SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
การทางานของระบบประสาทและ
อวัยวะรับความรู้สึก
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
การทางานของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
• 1. การทางานของระบบประสาท
• 2. อวัยวะรับสัมผัส (sensory organ)
• 2.1 ตากับการมองเห็น
• 2.2 หูกับการรับเสียงและการทรงตัว
• 2.3 จมูกกับการรับกลิ่น
• 2.4 ลิ้นกับการรับรสชาติ
• 2.5 ผิวหนังกับการรับสัมผัส
การทางานของ
ระบบประสาท
ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลาย
(PERIPHERAL NERVOUS SYSTEM = PNS)
1. ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ (voluntary nervous system) หรือ ระบบประสาทโซมาติก (somatic
nervous system)
- ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมองและไขสันหลัง
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system) หรือ ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ (involuntary
nervous system)
- ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมอง ไขสันหลัง และปมประสาท
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
ประเภทของรีแฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)
- somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจ
จิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย
* การกระตุกขา เมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า
* การชักมือชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม
- autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจและมี
หน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ
* การเกิดเพอริสตัลซีสที่ท่อทางเดินอาหาร
* การหลั่งน้าตา น้าย่อย น้าลาย น้านม
Somatic reflex
• หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อลาย
• รีแฟลกซ์ ของการกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า กระแสประสาทจะไม่ผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน ดังนั้นชนิดเซลล์ประสาท
น้อยที่สุดทางานได้ ประกอบด้วยเซลล์ประสาท 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
Type of somatic reflex
Testing yourself
รีแฟลกซ์ของระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ
• หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อเรียบ,กล้ามเนื้อหัวใจ,อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
• จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งจากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานจะมี 2 เซลล์ซึ่งต่างจากระบบประสาทใต้อานาจจิตใจมี 1 เซลล์
ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system)
- ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1
(preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว (thoracolumbar outflow)
- ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่เซลล์ประสาทตัวที่ 1
อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลายแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
