SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                             ชุดที่ 4 ระบบประสาท




                          ศูนย์ การเรียนที่ 1
                      โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง

                         สวัสดี สุ ริยะ รู้ หรือไม่ สมองมีโครงสร้ างและ
                         หน้ าทีอย่างไร เราไปศึกษาพร้ อมกันเลยนะ
                                ่




                                                                 ไปซิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   6




                                        บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1
                                   โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง
           โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
           1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
           2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
           3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                     ้
           4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม       ิ
           5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
           6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                   ิ
                ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
                        ุ
                ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ




                                           โครงสร้ างสมอง
                    ทีมา : www.novabizz.com/NovaAce/images/Brain1.jpg 395 x 342 - 18k
                      ่
                           (5 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 4 ระบบประสาท   7




                                        บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1
                                               ้
                                   โครงสร้ างและหน้ าทีสมอง
                                                       ่

                      รู้ ไหม สมอง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่างไร
                                                                          ่




                                                โครงสร้ างสมอง
                ทีมา : www.novabizz.com/NovaAce/images/Brain1.jpg 395 x 342 - 18k
                  ่
                       (5 เมษายน 2550)

   จุดประสงค์ การเรียนรู้
            1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของสมองได้
            2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของสมองส่ วนหน้ า ส่ วนกลาง และส่ วนท้ายได้
                                       ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                       ชุดที่ 4 ระบบประสาท      8




                                  โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง

          สมองส่ วนนอกเป็ นเนื้อสี เทา ( gray matter ) เพราะเป็ นที่รวมของตัวเซลล์ประสาทและ
 แอกซอนทีไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม ส่ วนในสมองเป็ นเนือสี ขาว ( white matter ) เพราะเป็ นทีรวมของ
             ่      ่      ิ                       ้                                    ่
 เส้ นประสาททีงอกจากเซลล์ ประสาทและมีเยือไมอีลนหุ้ม
                 ่                             ่     ิ
          สมองของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ สมองส่ วนหน้ า ( forebrain )
 สมองส่ วนกลาง ( midbrain ) และสมองส่ วนท้าย ( hindbrain )
          สมองส่ วนหน้ า (forebrain หรือ pros encephalon ) ประกอบด้ วย
          1.1 ซีรีบรัม (cerebrum) เป็ นศูนย์ กลางการเรี ยนรู้ ( learning ) เกียวกับความคิด
                                                                              ่
 ความจา เชาว์ปัญญา ความฉลาด ศูนย์ กลางการรับรู้ ( sensation ) เช่ น การมองเห็น การรับรส
 การรับกลิน การรับเสี ยง การรับสั มผัสและความเจ็บปวด ควบคุมการทางานของกล้ ามเนือลาย
           ่                                                                              ้
 และการเคลือนไหวของส่ วนต่ าง ๆ ของ ร่ างกายควบคุมการออกเสี ยงเวลาพูด ควบคุมเกียวกับ
               ่                                                                      ่
 อารมณ์ และบุคลิกภาพ ควบคุมทักษะด้ านต่ าง ๆ รวมทั้งการใช้ ภาษาซึ่งเป็ นหน้ าทีของสมอง
                                                                                  ่
 ซีกซ้ ายโดยคนถนัดขวานั้น ซีรีบรัมซีกซ้ ายควบคุมร่ างกายซีกขวา ส่ วนซีรีบรัมซีกขวาควบคุม
 ร่ างกายซีกซ้ าย เกียวกับการต่ อสู้ และการหนี ควบคุมพฤติกรรมทางสั งคม
                      ่
          1.2 ทาลามัส ( thalamus ) เป็ นศุ นย์ กลางการถ่ ายทอดความรู้ สึกต่ างๆ โดยการรวม
 กระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทส่ งไปยังสมองทีเ่ กี่ยวข้ องกับกระแสประสาทนั้น




                                   โครงสร้ างสมอง
       ทีมา : universe-review.ca/I10-80-prefrontal.jpg 429 x 306 - 30k ( 5 เมษายน 2550)
         ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท        9




          1.3 ไฮโพทาลามัส (hypothalamus ) อยู่ใต้ ทาลามัส มีส่วนทียื่นไปติดต่ อกับต่ อมใต้
                                                                      ่
สมอง ไฮโพทาลามัสเป็ นบริเวณทีควบคุมกระบวนการสาคัญต่ างๆของการดารงชี วต เช่ น ควบคุม
                                  ่                                                    ิ
ปริมาณนาในร่ างกาย ควบคุมอุณหภูมิของร่ างกาย การเต้ นของหัวใจ ความดันเลือด
              ้
การนอนหลับ ความหิว ความอิม อารมร์ ต่างๆ ความรู้ สึกทางเพศ และเป็ นศูนย์ กลางควบคุม
                                ่
ระบบ ประสาทอัตโนวัติ ( autonomic center )
          1.4 ออลแฟกตอรีบัลบ์ ( olfactory bulb ) อยู่ทางด้ านหน้ าสุ ด ทาหน้ าทีเ่ กี่ยวกับ
การดมกลิน ในพวกปลาจะมีออลแฟกตอรีบัลบ์ โตมาก จึงมีความสามารถในการดมกลิ่นได้ ดีมาก
                ่
ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมบางชนิด สมองส่ วนนีจะไม่ เจริญโดยเฉพาะในพวกไพรเมต ( primate )
            ้                              ้
ออลแฟตอรีบัลบ์ จะไม่ เจริญเลย




                    ภาพแสดง ออลแฟกตอรีบัลบ์ ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม
                                                        ้          ้

        ทีมา : nsc4thaikids.webs.com/olfacanatomy.jpg 600 x 596 - 186k ( 5 เมษายน 2550 )
          ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                              ชุดที่ 4 ระบบประสาท      10



        สมองส่ วนกลาง ( midbrain )

         ออปติกโลบ ( optic lobe ) เป็ นส่ วนทีพองออกเป็ นกระเปาะ ในคนส่ วนนีถูกซีรีบรัม
                                               ่                                  ้
บังเอาไว้ ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมส่ วนนีมี 4 กระเปาะ แต่ ในสั ตว์ มกระดูกสั นหลังอืนมี 2 กระเปาะ
                        ้                ้                          ี               ่
ทาหน้ าทีเ่ ป็ นศู นย์ กลางการมองเห็น รวมทั้งความรู้ สึกจากหู จมูก เจริญดีในปลา ส่ วนสั ตว์ ช้ ั นสู ง
จะมีขนาดเล็กลง และมีขนาดเล็กทีสุดในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม
                                     ่           ้          ้




                                ภาพแสดงลักษณะสมองส่ วนกลาง
      ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/hypothalamuspic.htm
        ่
             ( 5 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   11



        สมองส่ วนท้าย ( hindbrain ) ประกอบด้ วย

          1. ซีรีเบลลัม ( cerebellum ) ทาหน้ าที่ ติดต่ อกับประสาทรับความรู้ สึกทีมาจาก
                                                                                   ่
หน่ วยรับความรู้ สึกทีบอกตาแหน่ งของกล้ ามเนือลาย จึงเป็ นศูนย์ การทางานของกล้ ามเนือลาย
                      ่                         ้                                      ้
ควบคุม การทรงตัวของร่ างกาย เช่ น ขณะเดินไปบนท่อนไม้ เล็ก ๆ ได้ ไม่ ล้ม การทีคนเมาสุ รา
                                                                                 ่
เดินไม่ ตรง เนื่องจากแอลกอฮอล์ไปมีผลต่ อการทางานของซีรีเบลลัม ควบคุมการทางาน
ประสานสั มพันธ์ ระหว่างการใช้ มือกับนัยน์ ตา
          2 เมดุลลา ออบลองกาตา ( medulla oblongata ) เป็ นส่ วนสุ ดท้ ายของสมอง
ตอนปลายสุ ดของสมองส่ วนนีติดกับไขสั นหลัง ทาหน้ าที่ดังนี้ เป็ นศูนย์ กลางควบคุมกิจกรรม
                               ้
ของระบบประสาทอัตโนวัติ ศูนย์ ควบคุมการหายใจ ควบคุมการเต้ นของหัวใจ และการหมุนเวียน
เลือดควบคุมการไอ การจาม การกระพริบตา และควบคุมการเกิดเพอริสทัลซิส และการหลังนาย่ อย      ่ ้
เพือให้ เกิดการย่อยอาหาร
   ่
          3. พอนส์ ( pons ) ทาหน้ าที่ ดังนี้ ควบคุมการเคลือนไหวทีเ่ กียวกับการเคียว
                                                             ่         ่             ้
การหลังนาลาย การเคลือนไหวบริเวณใบหน้ า ศูนย์ ควบคุมข้ อมูลทีส่งผ่ านระหว่ างสมองส่ วน
         ่ ้            ่                                         ่
ซีรีบรัมกับซีรีเบลลัม และระหว่างซีรีเบลลัมกับไขสั นหลัง

หมายเหตุ สมองส่ วนกลาง พอนส์ และเมดัลลาออปลองกาตา รวมกันเรี ยกว่ า ก้ านสมอง
         (Brain stem)




                        ภาพแสดงส่ วนประกอบของก้านสมอง ( Brain Stem)
                ทีมา : www.tistr.or.th 365 x 247 - 10k – jpg ( 5 เมษายน 2550 )
                  ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                       ชุดที่ 4 ระบบประสาท   12




                                      บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1
                                  โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง
 คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
                                  ่         ่
               ลงในกระดาษคาตอบ
      1. ส่ วนใดของสมองของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง ยิงมีววฒนาการสู งยิงมีขนาดเล็กลง
                                                    ่ ิั             ่
                ก. สมองส่ วนหน้ า (fore brain)
                ข. สมองส่ วนกลาง (mid brain)
                ค. สมองส่ วนหลัง (hind brain)
                ง. เมดัลลา ออบลองกาตา (medulla oblongata)
      2. ก้านสมองประกอบด้ วยอะไรบ้ าง
                ก. สมองส่ วนกลาง ซีรีเบลลัม พอนส์
                ข. สมองส่ วนกลาง ซีรีบรัม พอนส์
                ค. สมองส่ วนกลาง พอนส์ เมดัลลา ออบลองกาตา
                ง. สมองส่ วนกลาง ซีรีบรัม เมดัลลา ออบลองกาตา
      3. ส่ วนของสมองส่ วนท้ ายบริเวณใดทาหน้ าทีประสานงานระหว่างมือกับตา
                                                 ่
               ก. พอนส์
               ข. ซีรีเบลลัม
               ค. ฮิปโปแคมปัส
               ง. เมดัลลา ออบลองกาตา
       4. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าทีของสมอง
                          ้             ่
                ก. ช่ วยให้ จดจาสิ่ งต่ าง ๆ
                ข. ควบคุมกิจกรรมของกล้ ามเนื้อ
                ค. ควบคุมการเกิด รีเฟลกซ์ แอกชั่ น
                ง. รับสั ญญาณจาก หน่ วยรับความรู้ สึก
        5. เส้ นประสาทสมองคู่ใดเป็ นเส้ นประสาทผสม
                ก. คู่ที่ 1 , 2 , 8 , 10
                ข. คู่ที่ 2 , 3 , 5 , 10
                ค. คู่ที่ 3 , 5 , 7 , 10
                ง. คู่ที่ 5 , 7 , 9 , 10
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 4 ระบบประสาท   13




                                         บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1
                                    โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง

                                                1.   ข
                                                2.   ค
                                                3.   ง
                                                4.   ง
                                                5.   ง




                     เก่งจังเลย ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไปกันเลยนะ

More Related Content

What's hot

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 

What's hot (13)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Brain and behavior in Thai
Brain and behavior in ThaiBrain and behavior in Thai
Brain and behavior in Thai
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4

โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4 (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (15)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง สวัสดี สุ ริยะ รู้ หรือไม่ สมองมีโครงสร้ างและ หน้ าทีอย่างไร เราไปศึกษาพร้ อมกันเลยนะ ่ ไปซิ
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 6 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ุ ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ โครงสร้ างสมอง ทีมา : www.novabizz.com/NovaAce/images/Brain1.jpg 395 x 342 - 18k ่ (5 เมษายน 2550)
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 7 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1 ้ โครงสร้ างและหน้ าทีสมอง ่ รู้ ไหม สมอง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่างไร ่ โครงสร้ างสมอง ทีมา : www.novabizz.com/NovaAce/images/Brain1.jpg 395 x 342 - 18k ่ (5 เมษายน 2550) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของสมองได้ 2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของสมองส่ วนหน้ า ส่ วนกลาง และส่ วนท้ายได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 8 โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง สมองส่ วนนอกเป็ นเนื้อสี เทา ( gray matter ) เพราะเป็ นที่รวมของตัวเซลล์ประสาทและ แอกซอนทีไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม ส่ วนในสมองเป็ นเนือสี ขาว ( white matter ) เพราะเป็ นทีรวมของ ่ ่ ิ ้ ่ เส้ นประสาททีงอกจากเซลล์ ประสาทและมีเยือไมอีลนหุ้ม ่ ่ ิ สมองของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ สมองส่ วนหน้ า ( forebrain ) สมองส่ วนกลาง ( midbrain ) และสมองส่ วนท้าย ( hindbrain ) สมองส่ วนหน้ า (forebrain หรือ pros encephalon ) ประกอบด้ วย 1.1 ซีรีบรัม (cerebrum) เป็ นศูนย์ กลางการเรี ยนรู้ ( learning ) เกียวกับความคิด ่ ความจา เชาว์ปัญญา ความฉลาด ศูนย์ กลางการรับรู้ ( sensation ) เช่ น การมองเห็น การรับรส การรับกลิน การรับเสี ยง การรับสั มผัสและความเจ็บปวด ควบคุมการทางานของกล้ ามเนือลาย ่ ้ และการเคลือนไหวของส่ วนต่ าง ๆ ของ ร่ างกายควบคุมการออกเสี ยงเวลาพูด ควบคุมเกียวกับ ่ ่ อารมณ์ และบุคลิกภาพ ควบคุมทักษะด้ านต่ าง ๆ รวมทั้งการใช้ ภาษาซึ่งเป็ นหน้ าทีของสมอง ่ ซีกซ้ ายโดยคนถนัดขวานั้น ซีรีบรัมซีกซ้ ายควบคุมร่ างกายซีกขวา ส่ วนซีรีบรัมซีกขวาควบคุม ร่ างกายซีกซ้ าย เกียวกับการต่ อสู้ และการหนี ควบคุมพฤติกรรมทางสั งคม ่ 1.2 ทาลามัส ( thalamus ) เป็ นศุ นย์ กลางการถ่ ายทอดความรู้ สึกต่ างๆ โดยการรวม กระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทส่ งไปยังสมองทีเ่ กี่ยวข้ องกับกระแสประสาทนั้น โครงสร้ างสมอง ทีมา : universe-review.ca/I10-80-prefrontal.jpg 429 x 306 - 30k ( 5 เมษายน 2550) ่
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 9 1.3 ไฮโพทาลามัส (hypothalamus ) อยู่ใต้ ทาลามัส มีส่วนทียื่นไปติดต่ อกับต่ อมใต้ ่ สมอง ไฮโพทาลามัสเป็ นบริเวณทีควบคุมกระบวนการสาคัญต่ างๆของการดารงชี วต เช่ น ควบคุม ่ ิ ปริมาณนาในร่ างกาย ควบคุมอุณหภูมิของร่ างกาย การเต้ นของหัวใจ ความดันเลือด ้ การนอนหลับ ความหิว ความอิม อารมร์ ต่างๆ ความรู้ สึกทางเพศ และเป็ นศูนย์ กลางควบคุม ่ ระบบ ประสาทอัตโนวัติ ( autonomic center ) 1.4 ออลแฟกตอรีบัลบ์ ( olfactory bulb ) อยู่ทางด้ านหน้ าสุ ด ทาหน้ าทีเ่ กี่ยวกับ การดมกลิน ในพวกปลาจะมีออลแฟกตอรีบัลบ์ โตมาก จึงมีความสามารถในการดมกลิ่นได้ ดีมาก ่ ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมบางชนิด สมองส่ วนนีจะไม่ เจริญโดยเฉพาะในพวกไพรเมต ( primate ) ้ ้ ออลแฟตอรีบัลบ์ จะไม่ เจริญเลย ภาพแสดง ออลแฟกตอรีบัลบ์ ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม ้ ้ ทีมา : nsc4thaikids.webs.com/olfacanatomy.jpg 600 x 596 - 186k ( 5 เมษายน 2550 ) ่
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 10 สมองส่ วนกลาง ( midbrain ) ออปติกโลบ ( optic lobe ) เป็ นส่ วนทีพองออกเป็ นกระเปาะ ในคนส่ วนนีถูกซีรีบรัม ่ ้ บังเอาไว้ ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมส่ วนนีมี 4 กระเปาะ แต่ ในสั ตว์ มกระดูกสั นหลังอืนมี 2 กระเปาะ ้ ้ ี ่ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นศู นย์ กลางการมองเห็น รวมทั้งความรู้ สึกจากหู จมูก เจริญดีในปลา ส่ วนสั ตว์ ช้ ั นสู ง จะมีขนาดเล็กลง และมีขนาดเล็กทีสุดในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม ่ ้ ้ ภาพแสดงลักษณะสมองส่ วนกลาง ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/hypothalamuspic.htm ่ ( 5 เมษายน 2550 )
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 11 สมองส่ วนท้าย ( hindbrain ) ประกอบด้ วย 1. ซีรีเบลลัม ( cerebellum ) ทาหน้ าที่ ติดต่ อกับประสาทรับความรู้ สึกทีมาจาก ่ หน่ วยรับความรู้ สึกทีบอกตาแหน่ งของกล้ ามเนือลาย จึงเป็ นศูนย์ การทางานของกล้ ามเนือลาย ่ ้ ้ ควบคุม การทรงตัวของร่ างกาย เช่ น ขณะเดินไปบนท่อนไม้ เล็ก ๆ ได้ ไม่ ล้ม การทีคนเมาสุ รา ่ เดินไม่ ตรง เนื่องจากแอลกอฮอล์ไปมีผลต่ อการทางานของซีรีเบลลัม ควบคุมการทางาน ประสานสั มพันธ์ ระหว่างการใช้ มือกับนัยน์ ตา 2 เมดุลลา ออบลองกาตา ( medulla oblongata ) เป็ นส่ วนสุ ดท้ ายของสมอง ตอนปลายสุ ดของสมองส่ วนนีติดกับไขสั นหลัง ทาหน้ าที่ดังนี้ เป็ นศูนย์ กลางควบคุมกิจกรรม ้ ของระบบประสาทอัตโนวัติ ศูนย์ ควบคุมการหายใจ ควบคุมการเต้ นของหัวใจ และการหมุนเวียน เลือดควบคุมการไอ การจาม การกระพริบตา และควบคุมการเกิดเพอริสทัลซิส และการหลังนาย่ อย ่ ้ เพือให้ เกิดการย่อยอาหาร ่ 3. พอนส์ ( pons ) ทาหน้ าที่ ดังนี้ ควบคุมการเคลือนไหวทีเ่ กียวกับการเคียว ่ ่ ้ การหลังนาลาย การเคลือนไหวบริเวณใบหน้ า ศูนย์ ควบคุมข้ อมูลทีส่งผ่ านระหว่ างสมองส่ วน ่ ้ ่ ่ ซีรีบรัมกับซีรีเบลลัม และระหว่างซีรีเบลลัมกับไขสั นหลัง หมายเหตุ สมองส่ วนกลาง พอนส์ และเมดัลลาออปลองกาตา รวมกันเรี ยกว่ า ก้ านสมอง (Brain stem) ภาพแสดงส่ วนประกอบของก้านสมอง ( Brain Stem) ทีมา : www.tistr.or.th 365 x 247 - 10k – jpg ( 5 เมษายน 2550 ) ่
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 12 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ่ ่ ลงในกระดาษคาตอบ 1. ส่ วนใดของสมองของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง ยิงมีววฒนาการสู งยิงมีขนาดเล็กลง ่ ิั ่ ก. สมองส่ วนหน้ า (fore brain) ข. สมองส่ วนกลาง (mid brain) ค. สมองส่ วนหลัง (hind brain) ง. เมดัลลา ออบลองกาตา (medulla oblongata) 2. ก้านสมองประกอบด้ วยอะไรบ้ าง ก. สมองส่ วนกลาง ซีรีเบลลัม พอนส์ ข. สมองส่ วนกลาง ซีรีบรัม พอนส์ ค. สมองส่ วนกลาง พอนส์ เมดัลลา ออบลองกาตา ง. สมองส่ วนกลาง ซีรีบรัม เมดัลลา ออบลองกาตา 3. ส่ วนของสมองส่ วนท้ ายบริเวณใดทาหน้ าทีประสานงานระหว่างมือกับตา ่ ก. พอนส์ ข. ซีรีเบลลัม ค. ฮิปโปแคมปัส ง. เมดัลลา ออบลองกาตา 4. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าทีของสมอง ้ ่ ก. ช่ วยให้ จดจาสิ่ งต่ าง ๆ ข. ควบคุมกิจกรรมของกล้ ามเนื้อ ค. ควบคุมการเกิด รีเฟลกซ์ แอกชั่ น ง. รับสั ญญาณจาก หน่ วยรับความรู้ สึก 5. เส้ นประสาทสมองคู่ใดเป็ นเส้ นประสาทผสม ก. คู่ที่ 1 , 2 , 8 , 10 ข. คู่ที่ 2 , 3 , 5 , 10 ค. คู่ที่ 3 , 5 , 7 , 10 ง. คู่ที่ 5 , 7 , 9 , 10
  • 9. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 13 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่สมอง 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ง เก่งจังเลย ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไปกันเลยนะ