SlideShare a Scribd company logo
MISSION
1. อธิบายหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
พุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behavioral Theories)
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสาคัญ
กับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตเห็นได้ สามารถวัดและทดสอบได้
นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษย์ใน
ลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่ดี ไม่เลว (neutral-passive)
การกระทาต่าง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรม
ของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-response)
นักจิตวิทยาได้แบ่งพฤติกรรมของมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภท
1.พฤติกรรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior)
2. พฤติกรรมโอเปอแรนต์(Operant Behavior)
พฤติกรรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้น
โดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถจะสังเกตได้
ทฤษฎีที่อธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ คือ
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory)
ส่วนทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย Operant Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทา
(Operant Conditioning Theory) ซึ่งทฤษฎีนี้เน้นว่าต้องการให้ Operant behavior คงอยู่ตลอดไป
พฤติกรรมโอเปอแรนต์ (Operant Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรม
ตอบสนองออกมา โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหาต่างๆ
ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด
ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง
ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี 5 ทฤษฏี
ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory)
ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory)
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning)
แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิด
ซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่า
ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory)
ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เกิดขึ้น
เมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่จุดหมายปลายทาง
ที่ตนสนใจ
การดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็น
ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายใดๆ โดย
ใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็นเครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย
ทอลแมน ( Tolman) มีแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้
คือ การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดง
พฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่องพัฒนาการทาง
สติปัญญญาของ บุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่
ตนเองสนใจและ การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
(Intellectual Development Theory)
นักคิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ 2 ท่าน ได้แก่
เพียเจต์(Piaget) และบรุนเนอร์(Bruner)
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ คานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญา
ของผู้เรียนและจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
(A Theory of Meaningful Verbal Learning)
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโน
ทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ
ออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่าการเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน
หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism)
โดยไม่ได้มุ่งเน้นการค้นหาความตรงระหว่างความจริง (truth)
กับ ความเป็นจริง (Reality)
ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
ปรัชญาของความรู้ (Epistemology) หรือ การกาเนิดความรู้ที่เป็นทางเลือก
ให้แก่กลุ่มแนวคิดพฤติกรรมนิยม (Objectivism)
โดยมีความเชื่อว่า การกาหนดความรู้และความจริงในโลก จะเกิดขึ้นโดย
ตัวบุคคล ซึ่งบุคคลจะตีความและสร้างความหมายหรือความจริงจาก
ประสบการณ์และการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
มุ่งเน้นการสร้างความหมายของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับโลกที่แท้จริงจากประสบการณ์
มากกว่าการรับรู้โครงสร้างของโลกที่ถูกสร้างขึ้น ที่เปรียบเสมือนเป็นแบบจาลอง
ให้กับผู้เรียน หรือ สิ่งที่สะท้อนความจริงแท้และโครงสร้างของความจริงแท้
แนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ดังนั้นทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ จึงเน้น “Situating” cognitive experiences ที่เรียกว่าความ
เหมาะสมกับประสบการณ์เชิงพุทธิปัญญาในสภาพบริบทจริง
เช่น การฝึกงานทางปัญญา (Cognitive apprenticeship) ซึ่งเป็นกลยุทธ์การเรียน
การสอนที่ให้ความสาคัญกับประสบการณ์ตามสภาพจริง (Authentic experience) ที่
ช่วยสร้างการเรียนรู้ที่มีความหมายให้แต่ละบุคคลด้วยประสบการณ์ของตนเอง
2. วิเคราะห์ความแตกต่างในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้
ที่อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้
การออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้โดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behavioral Theories)
หลักการของทฤษฎีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือเหตุการณ์ที่ผู้สอนสร้างขึ้น
ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
หลักการที่สาคัญ
การเรียนรู้ เป็น การอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
ต่างๆของผู้เรียนกระทาในการตอบสนองเหตุการณ์ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
การออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้โดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม(Cognitivism)
หลักการของทฤษฎีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร
หลักการดังกล่าวส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองทาให้ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สร้างการเรียนรู้ที่มีความหมายในแบบของตนเอง
หลักการที่สาคัญ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้าง
ความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและ
การแก้ปัญหาต่างๆ
ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
การออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้โดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)
หลักการของทฤษฎีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไร
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองและสร้างความรู้จากการ
ร่วมมือกันแก้ปัญหา
หลักการที่สาคัญ
การกาหนดความรู้และความจริงในโลก จะเกิดขึ้นโดยตัวบุคคล ซึ่งบุคคลจะตีความและสร้าง
ความหมายหรือความจริงจากประสบการณ์และการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
โดยไม่ได้มุ่งเน้นการค้นหาความตรงระหว่างความจริง (truth) กับ ความเป็นจริง (Reality)
เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้จากการร่วมมือกันแก้ปัญหา(Collaborative Ploblem Solving)
3. อธิบายและยกตัวอย่างการนาแนวคิดของแต่ละทฤษฎี
ไปใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
การนาทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
4.การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น การอ่านและการสะกดคา ผู้เรียนที่สามารถสะกดคาว่า
"round" เขาก็ควรจะเรียนคาทุกคาที่ออกเสียง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได้ เช่นคาว่า found, bound, sound,
ground, แต่คาว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเข้ามารวมกับคาที่ออกเสียง o - u - n - d และควรฝึกให้รู้จัก
แยกคานี้ออกจากกลุ่ม
1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผน การตอบสนอง
ได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้องคานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร
2.การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกติผู้สอน
สามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้
กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา
4. หากต้องการเปลี่ยนพฤติกรรม หรือปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียน ควรแยกแยะขั้นตอนของปฏิกิริยา
ตอบสนองออกเป็นลาดับขั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน และจึงพิจารณาแรง
เสริมที่จะให้แก่ผู้เรียน
การนาทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. ในการสอน การให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสม
ของเด็กจะช่วยเพิ่มอัตรากาตอบสนองที่เหมาะสมนั้น
2. การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปลี่ยนรูปแบบ
การเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
3. การลงโทษที่รุนแรงเกินไป มีผลเสียมาก ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้หรือจาสิ่งที่
เรียนรู้ไม่ได้ควรใช้วิธีการงดการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
การนาทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยมไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
1. กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน
2. การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องทาก่อนการสอน
3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบยอด
เดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ
ของผู้เรียน
4. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ของผู้เรียน
5. การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียน
6. การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ได้ดี
7. การสอนความคิดรวบยอดให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็น
8. การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
เงื่อนไขการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของตามกลุ่มแนวคิด
คอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) อาจเกิดขึ้นได้ดังต่อไปนี้
1. การสร้างการเรียนรู้ (Learning constructed) ความรู้ต่างๆ จะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง จาก
ประสบการณ์ โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับข้อมูลหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว รวมทั้งประสบการณ์เดิม มา
สร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง
2. การเรียนรู้เป็นผลที่เกิดจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน
3. การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา (Active learning) การที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาจะช่วยให้ผู้เรียนได้สร้าง
ความหมายในสิ่งที่ตนเรียนรู้ ที่พัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานจากประสบการณ์ตนเอง
4. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Collaborative learning) ความหมายในการเรียนรู้ เป็นการต่อรองจากแนวคิด
ที่หลากหลาย การพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเองได้มาจากการร่วมแบ่งปันแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่มและใน
ขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่งที่แทนความรู้ในสมอง (Knowledge representation) ที่สนองตอบต่อแนวคิด
ที่หลากหลายนั้น หรืออาจกล่าวได้ว่าในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการอภิปราย เสนอความคิดเห็นที่
หลากหลายของแต่ละคน ผู้เรียนจะมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้ของตนด้วย และสร้างความหมายของ
ตนเองขึ้นมาใหม่
5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated learning) การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นในสภาพจริง หรือต้องเหมาะสมหรือสะท้อน
บริบทของสภาพจริง จะนาไปสู่การเชื่อมโยงความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
วิเคราะห์การสอน
วิดีโอ : https://youtu.be/_5w9XTSdqFk
1.วันที่สังเกตการสอน
วันอังคารที่ 16กุมภาพันธ์ 2559
2.อาจารย์ผู้สอน
อ.ดร.ชาลิสา โพธิ์นิ่มแดง
3.ผู้เรียน
นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4.สถานที่สอน
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5.เนื้อหาที่สอน
- การนาทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- ศึกษา อภิปราย การศึกษาของประเทศเกาหลีใต้
6.สื่อการเรียนการสอน
1) เอกสารประกอบการสอน
2) VDO
3) Power Point
4)ใบงาน
7.วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนโดย
1) การบรรยาย
- อาจารย์บรรยายเรื่องวิธีการสอนแบบใช้ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence)
2) การใช้วีดีโอ
- อาจารย์เปิดวีดีโอตัวอย่างวิธีการสอนแบบพหุปัญญา (Multiple Intelligence)ให้ดูควบคู่ไปกับการบรรยาย
- นักศึกษาที่ไปหาข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้เปิดวิดีโอและPowerPoint เกี่ยวกับการศึกษา
ของประเทศเกาหลีใต้ให้ดูพร้อมกับบรรยายและอธิบาย
3)การศึกษากรณีศึกษาตัวอย่าง
- ศึกษาการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้
4) การอภิปรายกลุ่มย่อย
- อาจารย์ให้จับกลุ่มสามคนแล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับว่าเราสามารถนาแนวทางการศึกษาของประ
ทศฟินแลนด์(ที่เรียนเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า)กับการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้มาปรับใช้ในประเทศไทยได้
อย่างไรบ้าง
5) การใช้ใบงาน
- ท้ายคาบอาจารย์สั่งให้ทาใบงานเป็นการบ้านมาส่งคาบหน้า
8.วิเคราะห์ว่าใช้ทฤษฎีการศึกษาใดในการจัดการเรียนการสอน
วิเคราะห์ได้ว่าอาจารย์ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ดังเหตุผลต่อไปนี้
1) การสร้างการเรียนรู้ (Learning constructed)
ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเองจะเห็นได้จากอาจารย์ให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วย
ตนเองโดยการให้ตัวแทนผู้เรียนสืบค้นการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้แล้วมานาเสนอเพื่อนในห้อง เพื่อนก็
รับฟังข้อมูลแล้วก็สร้างความหมายความเข้าใจจากที่เพื่อนนาเสนอด้วยตนเองโดยอาศัยประสบการณ์พื้นฐาน
ที่รู้จักประเทศเกาหลีใต้มาส่วนหนึ่งเป็นตัวช่วยประกอบการเรียนรู้
2) การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทา (Active learning)
อาจารย์ให้ผู้เรียนไปสืบค้นข้อมูลการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้และลงมือร่วมกันอภิปรายให้คิดวิเคราะห์
ด้วยตนเองทาให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทาจะช่วยให้ผู้เรียนได้สร้างความหมายในสิ่งที่ตนเรียนรู้ที่พัฒนาโดยอาศัย
พื้นฐานจากประสบการณ์ตนเอง
3) การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Collaborativelearning)
ผู้เรียนได้จับกลุ่มย่อยสามคนร่วมกันอภิปรายในหัวข้อ “เราสามารถนาแนวทางการศึกษาของประเทศ
ฟินแลนด์กับการศึกษาของประเทศเกาหลีใต้มาปรับใช้ในประเทศไทยได้อย่างไรบ้าง”เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการ
ต่อรองจากแนวคิดที่หลากหลายการพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเองได้มาจากการร่วมแบ่งปันแนวคิดที่
หลากหลายในกลุ่มและในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่งที่แทนความรู้ในสมอง (Knowledge representation)
ที่สนองตอบต่อแนวคิดที่หลากหลายนั้นหรืออาจกล่าวได้ว่าในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการอภิปรายเสนอ
ความคิดเห็นที่หลากหลายของแต่ละคนผู้เรียนจะมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้ของตนด้วยและสร้างความหมาย
ของตนเองขึ้นมาใหม่
4) การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated learning)
การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นในสภาพจริงหรือต้องเหมาะสมหรือสะท้อนบริบทของสภาพจริงอาจารย์จะสะท้อน
เกี่ยวกับการศึกษาของไทยในปัจจุบันและก็นาเอาตัวอย่างของการศึกษาประเทศอื่นมาเปรียบเทียบให้เราวิเคราะห์
สถานการศึกษาของประเทศไทยว่ามีปัญหาควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ทาให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน เป็นการเรียนรู้ที่สะท้อนบริบทของสภาพจริง
ขั้นตอนกระบวนการทางาน
1.ขั้นวางแผน
- แบ่งข้อภารกิจกับสมาชิกเพื่อหาคาตอบ
- มอบหมายให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งทาสื่อนาเสนอ
- มอบหมายให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งทาข้อเขียนเชิงวิชาการ
- ปรึกษาหารือเรื่องรายวิชาที่จะทาการสังเกตการสอน
2.ขั้นรวบรวมข้อมูลทาสื่อนาเสนอและข้อเขียนเชิงวิชาการ
-วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ทาการสังเกตการสอน
- วิเคราะห์การสอน
- หาข้อมูลตอบภารกิจ
- ทาสื่อนาเสนอและข้อเขียนเชิงวิชาการ
3.ขั้นตรวจสอบความถูกต้อง
- ให้สมาชิกตรวจสอบพิสูจน์อักษรในสื่อนาเสนอและข้อเขียนเชิงวิชาการก่อนส่งงาน
อ้างอิง
สุรางค์ โคว้ตระกูล. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ.กรุงเทพฯ
ณัชชากัญญ์วิรัตนชัยวรรณ. [ ออนไลน์ ] :http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486
(เข้าถึงเมื่อ 16/02/2559)
แม่นา . [ ออนไลน์ ] : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321
(เข้าถึงเมื่อ 16/02/2559)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism).[ ออนไลน์ ] :
http://1tissana029.blogspot.com/2011/06/behaviorism.html (เข้าถึงเมื่อ 16/02/2559)
ทฤษฎีการเรียนรู้. [ ออนไลน์ ] : http://www.kroobannok.com/article-3...B9%E0%B9%89.html
(เข้าถึงเมื่อ 16/02/2559)
สมาชิก
นางสาวกานต์ชนา ช่างก่อ 573050377-6
นางสาวปาณิศา เทพธวัช 573050378-4
นางสาวธัญวรรณ เหมาะเป็นดี 573050678-2
สาขาการสอนภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Ratchada Rattanapitak
 
ทฤษฎี
ทฤษฎีทฤษฎี
ทฤษฎี
aunaunausara
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Natida Boonyadetwong
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Pop Punkum
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
name_bwn
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
Khorkhuad Jakkritch
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Kanny Redcolor
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
juthamat fuangfoo
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎี
ทฤษฎีทฤษฎี
ทฤษฎี
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
eubeve
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
Jan Sirinoot
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนางานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
JaengJy Doublej
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
CUPress
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1csmithikrai
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem basenilobon66
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วรางคณา เครือพิลา
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning) (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนางานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
งานนำเสนอ จิตวิทยาในพระไตรปิฏกในพระพุทธศาสนา
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem base
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)