• ระบบประสาทโซมาติกแตกต่างจากระบบประสาทอัตโนวัติ อย่างไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• รีแฟลกซ์ แอกชัน แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
• จงเขียนวงจรรีแฟลกซ์ แอกชัน ของระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงเขียนวงจรรีแฟลกซ์ แอกชัน ของระบบประสาทภายนอกอานาจจิตใจ
• จงบอกความแตกต่างของหน้าที่ในระบบประสาทซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก
อวัยวะรับสัมผัส (SENSORY ORGAN)
อวัยวะรับสัมผัส (sensory organ)
แบ่ง sensory receptor ตามชนิดของสิ่งเร้าได้เป็น 4 ชนิด คือ
1. Mechanoreceptor: สิ่งเร้าเป็นแรงกล เช่น แรงดัน (ผิวหนัง),
การสัมผัส (ผิวหนัง), การเคลื่อนไหว (หู), เสียง (หู)
2. Chemoreceptor: สิ่งเร้าเป็นสารเคมี เช่น กลูโคส, O2, CO2,
กรดอะมิโน ได้แก่ Gustatory (taste) receptor (ลิ้น) และ
Olfactory (smell) receptor (จมูก)
3. Electromegnetic receptor (Photoreceptor): สิ่งเร้าเป็น
พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น แสง (visible light), กระแสไฟฟ้า,
สนามแม่เหล็ก (ตา)
4. Thermoreceptor: สิ่งเร้าเป็นอุณหภูมิ เช่น ความร้อน, ความ
เย็น (ผิวหนัง)
ตา (Eye): การมองเห็น
โครงสร้างภายนอกของนัยน์ตาคน
• คิ้วและขนตาช่วยป้องกันฝุ่นละออง
• หนังตาช่วยป้องกันอันตรายให้กับลูกนัยน์ตา
• ต่อมน้าตา (lacrimal gland) อยู่ที่ขอบบนของหางตามีท่อน้าตามาเปิดเข้าสู่ลูกตาเพื่อหล่อเลี้ยงลูกตาให้
ชุ่มชื้นอยู่เสมอ
• น้าตามีเอนไซม์ (lysozyme) ช่วยฆ่าจุลินทรีย์ที่เยื่อบุตา
• ท่อขับน้าตาที่อยู่บริเวณหัวตาเป็นช่องให้น้าตาออกไปยังโพรงจมูกเพื่อขับน้าตาทิ้ง
• เยื่อบุตา (conjunctiva) เป็นเยื่อเมือกบางๆบุตลอดตั้งแต่ด้านในหนังตาคลุมตลอดด้านหน้าของตาขาว
และกระจกตา ช่วยป้องกันฝุ่นและจุลินทรีย์ บางครั้งเยื่อบุตาอาจอักเสบ เรียกว่า ตาแดง (conjunctivitis)
โครงสร้างภายนอกของนัยน์ตาคน
โครงสร้างภายในของนัยน์ตาคน
• Sclera หรือ sclerotic coat ได้แก่ส่วนขาวของตา ส่วนหน้าสุดจะ
โป่ งออก เรียกว่า กระจกตา(cornea) หรือตาดา เป็นส่วนที่ให้แสงเข้าผ่าน
• Choroid เป็นเยื่อบางๆสาหรับอาศัยของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงลูกตาผนัง
จะมีรงควัตถุดูดแสงมิให้ผ่านทะลุไปยังด้านหลังของนัยน์ตา ด้านหน้าจะ
มีเยื่อยื่นออกมาเรียกว่า ม่านตา(Iris)ช่องตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา
(pupil) ซึ่งจะเกี่ยวกับปริมาณแสง
• Retina เป็นผนังชั้นในสุด เป็นที่อยู่ของเซลล์รับแสง 2 ชนิด
1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell)
2. เซลล์รูปกรวย (cone cell)
ม่านตา (IRIS)
• กล้ามเนื้อตามแนวเส้นรอบวง (Sphincter muscle) มีลักษณะเป็นเส้นใยล้อมรอบรูม่านตาถูกควบคุมโดยระบบ
ประสาทพาราซิมพาเมติก(ขณะที่มีแสงสว่างจ้าจะมีผลให้กล้ามเนื้อตามแนวเส้นรอบวงหดตัวส่งผลให้รูม่านตาแคบ)
• กล้ามเนื้อตามแนวรัศมี (dilator muscle) มีลักษณะเป็นเส้นใยรัศมีรอบรูม่านตาถูกควบคุมโดยระบบประสาทซิมพา
เทติก (ขณะที่มีแสงสลัวจะมีผลทาให้กล้ามเนื้อตามแนวรัศมีหดตัวส่งผลให้รูม่านตาขยายขนาดมากขึ้น)
PHOTORECEPTOR CELL
