPOLICY THINKERPOLICY THINKER เมืองของไทย คือบ้านของเรา ประเทศไทยทุกวันนี้ไม่ใช่ชนบทอีกต่อไป บ้านเมืองกลายมาเป็นเมือง นคร และมหานครมากขึ้น ประชากรในเขตเมืองใหญ่และเขตเทศบาลทุกประเภท รวมกันมีจานวนมากราวครึ่งหนึ่งของทั้งประเทศ และหากนับรวม อบต. ที่มีรายได้ สูงด้วยแล้ว ก็จะยิ่งเกินกว่าครึ่งหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ จึงยังมีโอกาสดีๆ อีกมหาศาลที่รอ เมือง นคร มหานคร ของเรา พร้อมๆ กับมีปัญหาอีกนานัปการที่จะต้องบาบัด แก้ไขต่อไป อย่างไรก็ดี การบริหารและการพัฒนาของประเทศไทยในปัจจุบันกลับยังมี ลักษณะรวมศูนย์ ไม่ได้มอบหมายให้เมืองและจังหวัดเป็นหน่วยหลักในการพัฒนา ประเทศ กลับใช้แต่กรมและกระทรวงเป็นสาคัญ ดั้งนั้น หากจะวางแผน พัฒนา และแก้ปัญหาเมืองให้ดีจริง จะต้องปฏิรูปให้พื้นที่กลายเป็นหน่วยหลักในการ พัฒนาเสียก่อน เฉพาะหน้านี้ คนในเมืองจะต้องสร้างเมืองด้วยตนเองมากขึ้น ต้องรัก เมือง มีจิตอาสาเพื่อเมือง ร่วมกันดูแลพัฒนาเมือง ทาให้บรรดาเมือง ทั้งหลายของไทยเป็นเสมือน “บ้าน” ของเรา สร้างเมืองโดยชาวเมืองและเพื่อ ชาวเมืองให้มากขึ้น โดย "บ้าน" ต่างจาก "เมือง" ตรงที่มี "โอกาส" ให้สมาชิกใน การดูแลตนเองและมีความ "จาเป็น" ที่สมาชิกจะต้องปกครองตนเองหรือพัฒนา กันเองไปพร้อมกัน จิตสานึกของการรัก “เมือง” เสมือนเป็น “บ้าน” ของตัวเอง เป็นสิ่งที่จะต้องรักษาเอาไว้และขยายไปให้ถึงเมือง นคร และมหานครด้วย แต่ ขณะเดียวกัน คนในเมืองก็ไม่ควรจะหลีกหนีหรือปฏิเสธฝ่ายราชการ แต่ควรสมาน ความร่วมมือและดึงภาครัฐมาเป็นแนวร่วมการพัฒนา ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 12. 9 อนึ่ง ประเทศไทยควรสร้างสิ่งที่เรียกว่า "ผู้สร้างบ้าน แปงเมือง" คน เหล่านี้จะเป็นข้าราชการก็ได้ เป็นผู้นาท้องถิ่นก็ได้ จะเป็นคนธรรมดาก็ได้ เป็น ผู้นาหรือสมาชิกของประชาสังคม จะเป็นครู อาจารย์ นักวิชาการก็ได้ หรือ แม้กระทั่งเป็นชาวบ้านธรรมดาก็ยังได้ แต่คนเหล่านี้จะต้องเป็นเจ้าของเมือง จะต้องรักเมือง จะต้องมีความเป็น “เมืองนิยม” เราจะต้องสร้างหลักนิยมใหม่ เป็นหลักนิยมที่รักเมือง เชิดชูเมือง ชื่นชมเมือง อาจกล่าวได้ว่า คนเหล่านี้คือ "นาย" และ "พล" ประจาการของเมืองที่จะร่วมมือ สร้างสรรค์และพัฒนาเมือง ร่วมกับราชการและท้องถิ่น และภาคเอกชนในแทบทุกด้าน บรรดา "ผู้สร้างบ้าน แปงเมือง" ต้องมองถึงโอกาสของเมืองเป็นหลัก ไม่มองแต่ปัญหา คิดเชิงบวก กล้านาส่วนราชการและท้องถิ่น โดยเน้นการนา ทางความคิดและปัญญาอย่างสุภาพ ไม่แข็งกร้าว สันทัดเป็นพิเศษในการ ทางานอย่างไม่เป็นทางการแต่ได้ผล พร้อมทั้งเคารพกฎระเบียบและกฎหมาย กล่าวโดยสรุป ในการบริหารและการพัฒนาเมืองทุกวันนี้ ไม่เพียงแต่ จะต้องอาศัยเงิน และบุคลากรของภาครัฐและท้องถิ่นเป็นพื้นฐาน ไม่เพียงแต่ จะต้องมีความรู้และวิสัยทัศน์ของทางการซึ่งเพรียบพร้อมไปด้วยศิลปวิทยาและ เทคโนโลยีเท่านั้น หากยังจะต้องอาศัยการปลูกฝังความรักเมือง นิยมเมือง และ ภูมิใจในเมือง ให้คนอยากอาสามาพัฒนาเมืองด้วย สิ่งนี้จะเป็นหลักนิยมใหม่ที่ จะเคียงคู่ไปด้วยกันกับ "ชาตินิยม" ที่ปลูกฝังกันมานานแล้ว เมืองของไทย คือบ้านของเรา
  • 13. 10 MAYOR PERSPECTIVEMAYOR PERSPECTIVEMAYOR PERSPECTIVE การพัฒนาเมืองในทัศนะผู้นาเมืองยุคใหม่ เมืองน่าอยู่ กายภาพก็สาคัญ แต่สาคัญกว่าคือคน ผู้พัฒนาเมืองทุกคนต่างมีเป้าหมายมุ่งสู่เมืองน่าอยู่เป็นสาคัญ เรื่องกายภาพ หรือโครงสร้างพื้นฐานของเมือง เป็นสิ่งที่ต้องทาอยู่แล้ว แต่ขอนแก่นไม่ใช่เมืองที่มีแค่ ถนนดีๆ มีสายไฟลงดิน องค์ประกอบของเมืองน่าอยู่ที่สาคัญที่สุด คือ “คน” เมืองจะน่าอยู่ได้ ต้องผ่านกระบวนมีส่วนรวมของคนให้มากที่สุด ขอนแก่น วันนี้จึงมีเวทีภาคประชาชนหลายร้อยเวที ที่สาคัญที่สุดคือ เวทีสภาเมือง ทุก โครงการผ่านการโต้เถียงของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกเรื่องที่เป็นเรื่องความขัดแย้ง เมื่อ ผ่านกระบวนการสภาเมือง จะสามารถแก้ไขได้หมด ฉะนั้น เมืองน่าอยู่ จึงไม่ใช่แค่ โครงสร้างพื้นฐานดีเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของ คนเมืองที่ต้องรักกัน เข้าใจกัน ผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมของเมืองไปด้วยกัน การก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมือง หรือ kktt เพื่อระดมทุนสร้างระบบขนส่งมวลชนใน เมืองขอนแก่นด้วยตนเอง ขณะนี้โครงการได้รับการอนุมัติแล้ว บริษัทตั้งแล้วด้วยการ ระดมทุนจากเอกชนคนละ 10 ล้านบาท จานวน 20 แห่ง ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท สิ่งสาคัญที่ทาให้โครงการเดินหน้าต่อได้ ทั้งๆ ที่ไม่ใช่อานาจหน้าที่ที่ท้องถิ่นจะทาได้ แต่เพราะความร่วมมือของคนขอนแก่น การถักทอทั้งภาคเอกชน ภาคประชาชน ผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมหลากหลายเวที จนวันนี้รัฐส่วนกลางต้องยอมรับและอนุมัติให้ เดินต่อได้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า การขับเคลื่อนเมือง แม้จะติดขัดกฎระเบียบ แต่หากคน ในเมืองสู้ ประสานความร่วมมือ ท้ายที่สุด คนในเมืองย่อมรู้ปัญหา รู้ศักยภาพของ ตัวเองได้ที่สุด พร้อมแก้ปัญหา ต่างจากคนของส่วนกลางที่ส่งมาที่สุดท้ายต้องปรับตัว เข้าหาคนในเมือง
  • 14. 11 เมืองจะพัฒนาได้ ท้องถิ่นต้องไม่ยอมจานน ตลอด 10 กว่าปีที่ผ่านมา เป็นที่รู้กันว่า พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เกิด ปัญหาความขัดแย้ง มาตลอด อย่างไรก็ตาม เทศบาลนครยะลา ให้ข้อคิดที่สาคัญว่า แม้จะเกิดอุปสรรคแค่ไหน ท้องถิ่นต้องไม่ยอมจานนต่อปัญหา ยิ่งเป็นแรงผลักดันให้ ยะลาต้องเร่งพัฒนาตัวเอง ปัจจุบันเมืองยะลาได้พัฒนาเมืองด้วยหลัก 6 Cs คือ  Cleanness เมืองยะลา เป็นเมืองแห่งความสะอาดมาแต่อดีต ฉะนั้นความอยู่ รอดของเมือง ขึ้นอยู่กับความสะอาดของเมือง ให้ความสาคัญกับการลดขยะ มากกว่าแยกขยะ ต้องสร้างให้คนยะลารู้สึกเป็นเจ้าของเมือง (sense of be- longing) เพื่อดูแลไม่ให้ใครทาให้เมืองสกปรก  Collaboration เนื่องจากเมืองมีลักษณะพิเศษ คือสังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมจึงสาคัญ เพราะจะสามารถตอบโจทย์ให้กลุ่มคนในสังคมจัดการ มีส่วนร่วม ตั้งแต่ในระดับชุมชน ประชุมประจาเดือน จนถึงระดับสภา ประชาชน วาระของเมือง (city agenda) จะถูกขับเคลื่อนผ่านเวทีเหล่านี้  Connectivity การเชื่อมโยงของคนในสังคม เน้นเรื่องจราจร เชื่อมโยงคนให้ เข้าหากัน  Culture ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของยะลา คือ การอยู่ร่วม ของคนสามเชื้อชาติ ท้องถิ่นจึงให้ความสาคัญกับทุกศาสนาอย่างเท่าเทียม ดาเนินการต่อยอดวัฒนธรรมให้เป็นรายได้ เช่น การจัดงาน มลายู เดย์ ออฟ ยะลา และจะต่อยอดร่วมกับมาเลเซีย และอินโดนีเซีย พร้อมปลูกฝังให้ เยาวชนเข้าใจความแตกต่างศาสนา  Competitive ความสามารถในการแข่งขัน ทุ่มเทงบประมาณการศึกษา การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเรียนภาษาอังกฤษ ทาวิจัยสินค้าเกษตร เช่น ส้มโชกุน พร้อมเปิดตลาดสินค้าในต่างประเทศ เพื่อให้คนยะลามีความ ได้เปรียบทางการแข่งขันได้  Comfort ทาให้คนยะลา มีความสุขกายสุขใจเมื่อยังอยู่ยะลา พงษ์ศักดิ์ ยิ่งจนมเจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา ธีระศักดิ์ ฑีฆายุพันธุ์ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น รศ.ดร.อดิศร์ อิศรางกูล ณ อยุธยา (ผู้ดาเนินรายการ) อดีตคณบดีคณะพัฒนาเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คุณสมบัติของผู้นาเมืองยุคใหม่ 1. ผู้นาต้องมีสานึกรักท้องถิ่น 2. ผู้นาท้องถิ่น ต้องแยกเรื่องระหว่างเรื่องส่วนตัว (individual) และเรื่อง ส่วนรวม (public) 3. ผู้นาต้องไม่หลงตัวเอง สามารถฟังคาเตือนได้ 4. ผู้นาต้องยืดหยัดต่อสู้กับปัญหาและยืดเคียงข้างประชาชน 5. ผู้นาต้องให้ความสาคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วมให้มากที่สุด 6. ผู้นาต้องมีวิสัยทัศน์ 7. ผู้นาต้องพัฒนาตัวเองอย่างสม่าเสมอ 8. ผู้นาต้องทางานหนัก มีสานึกความผิดชอบ 9. ผู้นา ต้องสร้างผู้นา ผู้นาต้องสร้างคนรุ่นใหม่เสมอ การพัฒนาเมืองในทัศนะผู้นาเมืองยุคใหม่
  • 15. 12 CIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATIONCIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATIONCIVIL SOCIETY & URBAN INNOVATION ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง Social Enterprise กับการอนุรักษ์และพัฒนา เศรษฐกิจเมืองจันทบูร ชุมชนริมน้าจันทบูร เป็นชุมชนเก่าในจังหวัดจันทบุรีที่ใช้กระบวนการ อนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วมภายใต้แนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) มาใช้จนเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีหลักคิดคือ ชุมชนจะต้องร่วมเป็น เจ้าของ และร่วมรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยตรงจากการอนุรักษ์ โดยเริ่ม จากการก่อตั้งบริษัทชุมชนภายใต้ชื่อ “บริษัท จันทบูรรักษ์ดี จากัด แล้วจึงเริ่ม ออกแบบ ปรับปรุง ฟื้นฟูอาคารสถาปัตยกรรมเรือนไม้เก่าเพื่อพัฒนาเป็น โรงแรมในลักษณะแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ (Historic Inn) และระดมทุน จากผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นคนในชุมชน ตลอดจนปรับปรุงพื้นที่ทั่วทั้งชุมชนให้กลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แห่งใหม่ สร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้าน ความสาเร็จที่เกิดขึ้นทาให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นตัวอย่างของการอนุรักษ์ย่าน ชุมชนเก่าในนาม “จันทรบูรโมเดล” อ.ธิป ศรีสกุลไชยรัก อาจารย์ประจาสถาบันอาศรมศิลป์ อ. ปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์ นักวิชาการอิสระ ผู้ดาเนินรายการ
  • 16. 13 สาดสีเมืองสาย ศิลปะกับการพัฒนาเมืองสายบุรี สายบุรี ลุคเกอร์ (Saiburi Looker) เป็นการรวมกลุ่มของคนรุ่นใหม่ใน พื้นที่ที่เฝ้ามองปรากฏการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเมืองสายบุรี จนนาไปสู่ การฟื้นฟูความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและค้นหาคาอธิบายความสัมพันธ์ทางกร เมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมผ่านเรื่องเล่าจากผู้คนหลากหลายที่ถ่ายทอด ถึงตัวตนของคนสายบุรีและความเป็นสายบุรีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การรวมตัว ดังกล่าว นอกจากมีเป้าหมายเพื่อค้นหาร่องรอยและทาความเข้าใจที่มาที่ไปของ ตนเองแล้ว ยังมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเข้าใจกับบุคคลทั้งที่เป็นคนในพื้นที่และ บุคคลภายนอกโดยสื่อสารผ่านกิจกรรมทางศิลปะเป็นหลัก รวมถึงสื่อสมัยใหม่ อาทิ หนังสั้น และสื่อ Social Media อื่นๆ เพื่อให้มีพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของคนที่มีความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ ศาสนา นาไปสู่การลดความขัดแย้ง สร้างสังคมที่เข้มแข็ง มีสุขภาวะที่ดีและยั่งยืน อานัส พงษ์ประเสริฐ ประธานกลุ่ม Saiburi Looker ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
  • 17. 14 มือเย็น เมืองเย็น เป็นการรวมตัวของอาสาสมัครที่ต้องการเพิ่มจานวน พื้นที่สีเขียวในเมืองเชียงใหม่ที่ปัจจุบันเริ่มประสบปัญหามลพิษและความแออัด โดย ใช้แนวคิดในการจัดกิจกรรมที่สนุก สร้างแรงบันดาลใจและความสนใจให้คน เชียงใหม่ได้ลงมือพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองร่วมกัน คือ แคมเปญท้าปลูกต้นไม้ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การใช้บุคคลมีชื่อเสียงเพื่อจูงใจคนให้มาร่วมกิจกรรม รวมทั้งกาหนดบทลงโทษที่สนุกสนานอย่างการให้กระโดดน้าคูเมืองเชียงใหม่กรณี ที่ผู้ใดทาต้นไม้ที่ต้นปลูกตาย กิจกรรมเหล่านี้มีส่วนสาคัญในการหล่อหลอมให้คนใน พื้นที่เกิดความรับผิดชอบและมีสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยเต็มใจ จนถึง ปัจจุบัน กิจกรรมของกลุ่มมือเย็น เมืองเย็นประสบความสาเร็จมาก โดยสามารถ ขยายจานวนผู้เข้าร่วมโครงการได้เป็นจานวนมาก ทั้งยังพัฒนาไปสู่การประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มากขึ้นอีกด้วย ฐิติยากรณ์ นาคกลิ่นกุล กลุ่มมือเย็น เมืองเย็น Social Media ระดมพลังคนเมืองเชียงใหม่ ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
  • 18. 15 บ้านสวนกง อาเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ชุมชนชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่างที่ หล่อเลี้ยงเมืองสงขลามาอย่างยาวนานกาลังเผชิญกับภัยคุกคามทั้งจากธรรมชาติ และน้ามือมนุษย์ ซึ่งที่ผ่านมา การขับเคลื่อนประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมมักเน้นไปใน เชิงลบทั้งการต่อสู้และต่อต้าน แต่กลับไม่ได้ผล การขับเคลื่อนประเด็นด้าน สิ่งแวดล้อมเชิงบวกจึงถูกนามาใช้ผ่านภาคประชาสังคมในพื้นที่ซึ่งพยายามพัฒนา ชุมชนบ้านสวนกงให้เป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อการศึกษาโดยร่วมมือกับ นักวิชาการในการออกแบบวางผังพิพิธภัณฑ์ให้สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ของพื้นที่ มีเป้าหมายเพื่อสร้างกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนสร้างการเรียนรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืนและไม่เบียดเบียน ธรรมชาติ ศุทธิดา วงศ์เทียมชัย นักภูมิสถาปัตย์ กิตติภพ สุทธิสว่าง ศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติเพื่อชุมชน พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติบ้านสวนกงกับการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
  • 19. 16 Inclusive Business กับการพัฒนาย่านเมืองสาราญราษฎร์ การรักษาและฟื้นฟูย่านเมืองเก่าที่เคยเป็นแหล่งพาณิชยกรรมและ ย่านศิลปวัฒนธรรมที่สาคัญของเมืองให้คงอยู่ได้ในยุคปัจจุบันสามารถทาได้ หลายวิธี แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) เป็นแนวคิด หนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อเชื่อมโยงชุมชนกับการท่องเที่ยว เน้นให้เกิดการกระจาย รายได้จากการท่องเที่ยวไปสู่ชุมชนด้วยการสร้างธุรกิจการท่องเที่ยวที่ เชื่อมโยงคนในชุมชนเข้าสู่ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว ผลที่ได้จึงเป็นการสร้างธุรกิจร่วมกัน ดังเช่น Once Again Hostel โฮสเทลเพื่อชุมชนเมืองย่านสาราญราษฎร์ที่ริเริ่มโดยศานนท์ หวังสร้างบุญ ซึ่งปรับปรุงโรงพิมพ์เก่ามาเป็นที่พักสาหรับนักท่องเที่ยว ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเกาะ รัตนโกสินทร์และมีจุดเด่นตรงที่ผสานเสน่ห์ทางวัฒนธรรมของชุมชนโดยรอบ 4 ชุมชนที่กาลังจะหายไป กิจกรรมลักษณะนี้ช่วยให้ชุมชนไม่ละทิ้งมรดกที่สืบ ทอดกันมา ทั้งยังเปลี่ยนมรดกเหล่านี้ให้เป็นทุนที่มีศักยภาพ สามารถสร้าง มูลค่าจากการท่องเที่ยวได้ อันจะทาให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีและลดช่องว่าง ระหว่างรายได้ได้อีกทางหนึ่ง ศานนท์ หวังสร้างบุญ เจ้าของธุรกิจโฮสเทลเพื่อชุมชน ภาคประชาสังคมกับนวัตกรรมเมือง
  • 20. 17 HEALTH & WELL BEING IN METROPOLISHEALTH & WELL BEING IN METROPOLISHEALTH & WELL BEING IN METROPOLIS สิทธิการมีสุขภาวะที่ดีในเมืองใหญ่ สิ่งที่อยากจะโยงคือเรื่องสุขภาพกับการพัฒนาเมือง สองเรื่องนี้ไปด้วยกัน ประเด็นคือ คุณจะมีสุขภาพดีคุณพึ่งแค่หมอกับการดูแลตัวเองไม่ได้ คุณต้องดูแล สิ่งแวดล้อมของคุณด้วย เราเชื่อว่าสุขภาพจะดีได้คุณก็ต้องออกแบบสิ่งแวดล้อมที่ ดีด้วย ที่ทาให้สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมที่จะพูดวันนี้คือเรื่องของเมือง เรื่องสุขภาวะนั้นคนทั่วไปอาจจะมองเป็นเรื่องสุขภาพดีไม่ดีของคนๆหนึ่ง แต่ใน ระดับเมืองนั้น สุขภาพดีของคนๆ หนึ่งทาให้สุขภาพของอีกคนดีไปด้วยหรือไม่ เช่น การ ขับรถติดแอร์ทาให้คนข้างในรถเย็นแต่ทาให้อากาศภายนอกร้อนขึ้น รถเมล์ร้อน คนขับ ตุ๊กๆ ร้อน มีประเทศไหนที่เรียกรถเมล์ว่ารถเมล์ร้อน รถเมล์ร้อนนั้นร้อนเพราะตัวรถเมล์ ร้อนเองหรือร้อนเพราะรถที่อยู่โดยรอบทาให้อากาศร้อนขึ้น เพราะฉะนั้น ความสาคัญของ เรื่องสุขภาพคือการถามว่า การที่ตัวคุณดีแล้ว ทาให้คนอื่นแย่ลงหรือเปล่า ผมคิดว่านี่เป็น คาถามสาคัญที่ผมพูดตลอดเวลาเรื่องเมืองและการเมืองของเมือง ประเด็นนี้ยังเป็นแค่ เรื่องตัวคุณกับคนอื่น แต่ในคาถามระยะยาวกว่านั้น คือถามว่าสุขภาพดีแล้วยั่งยืนไหม เรื่องความยั่งยืนของเมืองก็ตามมา จากแนวคิดการพัฒนาเมืองแบบ Sustainability วันนี้ พัฒนามาสู่ Resilience แล้ว เช่น ฝนตกน้าท่วม วันพรุ่งนี้จะฟื้นไหม หัวใจสาคัญที่ผมพยายามจะบอกก็คือ เวลาที่เราพูดถึงเรื่องการเมืองในเมืองหรือ Urban Politics เป็นการพูดถึงชีวิต พูดถึงการใช้ชีวิตนี่แหละ การเมืองของการมีชีวิตอยู่ อาจจะไม่ได้พูดเรื่องใหญ่โตประเภทอานาจอธิปไตย การแบ่งสรรอานาจระหว่างบริหาร ตุลาการ แต่พูดถึงคาถามง่ายๆ ว่าสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของคุณ น้า อากาศ ที่พัก จะทา ให้ดีอย่างไร ไม่ได้ตั้งต้นที่ว่าหน่วยราชการหน่วยไหนมีหน้าที่อะไร แต่ถามก่อนว่าอะไรที่ ทาให้เกิดสุขภาวะที่ดี (Well-Being) รอบตัวคุณ แล้วคุณเกี่ยวข้องกับตรงนั้นอย่างไร ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 21. 18 ยกตัวอย่างเรื่องการสร้างคอนโดมิเนียมจานวนมากในปัจจุบันว่ากาลังจะก่อให้เกิดวิกฤตกับสุขภาวะของคนเมืองอย่างยิ่งในเรื่องการกิน คอนโดมิเนียมสร้างขึ้นโดยทาลายตลาด กาจัดแผงอาหารริมทางออกไป แต่ไม่มีคอนโดมิเนียมแห่งใดคิดสร้างศูนย์อาหารในคอนโดขึ้นมาทดแทน เพราะกลัวเรื่องแมลง ทุกวันนี้ คนเมืองจึงกาลังเผชิญวิกฤตของการไม่มีอาหารที่คุณภาพดีและราคาเข้าถึงได้ทานในเมืองใหญ่ เพราะนอกจาก คอนโดมิเนียมแล้ว การพัฒนาเมืองในแนวทางของผังเมืองที่คิดแต่ว่า Public Space จะต้องเป็นแต่สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว ลานออกกาลังกาย แต่ไม่มีใครคิดถึงการสร้างหรือรักษาพื้นที่ในการรับประทานอาหาร ทุกวันนี้สัญญาณของวิกฤตอาหารในเมืองใหญ่มีให้เห็นแล้วจากการที่คนที่ อาศัยในคอนโดมิเนียมราคาหลักล้านต้องมายืนซื้ออาหารริมถนน สิทธิการมีสุขภาวะที่ดีในเมืองใหญ่
  • 22. 19 หนังสือแนะนาหนังสือแนะนาหนังสือแนะนา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า จุดหนังสือเมือง วิธีการสั่งซื้อ 1. Inbox ทาง Page Facebook : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ตลอด 24 ชั่วโมง 2. ติดต่อเบอร์ 02-938-8826 ในเวลาราชการ
  • 23. 20
  • 24. 21 ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ พัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) หรือ Future Urban Development (FURD) ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) โดยการสนับสนุนของ ชสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทางแผนงานฯ มีความสนใจด้านการพัฒนาเมือง คลังปัญญา เรื่องเมือง สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมือง อีกทั้งมีการสื่อสารความรู้ที่ทางแผนงานฯได้ทาการศึกษา วิจัยสู่สาธารณะ โลโก้ของแผนงานฯ ยังได้สื่อถึงความเป็นแผนงานฯและทิศทางการทางานได้อย่างชัดเจน โดย F U R D ที่ปรากฏในโลโก้นั้นเป็น อักษรย่อของFuture Urban Development เมื่อพิจารณาถึงสีโลโก้ที่ปรากฏสีเขียวสื่อถึงการงอกงามตามธรรมชาติ และสีน้าตาลสื่อความ หมายถึงผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ เป็นการคาดหวังที่ต้องการเห็นการพัฒนาเมืองที่ไม่เพียงรุดหน้าในทางวัตถุเท่านั้น หากยังต้องใส่ใจถึงการ พัฒนามิติอื่นๆไปพร้อมกัน เพื่อมุ่งสู่เมืองที่สมดุล สร้างความสุขแก่ผู้คนอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ที่ตัวอักษร D ของโลโก้นั้นถูกออกแบบให้มีลักษณะคล้าย “ลูกยางนา” เพื่อสื่อความหมายถึงความสามารถในการเจริญ งอกงามในยามที่เมล็ดลูกยางทอดลงบนผืนดิน การเติบโตดังกล่าวเปรียบเสมือนกับการทางานของแผนงานฯ ที่มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเมือง มุ่งมั่นหว่านเมล็ดพันธุ์แห่งความรู้จากงานวิจัยสู่สังคม ด้วยความเชื่อมั่นถึงศักยภาพของท้องถิ่น ที่แต่ละแห่งนั้นอุดมไปด้วยความรุ่มรวยในมิติ ต่างๆอันเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ทางแผนงานฯยังขอร่วมเชิดชูความรักความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ให้ผลิหน่อจากผืนดินของท้องถิ่น ก่อนเบ่ง บานเป็น “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง” ที่แกล้วกล้า ให้ร่มเงาและความผาสุกกับผู้คนในที่แห่งนั้น ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองศูนย์ศึกษามหานครและเมืองศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 25. 22 ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สิถิตพงศ์สถาพร ปาณัท ทองพ่วง รูปเล่ม: จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ปีที่เผยแพร่: ตุลาคม 2559 furd-rsu.org ที่อยู่ติดต่อ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900 www.facebook.com/furd.rsu @furd_rsu FURD RSU 02-938-8826 02-938-8864