SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 4 ระบบประสาท




                      ศูนย์ การเรียนที่ 3
                 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสั นหลัง
                     ไปศึกษากันต่ อนะว่า ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างและ
                     หน้ าที่ เหมือนหรือแตกต่ างจากสมองอย่างไรบ้ าง




                                                     ไปซิ จะรอช้ าทาไม
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                            ชุดที่ 4 ระบบประสาท    22




                                       บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3
                               โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง
          โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
          1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
          2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง หมายเลข 01 พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
          3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                    ้
          4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม        ิ
          5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
          6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                 ิ
               ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
               ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   23




                                      บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3
                                             ้

                              โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง

                  รู้ ไหม ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร
                                                                            ่




                                            โครงสร้ างไขสั นหลัง
      ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm
        ่
             637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )

   จุดประสงค์ การเรียนรู้
         1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของไขสั นหลังได้
         2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของไขสั นหลังได้
                                    ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   24




                                       โครงสร้ างไขสันหลัง
          ไขสั นหลัง (spinal cord)
           ไขสั นหลังอยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังข้ อแรกบริเวณคอจนถึง
  กระดูกบั้นเอวข้ อที่ 2 ถัดจากส่ วนนีไปจะเรียวเล็กลงเป็ นเพียงส่ วนของเยือหุ้มสมองชั้ นใน
                                      ้                                     ่
  เนือไขสั นหลังด้ านนอกเป็ นสี ขาว เพราะมีเฉพาะใยประสาททีมีเยือไมอีลน และเนือไขสั นหลัง
      ้                                                        ่ ่        ิ       ้
  ด้ านในมีสีเทาเพราะ มีตัวเซลล์ ประสาทและใยประสาททีไม่ มเี ยือไมอีลนหุ้ม
                                                          ่      ่      ิ




                             ภาพแสดงลักษณะโครงสร้ างของไขสั นหลัง
          ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm
            ่
                 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                          ชุดที่ 4 ระบบประสาท     25




          เนือไขสั นหลังประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ
             ้
           1. White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก
           2. Gray matter มีสีเทา อยู่ด้านใน รู ปร่ างคล้ ายปี กผีเสื้อ หรือรู ปตัว H ประกอบด้ วย
 ปี กบน (dorsal horn) เป็ นบริเวณรับความรู้ สึก (sensory area) เพราะ กระแสความรู้ สึกมาจาก
 เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) ทีอยู่ในปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion)
                                              ่
 ดังนั้นรากบนจึงเป็ นเส้ นประสาทรับความรู้ สึก (sensory pathway)
      ปี กล่าง (ventral horn) เป็ นบริเวณนาคาสั่ ง (motor area) เพราะมีแอกซอนของเซลล์
 ประสาทนาคาสั่ งจะยืนออกไปกลายเป็ นรากล่าง (ventral root) ซึ่งทาหน้ าที่นากระแสคาสั่ ง
                         ่
 ออกไป ดังนั้นรากล่างจึงเป็ นเส้ นประสาทนาคาสั่ ง (motor pathway) ทั้งรากบนและรากล่าง
 จะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไขสั นหลัง
      ปี กข้ าง (lateral horn) เป็ นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic area)
 เพราะมีเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งตัวที่ 1 ของระบบประสาทอัตโนวัติปรากฏอยู่




                          ภาพแสดงปี กบนและปี กล่างของไขสั นหลัง
        ทีมา: http//www.computer.act.ac.th/.../f_f06drg&ah%5B1%5D.jpg 637 x 372 - 45k
          ่
              ( 5 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 4 ระบบประสาท   26




                                        หน้ าที่ของไขสันหลัง


      1.   เป็ นศู นย์ กลางของการเคลือนไหวต่ าง ๆ ทีตอบสนองการสั มผัสทางผิวหนัง
                                       ่                  ่
      2.   เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัติการ
      3.    เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างไขสั นหลังกับสมอง
      4.   เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์
                                   ิ
      5.   ถ้ าเซลล์ ประสาทในไขสั นหลังถูกทาลาย ร่ างกายจะไม่ สามารถรับรู้ ความรู้ สึกและ
           ทางานได้ เป็ นปกติ เช่ น เซลล์ประสาทไขสั นหลังบริเวณเอวถูกทาลาย
           อวัยวะทีอยู่ต่ากว่ าเอวจะไม่ สามารถรับความรู้ สึกหรือตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้
                     ่




                                         โครงสร้ างไขสั นหลัง
           ทีมา : http://www.neuron.th.gs/web-n/euron/f_f06drg&ah%255B1%255D.jpg
             ่
                 637 x 372 - 45k (5 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                           ชุดที่ 4 ระบบประสาท         27




                                        บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3
                                       โครงสร้ างไขสันหลัง
   คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
                                    ่         ่
                ลงในกระดาษคาตอบ
       1.   เส้ นประสาทไขสั นหลังของคนเรามีท้งหมดกีค่ ู
                                                    ั     ่
                 ก. 12 คู่
                 ข. 13 คู่
                 ค. 21 คู่
                 ง. 31 คู่
       2.   ไขสั นหลังเป็ นศูนย์ กลางการทางานของสิ่ งใด
                 ก. พฤติกรรม
                 ข. ไซแนปส์
                 ค. การเคลือนไหว
                              ่
                 ง. รีเฟลกซ์ แอกชั่น
       3.   ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของไขสั นหลัง
                            ้
                 ก. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์
                                              ิ
                 ข. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตการ
                                                                               ิ
                 ค. เป็ นศู นย์ ควบคุมความจา ความคิด การหายใจและการเต้ นของหัวใจ
                 ง. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสั นหลัง
       4.   การชั กเท้ าขึนทันทีเมื่อเดินเหยียบตะปู เป็ นการกระทาทีเ่ กิดจากการสั่ งงานของสิ่ งใด
                          ้
                 ก. เซรีบรัม
                 ข. ไขสั นหลัง
                 ค. กล้ามเนือขา ้
                 ง. เซรีบรัมและไขสั นหลัง
       5.   ข้ อใดคือไขสั นหลัง
                 ก. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2
                 ข. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
                 ค. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2
                 ง. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 4 ระบบประสาท   28




                                           บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3

                                   โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง


                                                1.   ง
                                                2.   ง
                                                3.   ค
                                                4.   ข
                                                5.   ก



                    ไปศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป หมุนเวียน
                                             ่
                         ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะครับ

More Related Content

What's hot

What's hot (9)

ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 

Viewers also liked (6)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4

ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4 (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (14)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสั นหลัง ไปศึกษากันต่ อนะว่า ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างและ หน้ าที่ เหมือนหรือแตกต่ างจากสมองอย่างไรบ้ าง ไปซิ จะรอช้ าทาไม
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 22 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง หมายเลข 01 พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 23 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3 ้ โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง รู้ ไหม ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร ่ โครงสร้ างไขสั นหลัง ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm ่ 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของไขสั นหลังได้ 2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของไขสั นหลังได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 24 โครงสร้ างไขสันหลัง ไขสั นหลัง (spinal cord) ไขสั นหลังอยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังข้ อแรกบริเวณคอจนถึง กระดูกบั้นเอวข้ อที่ 2 ถัดจากส่ วนนีไปจะเรียวเล็กลงเป็ นเพียงส่ วนของเยือหุ้มสมองชั้ นใน ้ ่ เนือไขสั นหลังด้ านนอกเป็ นสี ขาว เพราะมีเฉพาะใยประสาททีมีเยือไมอีลน และเนือไขสั นหลัง ้ ่ ่ ิ ้ ด้ านในมีสีเทาเพราะ มีตัวเซลล์ ประสาทและใยประสาททีไม่ มเี ยือไมอีลนหุ้ม ่ ่ ิ ภาพแสดงลักษณะโครงสร้ างของไขสั นหลัง ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm ่ 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 25 เนือไขสั นหลังประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ ้ 1. White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก 2. Gray matter มีสีเทา อยู่ด้านใน รู ปร่ างคล้ ายปี กผีเสื้อ หรือรู ปตัว H ประกอบด้ วย ปี กบน (dorsal horn) เป็ นบริเวณรับความรู้ สึก (sensory area) เพราะ กระแสความรู้ สึกมาจาก เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) ทีอยู่ในปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) ่ ดังนั้นรากบนจึงเป็ นเส้ นประสาทรับความรู้ สึก (sensory pathway) ปี กล่าง (ventral horn) เป็ นบริเวณนาคาสั่ ง (motor area) เพราะมีแอกซอนของเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งจะยืนออกไปกลายเป็ นรากล่าง (ventral root) ซึ่งทาหน้ าที่นากระแสคาสั่ ง ่ ออกไป ดังนั้นรากล่างจึงเป็ นเส้ นประสาทนาคาสั่ ง (motor pathway) ทั้งรากบนและรากล่าง จะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไขสั นหลัง ปี กข้ าง (lateral horn) เป็ นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic area) เพราะมีเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งตัวที่ 1 ของระบบประสาทอัตโนวัติปรากฏอยู่ ภาพแสดงปี กบนและปี กล่างของไขสั นหลัง ทีมา: http//www.computer.act.ac.th/.../f_f06drg&ah%5B1%5D.jpg 637 x 372 - 45k ่ ( 5 เมษายน 2550 )
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 26 หน้ าที่ของไขสันหลัง 1. เป็ นศู นย์ กลางของการเคลือนไหวต่ าง ๆ ทีตอบสนองการสั มผัสทางผิวหนัง ่ ่ 2. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัติการ 3. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างไขสั นหลังกับสมอง 4. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์ ิ 5. ถ้ าเซลล์ ประสาทในไขสั นหลังถูกทาลาย ร่ างกายจะไม่ สามารถรับรู้ ความรู้ สึกและ ทางานได้ เป็ นปกติ เช่ น เซลล์ประสาทไขสั นหลังบริเวณเอวถูกทาลาย อวัยวะทีอยู่ต่ากว่ าเอวจะไม่ สามารถรับความรู้ สึกหรือตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้ ่ โครงสร้ างไขสั นหลัง ทีมา : http://www.neuron.th.gs/web-n/euron/f_f06drg&ah%255B1%255D.jpg ่ 637 x 372 - 45k (5 เมษายน 2550)
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 27 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3 โครงสร้ างไขสันหลัง คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ่ ่ ลงในกระดาษคาตอบ 1. เส้ นประสาทไขสั นหลังของคนเรามีท้งหมดกีค่ ู ั ่ ก. 12 คู่ ข. 13 คู่ ค. 21 คู่ ง. 31 คู่ 2. ไขสั นหลังเป็ นศูนย์ กลางการทางานของสิ่ งใด ก. พฤติกรรม ข. ไซแนปส์ ค. การเคลือนไหว ่ ง. รีเฟลกซ์ แอกชั่น 3. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของไขสั นหลัง ้ ก. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์ ิ ข. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตการ ิ ค. เป็ นศู นย์ ควบคุมความจา ความคิด การหายใจและการเต้ นของหัวใจ ง. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสั นหลัง 4. การชั กเท้ าขึนทันทีเมื่อเดินเหยียบตะปู เป็ นการกระทาทีเ่ กิดจากการสั่ งงานของสิ่ งใด ้ ก. เซรีบรัม ข. ไขสั นหลัง ค. กล้ามเนือขา ้ ง. เซรีบรัมและไขสั นหลัง 5. ข้ อใดคือไขสั นหลัง ก. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2 ข. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก ค. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2 ง. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 28 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง 1. ง 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก ไปศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป หมุนเวียน ่ ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะครับ