SlideShare a Scribd company logo
1 of 118
Download to read offline
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวของกับ
พฤติกรรมการรับรู
นางสาวณิชากร เสงสุย
นางสาวจุฑามาส ศิริภักษ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการเรียนรู
 ระบบประสาท
 ระบบกลามเนื้อ
 ระบบตอมไรทอ
 พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
Ãкº»ÃÐÊÒ·
ระบบประสาทมีหนาที่ควบคุมและประสานการทํางานของระบบตาง ๆ
ในรางกาย เมื่อมีสิ่งเราจากภายนอกหรือความตองการภายในกระตุนระบบ
ประสาทก็จะวิเคราะหสั่งการ ใหรางกายตอบสนอง
หน้าที่ของระบบประสาท
1. รวบรวมข้อมูล
2. นําส่งข้อมูล
3. วิเคราะห์ข้อมูล
4. ส่งงานไปยังระบบต่าง ๆ
เปรียบเทียบกับระบบการทํางานของ
คอมพิวเตอร
การทํางานของระบบประสาท ประกอบดวย
 สมอง (Brain)
 ไขสันหลัง (Spinal Cord)
 เสนประสาท (Nerve)
 อวัยวะรับความรูสึกเฉพาะ (Sense organs)
Ãкº»ÃÐÊÒ·
โครงสร้างของระบบประสาท
แบงตามตําแหนงและโครงสรางไดเปน 2 สวน คือ
1. ระบบประสาทสวนกลาง
(Central nervous system : CNS)
2. ระบบประสาทรอบนอก หรือระบบประสาทสวนปลาย
(Peripheral nervous system : PNS)
เซลลประสาท (Neurons)
เปนหนวยยอยที่สุดในระบบประสาท
 ประกอบไปดวยสวนที่เปน body, dendrites และ axon
 ขอมูลที่นําสงเซลลประสาทในรูปแบบไฟฟา (Electrical signals) ซึ่ง
เรียกวา impulse การนําสงขอมูลจะไปทิศทางเดียวเทานั้น
ชนิดของเซลลประสาท
1. Sensory neurons (Receptor afferent) รับความรูสึก
มีหนาที่นําสง impulse จาก sense organ ไปยัง CNS
2. Motor neurons (efferent) สั่งการ
มีหนาที่นําสง impulses จาก CNS ไปยังกลามเนื้อและตอมตาง ๆ ของ
รางกาย กลามเนื้อก็จะตอบสนองตอ impulse ดวยการหดตัว และตอมจะ
ตอบสนองดวยการหลั่งสารออกมา
3. Interneurons เชื่อมโยง
เปนตัวที่เชื่อมตอระหวาง sensory และ Motor พบเฉพาะใน CNS
ขอมูลเมื่อผานระบบประสาทจาก
เซลลประสาทตัวหนึ่งไปยังเซลลประสาทอีก
ตัวหนึ่ง บริเวณรอยตอของเซลลประสาท
2 เสนเรียกวา synapse เซลลประสาท
นอกจากจะติดตอกันเองแลวยังสามารถ
ติดตอกับเซลลกลามเนื้อและเซลลตอมตาง
ๆ ไดดวย
สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
เปนสารเคมีที่หลั่งจากปลายประสาทตัวหนึ่ง มีผลตอเซลลประสาท
กลามเนื้อ และตอม แบงตามกลไกการออกฤทธิ์ดังนี้
1. Excitatory transmitter ออกฤทธิ์กระตุนใหอีกเซลลหนึ่งทํางาน
2. Inhibitory transmitter ออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของอีกเซลลหนึ่ง
3. สารเคมีทั้งที่เปน Excitatory และ Inhibitory
ระบบประสาทสวนกลาง
สมอง | ไขสันหลัง
ระบบประสาทสวนกลาง
ประกอบไปดวยกานสมอง
และไขสันหลัง ไดรับการปกปองใน
กระดูก ไมใหสัมผัสกับสิ่งแวดลอม
ภายนอกโดยตรง
สมอง (Brain)
> เปนอวัยวะที่ทําหนาที่ในการปรับและควบคุมการทํางานของระบบ
ประสาทและระบบรางกายอื่น ๆ
> จะรับขอมูลจากประสาทสวนปลายและสันหลัง ทําการแปลผล
วิเคราะหขอมูลและสั่งใหตอบสนองใหเหมาะสม
> นอกจากนี้ยังมีระบบการทํางานขั้นสูงอีกหลายประการ เชน ความ
รูสึกตัว ความจํา และมีสวนในการกําหนดพฤติกรรมของมนุษย
ʋǹµ‹Ò§ æ ¢Í§ÊÁͧáÅÐ˹ŒÒ·Õè
1. Cerebaral cortex สวนที่ใหญที่สุดของสมอง ประกอบไปดวย
frontal, parietal, temporal และ occipital lop มีหนาที่รับและวิเคราะห
ขอมูลจากสิ่งที่มากระตุนทั้งภายนอกและภายในรางกาย และแปลผลออกมาใน
รูปแบบของการตอบสนอง
2. Limbic system ประกอบไปดวยเนื้อสมองสวนยอย ๆ หลายสวน มีหนาที่ในการ
ประสานสภาวะทางอารมณเขากับการเคลื่อนไหวและสภาวะทางอารมณ
3. Midbrain และ Brain stem เปนสวนที่เชื่อมตอระหวาง crebra cortex เขากับ
ไขสันหลัง
4. Cerebellum เปนสมองที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและการทรงตัว
Cerebral cortex
มีหนาที่รับและวิเคราะหขอมูลจากสิ่งที่มา
กระตุนทั้งภายนอกและภายในรางกาย และแปลผล
ออกมาในรูปแบบของการตอบสนอง
1) Frontal lope (สมองสวนหนา)
 ตําแหนงที่ทําหนาที่หลักในการควบคุม
การเคลื่อนไหว บริเวณที่เปนศูนยควบคุมที่
เรียกวา Motor Area
Cerebral cortex
Cerebral cortex
2) Parietal lope (พาไรเอทัล)
 รับรูความรูสึกจากสวนตาง ๆ ของ
รางกาย
Cerebral cortex
3) Temporal lop (สมองสวนขมับ)
 มีตําแหนงหนาที่เกี่ยวกับการไดยิน
Cerebral cortex
4) Occipital lope (สมองสวนหลัง)
 มีตําแหนงหนาที่เกี่ยวกับการไดมองเห็น
ไขสันหลัง (Spinal cord)
> เปนระบบประสาทสวนกลางที่อยูในชองไขสันหลัง ไขสันหลังเริ่มตน
จากชองกระดูกทายทอย ลงไปสิ้นสุดมี่ขอบลางของกระดูกเอว มีความ
ยาวประมาณ 42 – 45 เซนติเมตร
> จํานวน 31 คูออกจากไขสันหลัง
หนาที่ของไขสันหลัง
1. เปนศูนยกลางของ Spinal reflex
2. ตําแหนงแรกที่รับสัญญาณประสาทจากระบบความรูสึกเพื่อสงตอไปยัง
สมอง
3. เปนตําแหนงสิ้นสุดของสัญญาณประสาทที่มาจากระบบประสาท motor
เนื่องจากมี anterior motor neurons ที่จะเปนเซลลประสาทที่รับคําสั่ง
จาก corticospinal tract และสั่งการไปยังเซลลกลามเนื้อ
4. ทางเดินของกระแสประสาทที่ติดตอระหวางไขสันหลังและสมอง
5. เปนศูนยกลางของระบบประสาทออโตโนมิก
Reflex
เปนกลไกการตอบสนองที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากถูกกระตุน Spinal Reflex
ระบบประสาทสวนปลาย
PNS
ระบบประสาทสวนปลายประกอบไปดวย 2 สวน คือ
1. Sensory division (afferent)
ประกอบไปดวยเซลลประสาทที่ทําหนาที่รับสัญญาณประสาททั้ง
ภายในและภายนอกรางกาย และนําสงไปยังระบบประสาท
สวนกลาง
2. Motor division (efferent)
ทําหนาที่รับคําสั่งจากสวนกลางไปยังกลามเนื้อและตอมตาง ๆ
ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย
1. Sensory – somatic nervous system ประกอบไปดวยเสนประสาท 12 คู
และเสนประสาทสันหลัง 31 คู
1.1 cranial nerve เสนประสาทสมองทั้ง 12 คู ทําหนาที่รับความรูสึกและ
การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อใบหนา ปาก ลําคอ
1.2 spinal nerves เสนประสาทสันหลังประกอบไปดวย sensory และ
motor ซึ่งทํางานภายใตอํานาจของจิตใจ
ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย (ต่อ)
2. Autonomic nervous system เปนการควบคุมการทํางานของรางกาย
ภายนอกจิตใจ ประกอบไปดวย sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหวางระบบ
ประสาทสวนกลางและอวัยวะภายในตาง ๆ แบงเปน 2 ระบบ คือ
Sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้งสองระบบนี้
จะสั่งงานตรงขามกันในแตละอวัยวะ
2.1 Sympathetic nervous system ถูกกระตุนในกรณีฉุกเฉิน ผลจาก
การกระตุนเชนหัวใจเตนเร็ว เลือดไปเลี้ยงหัวใจมากขึ้น การยอยอาหาร
ลดลง
2.2 parasympathetic nervous system ผลจากการกระตุนระบบนี้
ออกฤทธิ์ตรงกันขามกับการกระตุน หัวใจเตนชาลง ลําไสทํางานมากขึ้น
ระบบกลามเนื้อ
รางกายแบงกลามเนื้อออกเปน 3 ชนิด คือ
- กลามเนื้อยึดกระดูกหรือกลามเนื้อลาย
- กลามเนื้อเรียบ
- กลามเนื้อหัวใจ
โดยที่กลามเนื้อลายนั้นถูกควบคุมอยู
ภายใตอํานาจจิตใจหรือรีเฟล็กซ สวนกลามเนื้อ
เรียบและกลามเนื้อหัวใจทํางานนอกอํานาจ
จิตใจ
1. กลามเนื้อลายหรือกลามเนื้อยึดกระดูก
(skeletonmuscle)
เปนกลามเนื้อที่เกาะติดกับโครงกระดูกหรือกลามเนื้อลาย เชน
กลามเนื้อแขน กลามเนื้อขา จึงทําหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ
รางกายโดยตรง
1. กลามเนื้อลายหรือกลามเนื้อยึดกระดูก
(skeletonmuscle) (ตอ)
เมื่อนําเซลลกลามเนื้อเหลานี้มาศึกษาดวย กลองจุลทรรศนจะ
มองเห็นเปนแถบลาย เซลลกลามเนื้อนี้มีลักษณะเปนทรงกระบอกยาว แต
ละเซลล มีหลายนิวเคลียสอยูที่ขอบของเซลล มีลายตามขวางสีเขมและสี
จางสลับกัน ซึ่งเห็นไดชัดเจนเมื่อยอมดวยสี ซึ่งคนที่ออกกําลังเสมอเสนใย
กลามเนื้อจะโตขึ้น และหนาขึ้น แตจํานวนไมเพิ่มขึ้นการทํางานของ
กลามเนื้อยึดกระดูกถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก
1. กลามเนื้อลายหรือกลามเนื้อยึดกระดูก
(skeletonmuscle)(ตอ)
การทํางานของกลามเนื้อชนิดนี้ รางกายสามารถบังคับได ซึ่งถือวา
อยูในอํานาจจิตใจ โดยกลามเนื้อลายมีหนาที่เคลื่อนไหวรางกายที่ขอตอ
ตางๆเคลื่อนไหวลูกตา ชวยในการเคี้ยวและการกลืน เคลื่อนไหวลิ้น
เคลื่อนไหวใบหนาแสดงอารมณตางๆ และยังประกอบเปนผนังอก และ
ผนังทองตลอดจนการควบคุมการขับถายปสสาวะและอุจจาระ
2.กลามเนื้อหัวใจ (cardiacmuscle)
ประกอบเปนกลามเนื้อหัวใจเพียงแหงเดียวอยูนอกอํานาจจิตใจ โดย
ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติมีลักษณะเปนเซลลรูปทรงกระบอกมี
ลายตามขวางเปนแถบสีทึบสลับกับสีจาง เซลลกลามเนื้อตอนปลายของ
เซลลมีการแตกแขนง ไปประสานกับแขนงของเซลลใกลเคียง เซลล
ทั้งหมดจะหดตัวพรอมกัน และหดตัวเปนจังหวะตลอดชีวิต
3.กลามเนื้อเรียบ (smoothmuscle)
เปนกลามเนื้อที่พบอยูตามอวัยวะภายใน ทําหนาที่ควบคุมการ
ทํางานของอวัยวะยอยอาหาร และอวัยวะภายในตางๆ เชนผนังกระเพาะ
อาหาร ผนังลําไส ผนังหลอดเลือด และมานตา เปนตน กลามเนื้อเหลานี้
ประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะยาว หัวทายแหลม แตละเซลลมี 1
นิวเคลียส ไมมีลายพาดขวาง การทํางานของกลามเนื้อเรียบถูกควบคุมโดย
ระบบประสาทอิสระ มีลักษณะเปนเซลลรูปกระสวย มีนิวเคลียสรูปไขอยู
ตรงกลาง
คุณสมบัติของกลามเนื้อ
• มีความรูสึกตอสิ่งเรา (Irritability) คือ สามารถรับ และตอบสนองตอการ
หดตัวของ กลามเนื้อ เชน กระแสประสาทที่กลามเนื้อเวลาที่จับโดนความ
รอนหรือ กระแสไฟฟา เรามักมีการหนีหรือหลบเลี่ยง
• มีความสามารถที่จะหดตัวได (Contractelity) คือ กลามเนื้อสามารถ
เปลี่ยนรูปรางใหสั้นหนา และแข็งได
คุณสมบัติของกลามเนื้อ(ตอ)
• มีความสามารถที่จะหยอนตัวหรือยืดตัวได (Extensibility) กลามเนื้อ
สามารถ ที่จะเปลี่ยน รูปรางใหยาวขึ้นกวาความยาวปกติของมันได เมื่อถูก
ดึง เชน กระเพาะอาหาร กระเพาะปสสาวะ มดลูก เปนตน
• มีความยืดหยุนคลายยาง (Elasticity) คือ มีคุณสมบัติที่เตรียมพรอมที่จะ
กลับคืนสูสภาพเดิมได ภายหลังการถูกยืดออกแลว
• มีความสามารถที่จะดํารงคงที่อยูได (Tonus) โดยกลามเนื้อมีการหดตัว
บางเล็กนอย เพื่อเตรียมพรอมที่จะทํางานอยูเสมอ
การทํางานของกลามเนื้อ
การทํางานของกลามเนื้อนั้นจะตองอาศัยปจจัยตางๆ ไดแก
1. แคลเซียมไอออน หากขาดแลวจะเกิดอาการชัก
2. พลังงาน ไดจากกระบวนการสลายอาหารภายในเซลล
3. Myoglobin ทําหนาที่นําออกซิเจนใหกลามเนื้อ
การทํางานของกลามเนื้อ
กลามเนื้อในสวนตางๆของรางกาย
กลามเนื้อในรางกายทั้งหมดมีอยูประมาณ 792 มัด เปนกลามเนื้อ
ชนิดที่อยูในอํานาจจิตใจ 696 มัด ที่เหลืออีก 96 มัด เปนกลามเนื้อที่เรา
บังคับไดไมเต็มสมบูรณ ซึ่งไดแกกลามเนื้อ ที่ทําหนาที่ในการ
หายใจ (Respiration) จาม (Sneezing) ไอ (Coughing)
กลามเนื้อที่ชวยในการหายใจ
การขยายขนาดของทรวงอกและการลดขนาดของทรวงอก การ
ขยายขนาดทรวงอก จะทําใหเกิดชองวาง ซึ่งทําใหความดันในปอด
ลดลง อากาศจากภายนอกจึงไหลเขาสูปอดได สวนการลดขนาดก็เปน
การเพิ่มความดัน ทําใหเกิดการหายใจออก อวัยวะที่ทําหนาที่เพิ่มและลด
ขนาดของทรวงอก คือกลามเนื้อตางๆ
กลามเนื้อที่ชวยเพิ่มขนาดทรวงอกเพื่อหายใจเขา
• กระบังลม (diaphragm) เปนกลามเนื้อที่สําคัญที่สุดของการหายใจเขา
ในขณะพักการหดตัวจะทําใหเพิ่มขนาดของทรวงอกตามแนวตั้ง
• กลามเนื้อระหวางซี่โครง กลามเนื้อนี้เกาะจากขอบลางของซี่โคลงซี่บน
และวิ่งเปนเสนทะแยงมุมมาทางดานหนามาเกาะที่ขอบบนของซี่โครง
ซี่ลาง เวลาหดตัวจะชวยยกซี่โครงและกระดูกหนาอก(sternum) ขึ้นทํา
ใหทรวงอกขยายตัวโดยมาก จะเกิดเมื่อรางกายจําเปนตองหายใจแรงๆ
เชน ในขณะออกกําลังกาย
กลามเนื้อที่ชวยเพิ่มขนาดทรวงอกเพื่อหายใจเขา
• กลามเนื้อบริเวณคอ โดยเวลาหดตัวจะชวยยก
ซี่โครง 2 ซี่บน และกระดูกหนาอกขึ้นทําใหทรวง
อกเกิดชองวาง โดยมากจะเกิดขึ้นขณะรางกายออก
กําลังกาย
• กลามเนื้อที่ชวยเหยียดหลังและศีรษะใหตั้งตรง
เพื่อใหหายใจเขาไดเต็มที่ในขณะออกกําลังกายอยาง
หนัก คือ กลามเนื้อหลังรูปสามเหลี่ยมใหญ
กลามเนื้อที่ชวยเพิ่มขนาดทรวงอกเพื่อหายใจออก
• กระบังลม เมื่อคลายตัวจะดันขึ้นสูดานบนทําให
ขนาดของทรวงอกแคบลง แรงดันของอากาศใน
ปอดเพิ่มสูงขึ้น จึงเกิดการหายใจออก
• กลามเนื้อทอง (abdominals) จะหดตัวทําให
ความดันในชองทองสูงขึ้น ความดันนี้จะไปดัน
กระบังลมซึ่งคลายตัวใหกลับขึ้นไปในทรวงอกได
มากขึ้น
กลามเนื้อของแขน
กลามเนื้อของแขน แบงออกเปนสวน ๆ ดังนี้
(1) กลามเนื้อของไหล ที่สําคัญไดแก กลามเนื้อ deltoid เนื้อใหญ
หนา มีรูปเปนสามเหลี่ยมคลุมอยูที่ขอไหล ตั้งตนจากปลายนอกของ
กระดูกไหปลารา และกระดูกสะบัก แลวไปยึดเกาะที่พื้นนอกตอนกลาง
ของกระดูกแขนทอนบน ทําหนาที่ยกตนแขนขึ้นมาขางบนใหไดระดับกับ
ไหลเปนมุมฉาก
กลามเนื้อของแขน (ตอ)
(2) กลามเนื้อของตนแขน ที่สําคัญไดแก - ไบเซฟสแบรคิไอ (biceps
brachii) เปนกลามเนื้อที่อยูดานหนาของตนแขน มีรูปคลายกระสวย ทํา
หนาที่งอขอศอกและหงายมือ - ไตรเซฟสแบรคิไอ (triceps brachii) เปน
กลามเนื้อมัดใหญอยูดานหลังของตนแขน ปลายบนแยกออกเปน 3 หัว
ชวยทําหนาที่เหยียดปลายแขนหรือขอศอก
กลามเนื้อของแขน(ตอ)
(3) กลามเนื้อของปลายแขน มีอยูหลายมัด จําแนกออกเปนดานหนา
และ ดานหลัง ในแตละดานยังแยกเปน 2 ชั้น คือ ชั้นตื้น และชั้นลึก ทํา
หนาที่เหยียดขอศอก เหยียดและงอมือ เหยียดนิ้วมือ กระดกขอมือ งอ
ขอมือ พลิกแขนและคว่ําแขน ฯลฯ
กลามเนื้อของแขน(ตอ)
(4) กลามเนื้อของมือ เปนกลามเนื้อสั้นๆ ทําหนาที่เคลื่อนไหวนิ้วมือ
โดยเมื่อสมองสั่งใหรางกายเคลื่อนไหว กลามเนื้อจะเกิดการหดตัวและคลาย
ตัว ทํางานประสานเปนคู ๆ พรอมกัน แตตรงขามกัน ในขณะที่กลามเนื้อ
มัดหนึ่งหดตัว กลามเนื้ออีกมัดหนึ่งจะคลายตัว
กลามเนื้อของแขน(ตอ)
-การเหยียดและงอแขน โดยมีมัดกลามเนื้อไบเซพ (Biceps) อยู
ดานบน และไตรเซพ (Triceps) อยูดานลางของแขน
- ไบเซพ คลายตัว ไตรเสพ หดตัว »» แขนเหยียดออก
- ไบเซพ หดตัว ไตรเสพ คลายตัว »» แขนงอเขา
กลามเนื้อของขา
กลามเนื้อของขาจําแนกออกเปน
(1) กลามเนื้อตะโพก กลามเนื้อมัดใหญที่สุดของตะโพก ไดแก กลู
เทียส แมกซิมัส (gluteus maximus) มีลักษณะหยาบ และอยูตื้น ชวยทํา
หนาที่เหยียดและกางตนขา นอกจากนี้ยังมีมัดเล็กๆ อยูใตกลามเนื้อมัดใหญนี้
ชวยกางและหมุนตนขาเขาขางใน
(2) กลามเนื้อของตนขา ประกอบดวย
- กลามเนื้อดานหนาของตนขา มีหนาที่เหยียดปลายขา
- กลามเนื้อดานในของตนขา มีหนาที่หุบตนขา
- กลามเนื้อดานหลังของตนขา มีหนาที่งอปลายขา
กลามเนื้อของขากลามเนื้อของขา (ตอ)
(3) กลามเนื้อของปลายขา ประกอบดวย
- กลามเนื้อดานหลังของปลายขา ทําหนาที่งอเทาขึ้นเหยียด
นิ้วเทา และหันเทาออกขางนอก
- กลามเนื้อดานนอกของปลายขา ชวยทําหนาที่เหยียดปลายเทา
เหมือนกลามเนื้อดานหลังของปลายขา
(4) กลามเนื้อของเทา เปนกลามเนื้อสั้นๆ เหมือนกับของมือ อยูที่
หลังเทา และฝาเทา มีหนาที่ชวยยึดเทาใหเปนสวนโคง และเคลื่อนไหวนิ้วเทา
Ãкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í
 คือ ต่อมไม่มีท่อ
ระบบตอมไรทอ
อมรพันธุ เสรีมาศพันธ , ภาควิชากายภาคศาสตร คณะแพทยศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
เปนระบบการทํางานหนึ่งที่สรางสารชีวะโมเลกุล และสารดังกลาวจะถูกหลั่ง
ออกมาจากเซลลในรางกายสูกระแสเลือด เรียกวา “ฮอรโมน (Hormone)”
ฮอรโมน
มีความสําคัญอยางยิ่งในการควบคุมสมดุลของรางกาย เปนระบบการทํางานที่
ชวยสื่อสารขอมูลระหวางแหลงสรางฮอรโมนตนทางกับอวัยวะหรือเซลลปลายทางอยาง
เหมาะสม
ตอมไรทอที่สําคัญ
1. ตอมใตสมอง (Pituitary grand) 2. ตอมไทรอยด (Thyroid gland)
3. ตอมพาราไทรอย (Parathyroid gland) 4. ตับออน (Pancrease)
5. ตอมหมวกไต (Adrenal gland) 6. ตอมเพศ (Gonad)
7. ฮอรโมนจากรก 8. ตอมเหนือสมอง (Pineal gland)
9. ฮอรโมนจากไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส
หนาที่ของตอมไรทอ
 ควบคุมระบบสมดุลของรางกาย
 ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกาย
 ชวยในการปรับตัวตอภาวะเครียดและความผิดปกติตาง ๆ ของรางกาย
 ชวยในการสงเสริม สวนเกี่ยวของกับการเจริญพันธุ
 ชวยในการทํางานสอดประสานกันของสวนตาง ๆ ในรางกาย
ตอมไพเนียล
 อยูระหวางเซรีบรัมซีกซายและขวา
 ทําหนาที่สรางฮอรโมน เมลาโทนิล (Melatonin)
เมลาโทนิล (Melatonin)
หนาที่ ยับยั้งอวัยวะสืบพันธไมใหเจริญเติบโตเร็วเกินไป
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ
สาเหตุ อาการ
ฮอรโมนมากเกินไป เปนวัยรุนชากวาปกติ
ฮอรโมนนอยเกินไป เปนวัยรุนเร็วกวาปกติ
ตอมใตสมอง (PITUITARY GLAND)
อาจารยภานุวัฒน ศิวะสกุลราช, การพัฒนาคน
 ตอมใตสมองหรือตอมพิทูอิตารี่ เปนตอมไรทอที่
สําคัญมากในรางกาย
 มีขนาดเล็กเทาเมล็ดถั่วลันเตา
 อยูบริเวณขมับดานซายใตสมองสวนไฮโปทาลามัส
(Hypothalamus)
 ทําหนาที่ควบคุมตอมอื่น ๆ อีก 7 ตอมเพื่อผลิต
ฮอรโมนไดเปนปกติ
ตอมใตสมอง
 แบงออกเปน 3 สวน คือ
1. ตอมใตสมองสวนหนา
2. ตอมใตสมองสวนกลาง
3. ตอมใตสมองสวนหลัง
 ขนาด 1 ถึง 1.5 เซนติเมตร
ตอมใตสมองสวนหลัง
ไมไดสรางฮอรโมน แตมีปลาย แอกซอล ของ นิวโร
ซีครีทอรีเซลล (neurosecretory cell)
ฮอรโมน จากตอมใตสมอง
ฮอรโมนจากตอมใตสมองสวนหนา
การหลั่งฮอรโมนจากตอมใตสมองสวนหนา สวนหนึ่งถูกควบคุมดวย
ฮอรโมนประสาทจากไฮโปทลามัส
1 โกรทฮอรโมน (Growth hormone : GH)
- มีหนาที่สําคัญในการในการควบคุมการเจริญเติบโตทั่ว ๆ ไปของรางกาย
สาเหตุ อาการ
มากเกินไป รางกายสูงใหญผิดปกติ
นอยเกินไป เตี้ยแคระ
ความผิดปกติ : วัยเด็ก
สาเหตุ อาการ
มากเกินไป สวนที่เปนกระดูกยังตอบสนองฮอรโมน จะไม
สูงขึ้น แตสวนที่เปนกระดูกจะใหญผิดปกติ
นอยเกินไป ไมแสดงอาการ ทางกายภาพ
แตจะมีระดับน้ําตาลในเลือดนอยกวาคนปกติ ทํา
ใหรางกายไมทนตอความเครียดตาง ๆ สมอง
อาจจะไดรับอันตรายไดงาย เพราะไดรับ
สารอาหารไมเพียงพอ
ความผิดปกติ : วัยผูใหญ
ความผิดปกติจาก
Growth hormone
เรียกยอวา GH
2 โกนาโดโทรฟน (Gonodotrophin : Gn)
ประกอบดวย
 ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอรโมน (Follicle stimulating hormone)
เรียกวา FSH
 และลูทิไนซิงฮอรโมน (Luteinizing hormone) เรียกวา LH
เพศชาย
FSH - กระตุนการเจริญของอัณฑะ และหลอดสรางอสุจิ
LH - กระตุนกลุมเซลลอินเตอรสติเชียล (Interstitial cell) ที่แทรกระหวาง
หลอดสรางอสุจิในอัณฑะใหหลั่งฮอรโมนเพศชาย คือ ฮอรโมนเทสโทสเทอโรน
(testosterone)
เพศหญิง
FSH - กระตุนการสรางการเจริญของ ฟอลลิเคิล (Follicle) ในรังไข ขณะฟอ
ลิเคิลเจริญจะสราง ฮอรโมนเอสโทรเจน (estrogen)
LH - จะกระตุนการตกไขและเกิดคอรปสลูเทียม คอปสลูเทียมจะสราง
ฮอรโมน โพรเจสเทอโรน (progesterone)
ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน ทําหนาที่รวมกับ ฮอรโมนเอสโทรเจน ที่จะทําหนาที่
เปลี่ยนแปลงรังไขและมดลูก เพื่อรองรับการฝงตัวของเซลลไขที่ถูกผสม
3 โพรแลกทิน (prolactin)
กระตุนใหตอมน้ํานมสรางน้ํานมเพื่อเลี้ยงลูกออน
4 อะดรีโนคอรติโคโทรฟน (Adrenocorticotrophin)
เรียกยอวา ACTH ทําหนาที่กระตุนตอมหมวกไตสวนนอกใหหลั่งฮอรโมน
ตามปกติ
5 ไทรอยดสติมิวเลติงฮอรโมน (Thyroid stimulating hormone)
เรียกวา TSH หนาที่หลักคือ กระตุนตอมไทรอยดใหหลั่งฮอรโมนเปนปกติ
6 เอนดอรฟน (endorphin)
เปนสารที่มีฤทธิ์คลายมอรฟน พบวามีแหลงสรางจากตอมใตสมองสวนหนาและ
อาจจะสรางจากเนื้อเยื่อสวนอื่น ๆ ไดอีกดวย เปนสารที่มีฤทธิ์ระงับความ
เจ็บปวด หลั่งเมื่อออกกําลังกายหรืออารมแจมใส เรียกวาสารแหงความสุข
ตอมไทรอยด (Thyroid)
 ตอมไรทอที่ใหญที่สุดในรางกาย
 อยูติดกับกลองเสียงมีลักษณะเปน 2 พู และมีสวนบาง ๆ ของเนื้อเยื่อของตอม
พาราไทรอยด ติดตออยูดวย 2 ตอม
 ภายในตอมไทรอยด ประกอบดวยกลุมเซลลจํานวนมาก
 แตละกลุมเซลลประกอบดวยเซลลที่มีความหนาเพียงชั้น
เดียว
 มีชองตรงกลาง เรียกกลุมเซลลนี้วา ไทรอยดฟอลลิเคิล
(thyroid follicle) ทําหนาที่สรางฮอรโมน ไทรอกซิน
(thyroxin)
 ไทรอกซิล (thyroxin) ซึ่งมีไอโอดีนเปนสวนประกอบ แลว
ปลอยเขาสูกระแสเลือด มีหนาที่ควบคุม ระบบเมตาบอลิซึม
ของรางกาย
ผลจากการขาดฮอร์โมนไทรอกซิน
สาเหตุ อาการ
ขาดฮอรโมน (เด็ก) พัฒนาการทางดานรางกายและสมองดอยลง
รางกาย เตี้แคระ แขน ขาสั้น ผิวหยาบแหง ผม
บาง เจริญเติบโตชากวาปกติ ปญญาออน เรียกวา
กลุมอาการ เครทินิซึท (cretinism)
ขาดฮอรโมน (ผูใหญ) อาการเหนื่อยงาย น้ําหนักเพิ่ม ทนความหนาว
ไมได กลามเนื้อออนแรง ผมผิวหนังแหง หัวใจโต
รางกายออนแอ ติดเชื้องาย ซึม เฉื่อยชา และ
ความจําเสื่อม กลุมอาการนี้เรียกวา มิกซีดีมา
(Myxedema)
โรคคอพอก
 เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน
 เนื่องจากตอมไทรอยดไมสามารถสราง ไทรอกซิน ได อาการคลายซีนีมา
แตจะมีคอโตดวย
 เนื่องจากตอมใตสมองสวนหนาหลั่ง TSH มากระตุนตอมไทรอยดมาก
เกินไป
โรคคอพอกเปนพิษ (Toxic goiter)
 ตอมไทรอยดถูกกระตุนใหสรางฮอรโมนมากเกินไป ผูเปนโรคนี้จะมีคอ
หอยไมโตมากนัก แตจะมีตาโปนตามมาดวย
 เนื่องมาจากเกิดอาการผิดปกติทางรางกายทําใหตอมไทรอยดถูกกระตุน
ใหทํางานตลอดเวลา ตอมจึงขยายใหญขึ้น และสรางฮอรโมนมากกวาปกติ
ตอมพาราไทรอยด (parathyroid)
 สรางฮอรโมน พาราทอโมน (parathormone) หรือ พาราไทรอยดฮอรโมน
(parathyroid) เรียกยอวา PTH
 PTH มีหนาที่ ควบคุมสมดุลของแคลเซียมในเลือดใหคงที่และมีสมดุล
 มีผลตออวัยวะสําคัญ 3 แหงคือ
 ทางเดินอาหารชวยเรงการดูดซึมของแคลเซียมในลําไสเล็ก
 ผลตอกระดูกชวยเพิ่มอัตราการสลายแคลเซียมและฟอสฟอรัสที่กระดูก
 ไต ชวยเพิ่มการดูดกลับของแคลเซียม แตจะเพิ่มการขับฟอสฟอรัสออกทาง
ปสสาวะ
ผลกระทบ PTH
-นอยกวาปกติ ระดับแคลเซียมในเลือด
ต่ํา ทําใหกลามเนื้อเกร็งและชักกระตุก
ปอดไมทํางาน การบีบตัวของหัวใจ
ออนลง อาจจะทําใหเสียชีวิตได
- มากเกินไป จะมีการสลายแคลเซียม
จากกระดูกและฟนมายังกระแสเลือด
ทําใหแคลเซียมสูง กระดูกบาง ฟนผุ
ก. ควบคุมโดยแคลซิโทนิน
ข. ควบคุมโดย PTH
ตับออน (Pancreas)
 ภายในตับออน จะมีกลุมเซลลที่เรียกวา ไอส
เลดออฟแลงเกอรฮานส
(Islats of langerhans)
 ทําหนาที่ผลิตฮอรโมนที่สําคัญ 2 ชนิด คือ
อินซูลิน (insulin) และกลูคาคอน (Glucagon)
ฮอรโมนอินซูลิน
-สรางจากกลุมเซลลเบตาเซลล ที่บริเวณสวนกลางของไอซเลนออฟแลงเกอรฮานส ทํา
หนาที่ลดระดับน้ําตาลในเลือด ใหกลับสูภาวะปกติ
- เมื่อรางกายมีระดับน้ําตาลมากขึ้น อินซูลินก็จะถูกหลั่งออกมาสูเซลลตับและกลามเนื้อ
มากขึ้น และเปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกรโคเจนเพื่อเก็บสะสมไว ทําใหระดับน้ําตาลลดลง
กลูคากอน
- เปนฮอรโมนที่สรางจาก แอลฟาเซลล
- กลูคากอนจะไปกระตุนการสลายตัวของ ไกลโคเจนจากตับ และกลามเนื้อเปน
น้ําตาล กลูโคส แลวปลอยออกมาทําใหระดับน้ําตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
 รางกายไมสามารถนําน้ําตาลไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ อีก
ทั้งประสิทธิภาพของตับในการเก็บกลูโคสไวในรูปไกลโคเจนลดลง
 ทําใหหลังรับประทานอาหารแตละมื้อ ระดับน้ําตาลในเลือดจะ
สูงมาก และนานกวารางกายจะสามารถขับน้ําตาลสวนเกินออก
ทางปสสาวะได
 เมื่อรางกายนําคาบอไฮเดรสไปผลิตพลังงานไมเพียงพอทําให
รางกายตองใชโปรตีนและไขมันแทน แตการสลายโมเลกุลของ
โปรตีนและไขมันจะทําใหเกิด “กรดของเลือด” กลไกการหายใจจึง
ผิดปกติและมักสงผลใหผูปวยเกิดความผิดปกติเสียชีวิตได
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลิน
ได้ การรักษา
ฉีดอินซูลิน ทุกวัน
ร้อยละ 90 มีสาเหตุมาจากตัวรับ
อินซูลินทํางานผิดปกติ
ทําให้นํ้าตาลออกมาในเลือด
ผิดปกติ
ตอมหมวกไต (adrenal gland)
• ตอมนี้ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 2 สวนคือ
ตอมหมวกไตสวนนอก (adrenal cortex)
ตอมหมวกไตสวนใน (adrenal medulla)
หากมีฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์มากเกินไป ทําให้เกิด
โรคคูชชิง (Cushing’s syndrome)
-มีความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม ของคาบอไฮเดรต ไขมันและ
โปรตีน
-ระดับน้ําตาลในเลือดสูงขึ้น
-กลามเนื้อออนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมัน บริเวณแขน
ขา แตมีการสะสมไขมันบริเวณแกนกลางของลําตัว เชน ใบหนา ตน
คอ เปนตน
ฮอรโมนมิเนราโลคอรดิคอยด (Mineralocorticoids)
 มีหนาที่หลักในการควบคุมสมดุลของน้ําและแรธาตุในรางกาย ฮอรโมนกลุมนี้คือ
แอลโดสเตอโรน (aldosterone) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของไตในการดูดน้ําและ
แคลเซียมกลับสูหลอดเลือด และขับโพแทสเซียมออกจากทอหนวยไตใหสมดุลกับความ
ตองการของรางกาย
ฮอรโมนเพศ (sex hormone)
 ในภาวะปกติฮอรโมนเพศสรางจากตอมหมวกไตสวนนอกมีเพียงเล็กนอยเทานั้น
เมื่อเทียบกับฮอรโมนที่สรางจากอวัยวะเพศ ถาตอมนี้สรางฮอโมนเพศมากเกินไปจะ
ทําใหมีความผิดปกติทางเพศได
โรคแอดดิสัน
- เกิดจากตอมหมวกไตถูกทําลาย จนไมสามารถสรางฮอรโมนได
- อาการ ซูบผอม ผิวหนังตกกระ รางกายไมสามารถรักษาสมดุลของแรธาตุ
ได อาจจะทําใหถึงแกความตายได
อดรีนาลีน
 มีผลทําใหน้ําตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น
 กระตุนใหหัวใจเตนเร็วขึ้น
 ทําใหหลอดเลือดขนาดเล็กที่อวัยวะตาง ๆ ขยายตัว
 หลอดเลือดขนาดเล็กที่ผิวหนังและชองทองหดตัว
นออดรีนาลีน
 คลายกับอดรีนาลีน คือ ทําใหความดันหลอดเลือดสูงขึ้น แตตางกันตรงที่
นออดรีนาลีนสงผลทําใหหลอดเลือดขนาดเล็กที่ไปเลี้ยงอวัยวะตาง ๆ บีบตัว
อวัยวะเพศ
 อวัยวะเพศ ไดแก อัณฑะ (testis) และรังไข (ovary)
 เมื่อยางเขาสูวัยรุนตอมใตสมองจะหลั่ง FSH และ LH เพิ่มขึ่น เพื่อ
กระตุนการเจริญเติบโตของอัณฑะและรังไข ทําใหสามารถสรางเซลลสืบ
พันธและฮอรโมนได
เมื่อเขาสูวัยรุน
-เพศชาย เซลลเลยดิกไดรับการกระตุนจากฮอรโมน LH จากตอมใตสมอง
สวนหนาใหสรางฮอรโมนเพศชายเรียกวา แอนโดรเจน (Androgens)
- ประกอบดวยฮอรโมนที่สําคัญคือ เทสโทสเทอโรน มีหนาที่สําคัญที่
ทําใหผูชายสามารถสืบพันธได มีลักษณะของการแตกเนื้อหนุม
เพศหญิง
-มีรังไข นอกจากจะมีหนาที่ในการผลิตไขแลวรังไขยังสามารถผลิตฮอรโมนเพศ
ได
-รังไขมีแหลงในการผลิตฮอรโมน 2 แหลงคือ ฟอลฮิเคิลและคอรปสลูเทียม
 เมื่อรังไขไดรับ FSH จากตอมใตสมองสวนหนาจะมีการสราง ฟอลฮิเคิล
รอมรอบโอโอไซตหลายชั้น ในระยะไขสุกกอนที่จะหลุดออกจากรังไขจะมี
ชองกลวงตรงกลาง
ในระยะตกไขฟอลฮิเคิ้ลจะสรางฮอรโมน อีสโทรเจน ซึ่งฮอรโมนนี้จะทํา
ใหมีลักษณธของเพศหญิง
 คอปสลูเทียมจะสราง ฮอรโมน โพรเจสเทอโรน ซึ่งจะทําหนาที่รวมกับ
อีสโทรเจน เพื่อชวยกระตุนการเจริญเยื่อบุผนังมดลูกใหหนาขึ้น เพื่อรับไข
ที่ถูกผสม
รก
หลังจากเอ็มบริโอฝงที่ผนังมดลูกแลว เซลลของรก จะเริ่มหลั่ง
ฮอรโมน ฮิวแมน คอริโอนิก โกนาโดโทรฟน เพื่อกระตุนคอรปสลูเทียในรังไข
ใหเจริญตอไปและสรางฮอรโมนโปรเจสเทอโรนมากขึ้น
ตอมไทมีส (Thymus gland)
 มีลักษณะเป็นพู
 มีตําแหน่งตรงกลางกระดูกอกกับหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ
 มีหน้าที่สร้าง ชนิต ที หรือ เซลล์ที
 การเจริญของเซลล์ที อาศัย (thymosin) ซึ่ง
สร้างจากต่อมไทมัส
 ดังนั้นต่อมไทมัสจึงเกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย
กระเพาะอาหารและลําไสเล็ก
 กระเพาะอาหารสร้างฮอร์โมน (gastrin) มีหน้าที่กระตุ้นการ
หลั่งเอ็นไซน์และกรดไฮโดรคลอริก
 ส่วนลําไส้เล็กบริเวณดูโอดีนัมสร้าง (secretin) ทําหน้าที่
กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์ และโซเดียมไฮโดรเจนคาบอเนต ตลอดจน
กระตุ้นดารบีบตัวของท่อนํ้าดี
ปจจัยที่มีผลตอการหลั่งฮอรโมน
ไดแก สิ่งแวดลอม แสงสวาง อุณหภูมิ ฮอรโมนอื่น ๆ เปนตน
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
พันธุกรรมสิ่งแวดลอม
พันธุกรรม(Heredity) เปนการถายทอดคุณลักษณะทางดานชีวภาพ
ที่มีอยูในยีน (Genes) และจะถายทอดผานโครโมโซม( Chromosome) โดย
ลักษณะที่ปรากฏออกมาใหเห็นภายนอกไดเรียกวา Phenotype ซึ่งถือเปน
ลักษณะเดน (Dominant) เชน รูปราง หนาตา สีผม สีผิว สีตา ฯลฯ สวน
ลักษณะที่แฝงไวโดย ไมไดปรากฏออกมาใหเห็นในรุนลูก (แตอาจปรากฏใน
รุน หลาน หรือรุนเหลน) เรียกวา Genotype ซึ่งเปนลักษณะ ดอย
(Recessive) เชน กลุมเลือด ตาบอดสี โรคลมบาหมู โรคเบาหวาน โรค
ปญญาออน โรคภูมิแพ และโรคบางชนิดที่ถายทอดกันไดทางสายเลือด
อิทธิพลของสิ่งแวดลอมที่มีตอบุคคล
สิ่งแวดลอม มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคล
ในดานตางๆมากมาย ซึ่งคนเราจะไดรับอิทธิพลของสิ่งแวดลอมจากการเรียนรู
ทางสังคม ( Socialization) อันเปนกระบวนการทางสังคมที่จะหลอหลอม
และถายทอดคุณลักษณะที่สังคมตองการใหเกิดแกบุคคล
สิ่งแวดลอมจะมีอิทธิพลตอบุคคลตั้งแตเริ่มปฏิสนธิในครรภมารดาไป
จนกระทั่งคลอด ออกมาเปนสมาชิกของสังคม โดยสิ่งแวดลอมจะสงผลตอ
พัฒนาการของบุคคลได 3 ชวง คือ สภาพแวดลอมกอนเกิด สภาพแวดลอม
ขณะเกิด และสภาพแวดลอมหลังเกิด
สภาพแวดลอมกอนเกิด
สภาพแวดลอมกอนเกิด สิ่งแวดลอม
ภายในครรภและการปฏิบัติตัวของแมมีผลตอ
ตัวออนในครรภมารดา เปนอยางมาก
โดยเฉพาะในดานของพัฒนาการทางสมอง
ของบุคคล ซึ่งสภาพแวดลอมกอนเกิด มีดังนี้
1) สุขภาพของแม มีผลมากที่สุดตอ
ทารกในครรภ โดยเฉพาะชวง 3 เดือนแรก
ของการตั้งครรภ เปนระยะที่ตัวออนมี
ความรูสึกไวมากตอการขาดออกซิเจน และ
การติดเชื้อตางๆ
สภาพแวดลอมกอนเกิด (ตอ)
2) สุขภาพจิตของแม อารมณของแม
จะมีผลตอลูกในครรภเปนอยางมาก หากแม
มีอารมณ หวาดกลัว วิตกกังวล โกรธและ
เครียดมากๆ หรือเครียดนานๆ จะทําให
ฮอรโมนในเลือดของแมไมสมดุล เปนสาเหตุ
ใหเด็กเปนปญญาออนได
สภาพแวดลอมกอนเกิด
3) การบริโภคของแม สิ่งที่แมบริโภคเขา
ไปในรางกายทุกชนิดจะถูกสงไปยังทารกใน
ครรภทางกระแสโลหิต ดังนั้นหากแมบริโภคสิ่ง
ที่มีประโยชนมีคุณคาก็จะทําใหทารกมี สุขภาพ
ดี มีสติปญญาดี แตหากแมเปนโรคขาดอาหาร
บริโภคสิ่งที่ไมมีคุณคา จะทําใหเด็กมี ความ
บกพรองทางสมองและรางกายผิดปกติ
สภาพแวดลอมกอนเกิด
4) การไดรับรังสี การที่แม
ไดรับรังสีเอ็กซหรือเรเดียม จะมีผล
ทําลายทารกใน ครรภไดและรังสี
บางอยางอาจทําใหยีนเกิดการ
เปลี่ยนแปลง ซึ่งมีผลตอพันธุกรรม
ในรุนตอๆไป
สภาพแวดลอมกอนเกิด
5) การไดรับเชื้อ HIV การที่แมไดรับ เชื้อHIV (โรคเอดส) เชื้อจะถูก
สงผานจากแมสูทารกในครรภ ทําใหทารกมีอาการภูมิคุมกันบกพรองหรือ
อาจเสียชีวิตได
6) สภาวะของ Rh Factor หมายถึง การที่ระบบเลือดของแมมีสาร
บางอยางเขาไปกอปฏิกิริยาทําลายเม็ดเลือดแดง ของตัวออนในครรภ ทํา
ใหเกิดการแทงหรือทารกตายหลังคลอดได
สภาพแวดลอมกอนเกิด
7) อายุของมารดา โดยวัยเจริญพันธุของสตรีที่เหมาะสมในการ
ตั้งครรภ คือ 18-30 ป แตหากไมอยูในชวงวัยนี้อาจสงผลตอการพัฒนา
และทําใหคลอดยาก
สภาพแวดลอมกอนเกิด
8) จํานวนทารกภายในครรภ หากมีจํานวนทารกภายในครรภมากก็
ยอมจะ เกิดการแยงอาหารกันเอง และอาจจะคลอดกอนกําหนดได
2. สภาพแวดลอมขณะเกิด
ทารกจะไดรับการกระทบกระเทือนในขณะที่ทําคลอดได เชน
1) สภาวะการขาดออกซิเจน เปนเวลานานประมาณ 18 วินาที จะมี
ผลทําให เซลลสมองของทารกแรกคลอดถูกทําลายได และถาขาดอากาศ
นานๆก็อาจถึงตายได
2) เกิดการบาดเจ็บทางระบบประสาทในกรณีที่ทารก คลอดผานทาง
ชองคลอด อาจมีการบีบตัวของชองคลอด และถาแรงบีบมีมากขึ้นอาจจะ
ทําใหสมองและระบบประสาทถูกทําลายได
สภาพแวดลอมหลังเกิด
เมื่อทารกเกิดแลวจะเขาสูกระบวนการ เรียนรูทางสังคม โดย
สิ่งแวดลอมหลังเกิดที่มีอิทธิพลตอบุคคลมากที่สุดเปนอันดับแรก คือ เจต
คติของพอแมที่มีตอลูก และสิ่งแวดลอมภายในครอบครัวจะมีผลตอบุคคล
เปนอยางมาก โดยเฉพาะชวงอายุแรกเกิดถึง 2 ป เปนชวงสําคัญที่สุดของ
มนุษย เพราะเปนระยะที่คนเรา เจริญเติบโตอยูภายในครอบครัว
สภาพแวดลอมหลังเกิด
1) สิ่งแวดลอมภายในครอบครัว เปน
สังคมกลุมแรกที่ มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ
อารมณ ความเชื่อ คานิยม และทัศนคติ
ของบุคคลเปนอยางมาก ไดแก ทัศนคติ
ของพอแมที่มีตอลูก การอบรม เลี้ยงดู
และบรรยากาศในครอบครัว การเปน
แบบอยางที่ดีแกลูก จํานวนพี่นองและ
ลําดับการเกิด การใหโภชนาการใน
ครอบครัว ระดับ การศึกษาของพอแม
และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
สภาพแวดลอมหลังเกิด(ตอ)
2) สิ่งแวดลอมภายในสถานศึกษา เปนกลุมสังคมที่อบรมสั่งสอน
บุคคลโดยการใหการเรียนรูและอบรมบุคคลโดยตรง ซึ่งไดแก กฎระเบียบ
การปกครอง ทัศนคติและบุคลิกภาพ ของครู และกลุมเพื่อนโรงเรียนหรือ
สถาบันการศึกษา
สภาพแวดลอมหลังเกิด(ตอ)
3) สิ่งแวดลอมในสังคม เปนกลุมสังคมที่มีอิทธิพลหลอหลอมบุคคล
ในทางออม ใหบุคคลเกิดการเลียนแบบสังคม โดยกลุมสังคมที่มีอิทธิพลตอ
บุคคลในสังคมมากที่สุด คือ สื่อมวลชนทุกประเภท
ความเกี่ยวของระหวางพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอมรวมมีบทบาทในพัฒนาการดานตางๆ ของ
บุคคล ไม อาจจะบอกไดวา ระหวางพันธุกรรมและสิ่งแวดลอมสิ่งใดจะมี
ความสําคัญมากกวากัน เพราะ ทั้งสองสิ่งลวนแตสงเสริมซึ่งกันและกัน
โดยพัฒนาการดานหนึ่งพันธุกรรมอาจมีผลมากกวาและ ไดรับการสงเสริม
ตอจากอิทธิพลของสิ่งแวดลอม แตพัฒนาการอีกดานหนึ่งอาจมีอิทธิพล
มากกวาก็ได
ความเกี่ยวของระหวางพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
1) พัฒนาการดานสติปญญา พบวา พันธุกรรมจะมีอิทธิพลตอระดับ
สติปญญา ของบุคคลมากกวาสิ่งแวดลอม ซึ่งจาก การศึกษาของ โลวิงเจอร
พบวา พันธุกรรมมีอิทธิพลตอพัฒนาการทาง สติปญญา 75% และ
สิ่งแวดลอมมีอิทธิพล 25% นอกจากนี้ พัฒนาการทางดานรางกายก็มีผลมา
จากพันธุกรรมมากกวาสิ่งแวดลอม
ความเกี่ยวของระหวางพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
2) พัฒนาการทางดานสังคม อารมณและจริยธรรม รวมทั้งบุคลิกภาพ
โดยสวนรวม พบวา อิทธิพลของสิ่งแวดลอมมีผลตอพัฒนาการในดานนี้
มากกวาพันธุกรรม โดยเฉพาะสภาพแวดลอมภายในครอบครัวและการ
อบรมเลี้ยงดูของพอแมมีสวนในการพัฒนา บุคคลในดานตางๆมาก

More Related Content

What's hot

การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 

What's hot (17)

การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 

Viewers also liked

ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่Nichakorn Sengsui
 
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยนการออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยนNichakorn Sengsui
 
ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011Natasha Zaverukha
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์Nichakorn Sengsui
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานNichakorn Sengsui
 
หนังสือรุ่น
หนังสือรุ่นหนังสือรุ่น
หนังสือรุ่นNichakorn Sengsui
 
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุLayers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุNichakorn Sengsui
 
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...Natasha Zaverukha
 
Шерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в УкраїніШерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в УкраїніNatasha Zaverukha
 
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасностиМакс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасностиNatasha Zaverukha
 
Система электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота DocsvisionСистема электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота DocsvisionNatasha Zaverukha
 
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиентаБеспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиентаNatasha Zaverukha
 

Viewers also liked (16)

Br directum pd
Br directum pdBr directum pd
Br directum pd
 
U1 1
U1 1U1 1
U1 1
 
U1
U1U1
U1
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยนการออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
 
ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011
 
CSS
CSSCSS
CSS
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
 
หนังสือรุ่น
หนังสือรุ่นหนังสือรุ่น
หนังสือรุ่น
 
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุLayers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
 
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
 
Шерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в УкраїніШерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в Україні
 
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасностиМакс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
 
Система электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота DocsvisionСистема электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота Docsvision
 
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиентаБеспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
 

Similar to พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ

ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxnatagarns
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptx
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 

พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