1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) ทางานได้ดีขณะแสงสลัว จึงพบมากในสัตว์ออก
หากินในเวลากลางคืน ภาพที่เห็นเรียกว่า scotopic vision เป็น
ภาพที่ไม่มีรายละเอียด ไม่มีสีสันเป็นขาวดา ไวต่อแสงสีเขียวมากที่สุด
เซลล์รูปแท่งหนาแน่นที่สุด ทางด้านข้างของเรตินาและลดน้อยลงเมื่อเข้า
ใกล้ใจกลางเรตินา ดังนั้น เวลากลางคืนจะเห็นภาพชัดเจนเมื่อแสงตกที่
ด้านข้างเรตินา
2. เซลล์รูปกรวย (cone cell) ทางานได้ดีขณะแสงมาก จึงพบมากที่หากิน
ในเวลากลางวัน ภาพที่เห็นเรียกว่า photopic vision ภาพมีสีสัน
รายละเอียด ไวต่อแสงน้าเงิน เขียว แดง มาก เซลล์รูปกรวยหนาแน่น
บริเวณใจกลางเรตินาเรียกตาแหน่งนี้ว่าโพเวีย (fovea) ซึ่งเห็นภาพ
ชัดเจนที่สุด เมื่อออกด้านข้างเซลล์รูปกรวยจะลดลง
*จุดบอด (blind spot) บริเวณนี้จะมีเส้นประสาทคู่ที่ 2 อยู่จึงไม่พบเซลล์
รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย
สรีรวิทยาของการมองเห็นภาพ
พบว่าส่วนนอกสุดของเซลล์รูปแท่งมีรงควัตถุสีม่วงแดง เรียกว่า โรดออฟซิน (rhodopsin) ซึ่งประกอบจากโปรตีน
เรียกว่า ออฟซิน (posin) จับกับอนุพันธ์ของวิตามิน A เรียกว่า เรตินิน (retinene) ในรูปของ Cis-retinene รงค
วัตถุเปรียบเสมือนสารเคมีที่ฉาบไว้บนฟิลม์ในกล้องถ่ายรูปเมื่อได้รับแสงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีกลายเป็น
lumirhodopsin และ Metarhodopsin แล้วสลายตัวเป็น opsin กับ retinene และเกิดพลังงานในรูป
กระแสไฟฟ้ากระตุ้นทาให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์รูปแท่งและถ่ายทอดไปยังเส้นประสาทเส้นที่ 2 และเพื่อไปแปล
ความหมายของภาพที่สมองส่วนซีรีบรัม
เรตินอลเป็นสารที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นจาก
วิตามินเอ ถ้าร่างกายขาดวิตามินเอ จะทาให้
การเกิดโรดอปซินช้าลง เป็นผลให้นัยน์ตา
ไม่สามารถปรับตัวได้ตามปกติในขณะที่มี
แสงสลัว จะเกิดตาฟางหรือตาบอดตอน
กลางคืน (night blindness)
Rhodopsin cycle
ขั้นตอนการเกิดภาพมีดังนี้
1. หลังจากแสงมากระตุ้น rods & cones เกิด action
potential
2. Rod & cones synapse กับ bipolar cells
3. bipolar cells synapse กับ ganglion cells
4. ganglion cells ส่ง visual sensation (action
potential) ไปยังสมอง
5. การถ่ายทอดข้อมูลระหว่าง rods & cones,
bipolar cells, ganglion cells ไม่ได้เป็นแบบ
one-to-one แต่จะมีเซลล์ทื่ทาหน้าที่ integrate signal
ถ้าตาบอดสีแดง จะทาให้เห็นภาพสี
เหลืองเป็นสีเขียวและเห็นสีม่วงเป็นสี
น้าเงิน หรือถ้าตาบอดสีเขียวจะเห็น
ภาพสีเหลืองเป็นสีแดงและเห็นสีฟ้าเป็น
สีน้าเงิน เป็นต้น
การบอดสี (COLOR BLINDNESS)
• การเห็นสีเกิดจากการทางานของเซลล์รูปกรวย (cone cell) แบ่งเป็น 3 พวกเซลล์
รูปกรวยรับสีแดง,น้าเงิน,เขียว การที่เราเห็นสีมากมายเนื่องจากกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่
ละสีพร้อมๆกันด้วยความเข้มต่างกัน เกิดการผสมสีเป็นสีต่างๆกัน การเกิดการบอดสี
คือการที่เซลล์รูปกรวยชนิดใดชนิดหนึ่งพิการทางานไม่ได้โดยการบอดสีสามารถ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
• คนส่วนมากพบตาบอด สีแดง>เขียว>น้าเงิน
แบบทดสอบตาบอดสีที่พัฒนาขึ้นในประเทศญี่ปุ่น
เรียก อิชิฮะระ (ishihara) บกพร่องการเห็นสี
โดยเฉพาะสีแดง-เขียว : มองไม่เห็นตัวเลข แต่
แพทย์เท่านั้นจะเป็นผู้วินิจฉัย และยืนยันความ
บกพร่อง
การมองภาพระยะใกล้และไกล
a. การมองภาพระยะใกล้ (accommodation)
ciliary muscle หดตัว suspensory
ligament หย่อน เลนส์หนาขึ้นและกลมขึ้น
b. การมองภาพระยะไกล
ciliary muscle คลายตัว suspensory
ligament ตึง เลนส์ถูกดึงทาให้แบน
ปกติเรตินาของนัยน์ตาคนแต่ละข้างจะมีเซลล์รูป
แท่งประมาณ 125 ล้านเซลล์ แต่จะมีเซลล์รูปกรวย
ประมาณ 7 ล้านเซลล์
• สายตาสั้น (myopia) คือ สภาวะที่กระบอกตายาวกว่าเดิมทาให้แสงจากวัตถุโฟกัสที่วุ้นในลูกตาแล้วกระจายออกเป็นวงพร่าไปตกบนเรตินา
* การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์เว้าช่วยกระจายแสง เพื่อยืดความยาวของโฟกัสออกให้มาตกที่บริเวณเรตินาพอดี
• สายตายาว (hypermetropia) คือ ภาวะที่กระบอกตาสั้นกว่าปรกติ ทาให้แสงตกบนเรตินาก่อนที่มีการโฟกัส
* การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์นูนช่วยรวมแสง เพื่อให้แสงมาตกที่บริเวณเรตินาพอดี
• สายตาเอียง (astigmatism) คือ สภาวะเกิดจากการที่ผิวกระจกตาหรือ เลนส์ ไม่สม่าเสมอทาให้โค้งไม่เท่ากัน แสงจากวัตถุผ่านกระจกตา
ทาให้เกิดการหักเหและให้ภาพไม่เป็นจุดชัด
* การแก้ไข กระทาโดยการใช้เลนส์ทรงกระบอกหรือทั้งเลนส์ทรงกระบอกและทรงกลม เพื่อให้แสงในแต่ละระนาบมาโฟกัสที่จุดเดียวกัน
โครงสร้างของหู (EAR)• โครงสร้างของหูส่วนนอก
- ใบหู (pinna) : elastic cartilage
- ช่องหูหรือรูหู (external auditory canal) : ceruminous gland
- แก้วหูหรือเยื่อแก้วหู (tympanic membrane หรือ ear drum)
• โครงสร้างของหูส่วนกลาง
- ท่อยูสเตเชียน (eustachian tube)ทาหน้าที่ปรับความดันระหว่างหูตอนกลางและอากาศภายนอก และระบายคลื่น
เสียงส่วนเกินจากหูตอนใน
- กระดูกหู มีข้างละ 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกค้อน (malleus) กระดูกทั่ง (incus) กระดูกโกลน (stapes) ทาหน้าที่ขยาย
ความสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้มากขึ้นกว่าเดิมถึง 22 เท่า เมื่อเข้าในหูตอนใน (17 x 1.3 = 22)
• โครงสร้างของหูส่วนใน เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงและอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว
1. Utricular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะการทรงตัวประกอบด้วยถุง utriculus และมี เซมิเซอร์คิวลาแคแนล
(semicircular canal) เป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อัน มีของเหลวบรรจุอยู่
2. saccular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงเรียกว่า คอเคลีย (cochlea) มีลักษณะคล้ายก้นหอยภายในมี
ของเหลวบรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามาภายในทาให้เกิดการสั่นสะเทือนกระตุ้นส่งสัญญานไปตามเส้นประสาท
หู (Ear): การได้ยินและการทรงตัว
กระบวนการได้ยินเสียง
คลื่นเสียงเยื่อแก้วหูกระดูกหู 3 ชิ้น
หน้าต่างรูปวงรีคอเคลียอวัยวะรับ
เสียงเซลล์ขนเส้นประสาทสมองคู่ที่
8สมอง
การทรงตัว (balancing body)
-utricle, saccule และ semicircular canals ในหูชั้นใน รับรู้เกี่ยว
กับการทรงตัวและตาแหน่งของร่างกาย โดยมี hair cell อยู่ข้างใน
- Utricle & sacculeส่งสัญญาณให้สมองรับรู้ว่าทิศใดเป็นด้านบนและ ร่างกายอยู่ในท่าได้
- semicircular canals รับรู้เกี่ยวกับทิศทางทั้ง 3 ระนาบ โดยบริเวณ
โคนท่อมีการบวมเป็นกระเปาะเรียก ampulla
- ในampulla มี gelatinous cap เรียก cupula ที่มี hair cell อยู่
การทรงตัว
(balancing
body)
ข้อควรทราบเพิ่มเติม
• หูของคนมีความสามารถรับคลื่นเสียงที่มีความถี่ 20-20,000 รอบ/วินาทีและความดัง 0-120 เดซิเบล
• ในผู้สูงอายุสามารถรับคลื่นเสียงที่มีความถี่ของคลื่นเสียงน้อยกว่าผู้ที่อยู่ในวัยเด็ก
• แมวสามารถรับคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงถึง 50,000 รอบ/วินาที
• ค้างคาวและโลมาสามารถรับคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงถึง 100,000 รอบ/วินาที
• ความสามารถในการได้ยินในระดับความถี่ต่างๆ ขึ้นอยู่กับคุณภาพของซิเลียของเซลล์ขน เสียงที่ดังมากๆเมื่อกระทบเยื่อแก้ว
หูจะเกิดการสั่นสะเทือนที่รุนแรงของของเหลวในหูส่วนใน อาจทาให้ซิเลียฉีกขาดได้ ซึ่งเป็นผลทาให้สูญเสียการรับเสียงในช่วง
ความถี่นั้นๆ การสูญเสียเซลล์ขนไม่สามารถสร้างกลับขึ้นมาใหม่ได้
จมูก (Nose): การได้กลิ่น
- olfactory receptor cell เป็น neuron มาทาหน้าที่โดยตรง
- ส่วนปลายของเซลล์ยื่นออกมาเป็น cilia สู่ mucus
- สารเคมีมาจับกับ receptor ที่เยื่อเซลล์ของ cilia
- เกิด signal-transduction pathway, depolarization, action potential สู่สมอง
จมูกเป็นอวัยวะรับสัมผัสที่สาคัญอย่างหนึ่งของร่างกาย โดยทาหน้าที่รับกลิ่นของสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา การได้รับกลิ่นจะมี
กระเปาะรับกลิ่นซึ่งเป็นบริเวณที่เยื่อบุภายในโพรงจมูกมีประสาทสาหรับรับกลิ่นอยู่ทั่วไป ซึ่งเชื่อมโยงไปสู่สมอง เมื่อกลิ่น
ผ่านเข้าไปในโพรงจมูก กลิ่นมากกระทบปลาย ประสาทสัมผัสรับกลิ่น ปลายประสาทรับกลิ่นส่งกระแสประสาทไปสู่สมอง
เพื่อแปลความหมายของสิ่งที่ได้รับ
กระบวนการดมกลิ่น
กลิ่นเยื่อบุจมูกเซลล์ประสาทรับ
กลิ่นเส้นประสาทรับกลิ่น
olfactory
bulbolfactory tract
สมองส่วนเซรีบรัม
ข้อควรทราบเพิ่มเติม
• เมื่อเป็นหวัดจะมีการขับเมือกมาคลุมเยื่อบุจมูกมากกว่าปกติ ทาให้ซิเลียของเซลล์รับกลิ่นทางานได้ไม่ดี จึงไม่ค่อยได้กลิ่น
• สุนัขรับกลิ่นได้รวดเร็ว เพราะเยื่อบุจมูกมีเซลล์รับกลิ่นปริมาณมากถึง 40 ล้านเซลล์/ตารางเซนติเมตร จึงไวต่อกลิ่นที่มา
กระตุ้นมากแม้เพียงโมเลกุลเดียวในอากาศก็สามารถรับได้
ลิ้น (Tongue): การรับรส
- บนลิ้นของคนมีตุ่มลิ้น(taste bud)ประมาณ 10,000 อัน ฝังตัวอยู่ในปุ่มลิ้น (papilla)
- แต่ละ taste bud จะมี taste (gustatory) receptor cell ซึ่งเป็น modified epithelial cell อยู่
การรับรส มีขั้นตอนดังนี้
1. โมเลกุลของสารเช่นน้าตาล จับกับtaste receptor
2. มีการส่งสัญญาณผ่าน signal-transduction
pathway
3. K+ channel ปิด Na+ channel เปิด
4. Na+ แพร่เข้าสู่เซลล์ เกิด depolarization
5. กระตุ้นการนา Ca2+ เข้าสู่เซลล์
6. receptor cell หลั่ง neurotransmitter ที่ไป
กระตุ้น sensory neuron ต่อไป
การรับรสเป็นการผสมผสานของรสพื้นฐาน 5
รส คือ รสหวาน รสขม รสเปรี้ยว รสเค็ม และรส
อร่อยหรืออูมามิ (umami) ซึ่งการรับรสทั้ง 5
รส สามารถรับได้ทั่วไปตลอดลิ้น เซลล์รับรสแต่ละ
เซลล์สามารถรับรสได้เพียงรสเดียว แต่ในตุ่มรับรส
แต่ละตุ่มประกอบไปด้วยเซลล์รับรสชนิดต่างๆ
ปะปนกัน
ผิวหนัง (Skin) : การับสัมผัส
-สิ่งเร้าที่เป็นแรงกลจะทาให้เกิดการโค้งงอหรือบิดเบี้ยวของเยื่อเซลล์ของ mechanoreceptor จะทาให้
permeability ต่อ Na+ และ K+ เปลี่ยนไป และทาให้เกิด depolarization
-mechanoreceptor เป็น modified dendrite ของ sensory neuron
 รีเซปเตอร์รับการสัมผัส อยู่มากตามฝ่ามือฝ่าเท้ามากกว่าที่อื่น บริวเวณ
ที่มีขนน้อยกว่าไม่มีขน โดยปลายนิ้วจะมีมากกว่าที่อื่น
 รีเซปเตอร์รับร้อน-หนาว ไม่พบที่อวัยวะภายใน พบที่หลังมือมากกว่าฝ่า
มือ(ไม่แน่นอน)
 รีเซปเตอร์รับความเจ็บปวด จะมีการส่งกระแสประสาทไปยัง ทาลามัส
และถ่ายทอดไปยังซีรับรัมคอเทกซ์ บริเวณที่มีรีเซปเตอร์นี้น้อยได้แก่
บริเวณ ต้นแขนและตะโพก
 ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับเจ็บปวด จะอยู่ชั้นบนสุดของผิวหนังปรากฏ
บริเวณชั้นหนังกาพร้า
 ปลายประสาทรับรู้แรงกดดัน จะอยู่ระดับล่างสุด โดยปรากฏภายใต้ชั้น
หนังแท้
Sensory Receptor in The human skin
ผิวหนังแต่ละบริเวณรับความรู้สึกได้ไวหรือช้าแตกต่างกัน เพราะบริเวณต่างๆของผิวร่างกายมี
ปลายประสาทมากน้อยไม่เท่ากัน บริเวณที่มีความละเอียดอ่อนน้อยจะมีปลายประสาทอยู่น้อย
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• อวัยวะรับสัมผัสแบ่งเซลล์ประสาทรับความรู้สึกตามชนิดของสิ่งเร้าได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
• จงบอกองค์ประกอบโครงสร้างภายในและภายนอกของนัยน์ตามนุษย์
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงอธิบายการทางานของนัยน์ตามนุษย์ขณะที่มองวัตถุใกล้ในที่มืดและมองวัตถุไกลที่สว่าง
• จงยกตัวอย่างและบอกสาเหตุความผิดปกติที่เกิดกับนัยน์ตามนุษย์ มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงบอกองค์ประกอบโครงสร้างภายในและภายนอกของหูมนุษย์
• จงอธิบายกระบวนการได้ยินตามลาดับขั้นตอน (เสียงสมอง)
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงบอกองค์ประกอบโครงสร้างภายในและภายนอกของจมูกมนุษย์
• จงอธิบายกระบวนการได้กลิ่นตามลาดับขั้นตอน (กลิ่นสมอง)
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงบอกองค์ประกอบโครงสร้างภายในและภายนอกของลิ้นมนุษย์
• จงอธิบายกระบวนการรับรสตามลาดับขั้นตอน (รสชาตสมอง)
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงบอกองค์ประกอบโครงสร้างภายในและภายนอกของผิวหนังมนุษย์
• จงอธิบายการรับสัมผัสรูปแบบต่างๆ ของผิวหนังมนุษย์
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)ครู กรุณา
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 

What's hot (20)

เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 

Similar to 4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก

รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 

Similar to 4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก (20)

รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก