SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของ
สุนทรียภาพ
สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์
ศิลปวิจารณ์ (2555, หน้า 27-28) ได้ให้ความหมายของคาว่า
สุนทรียศาสตร์ดังนี้
สุนทรียศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความ
งาม หรือ สุนทรียภาพ เป็นสาขาหนึ่งในวิชาปรัชญาคุณค่า
หรือ อรรฆวิทยา มีวิธีวิทยาด้วยทฤษฎีแห่งความรู้หรือ
ญาณวิทยาซึ่งเป็นปรัชญาที่ว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะหน้าที่
ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้
สุนทรียศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ประเภทปรัชญาประยุกต์
มีการนาปรัชญาบริสุทธิ์มาใช้บ้างในการสอบสวน วิเคราะห์
และวิจัยเกี่ยวกับปัญหาสุนทรียภาพทุกแง่ทุกมุมที่มาจากผล
ของแหล่งกาเนิด 2 แหล่งด้วยกันคือ
ก. สุนทรียภาพจากธรรมชาติ
ข. สุนทรียภาพจากผลงานศิลปะทุกสาขา
การนาความรู้สึกที่เกิดจากสุนทรียภาพจากแหล่งทั้ง
สอง สุนทรียศาสตร์จึงเป็ นศาสตร์ที่ว่าด้วยความรู้สึกเชิง
นามธรรมที่มีต่อธรรมชาติกับผลงานศิลปะโดยเฉพาะ
สุนทรียศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับคาว่าความ
งาม นอกจากเป็นคุณศัพท์และกริยาวิเศษณ์แล้วความงาม
ยังมีความหมายอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากความหมายที่
แท้จริงและยังไม่ลึกซึ้งเพียงพอต่อสุนทรียศาสตร์ ดังนั้น
จึงจาเป็ นต้องหาคาที่เหมาะสมมาใช้แทนที่คือ สุนทรีย์
หรือ สุนทรียะ
สุนทรียภาพ เป็ นเรื่องของความงาม ความหมาย
ของ สุนทรียภาพ Aesthetic หมายถึง ความซาบซึ้ง
ในคุณค่าของสิ่งที่งาม ไพเราะหรือรื่นรมย์ ไม่ว่าจะเป็น
ของธรรมชาติ หรืองานศิลปะ (พจนานุกรมศัพท์
ศิลปะ.2530:6) ซึ่งความรู้สึกซาบซึ้งในคุณค่าดังกล่าวนี้
ย่อมเจริญเติบโตขึ้นได้ด้วยประสบการณ์ หรือการศึกษา
อบรม ฝึ กฝน จนเป็ นอุปนิสัย เกิดเป็ นรสนิยมขึ้นในตัว
บุคคล
สุนทรียภาพ เป็น ความรู้สึกที่บริสุทธิ์ ที่เกิดขึ้นใน
ห้วงเวลาหนึ่ง ลักษณะของอารมณ์หรือความรู้สึกนั้น โดย
จะยกตัวอย่างผู้ที่ให้คานิยามของสุนทรียภาพดังนี้
1.เวบสเตอร์ (Webster) บอกว่า สุนทรียภาพ คือ
การศึกษาหรือปรัชญาแห่งความงาม ทฤษฎีว่าด้วยวิจิตร
ศิลป์ และความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อวิจิตรศิลป์
2.รูเนส (Runes) บอกว่า สุนทรียศาสตร์ คือ
ศาสตร์ที่ว่าด้วยความงามหรือสิ่งที่งาม โดยเฉพาะก็คือ
ความงามในศิลปะพร้อมด้วยมาตรการสาหรับทดสอบ
คุณค่าในการพิจารณาตัดสินศิลปะ
Whittick, A. (1974: 11) กล่าวว่า สุนทรียภาพ
(Aesthetics)เป็นคาในภาษากรีก เดิมหมายถึงการรับรู้ทาง
ความรู้สึก (sense perception) จนกระทั่งในศตวรรษที่
18 บวมการเทน (Buamgarten) นักปรัชญาชาวเยอรมัน
ได้ให้ความหมายใหม่โดยหมายถึง การรับรู้และ ชื่นชมความ
งาม เป็ นที่ทราบดีว่าสุนทรียภาพเป็ นเรื่องของอัตวิสัย
(Subjective)ซึ่งแต่ละคนย่อมให้คุณค่าสุนทรียภาพ
แตกต่างกันไป
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525 : 814) ให้
ความหมายของ “สุนทรีย” ว่า สุนทรียะ คือ เรื่องเกี่ยวกับ
ความนิยมความงาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2539: 827) ให้
ความหมาย “สุนทรียภาพ” ไว้ว่า ความเข้าใจและความรู้สึก
ของแต่ละบุคคลที่มีต่อความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ
พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ (2530 : 6) ให้ความหมายของ
สุนทรียภาพว่า “สุนทรีภาพ” (Aisthetic) หมายถึง
ความซาบซึ้งในคุณค่าของสิ่งที่งาม ไพเราะ หรือรื่นรมย์ ไม่ว่า
จะเป็ นธรรมชาติ หรือศิลปะ ซึ่งความรู้สึกซาบซึ้งในคุณค่า
ดังกล่าวนี้ย่อมจะเจริญเติบโตได้โดยประสบการณ์ หรือ
การศึกษา อบรม ฝึ กฝน จนเป็ นอุปนิสัยเกิดขึ้นเป็ นรสนิยม
(Teste) ขึ้นตามตัวบุคคล
ทวีเกียรติ ไชยยงยศ (2538: 3) กล่าวว่า สุนทรียภาพ คือ
ลักษณะของอารมณ์หรือความรู้สึกน่าสนใจ(interested)
ความไม่น่าสนใจ (disinterested) ความเพลิดเพลินใจ
(pleasure) กินใจ(empathy) ลืมตัว(attention
span)
ฐานิศวร์ เจริญพงศ์ (2543: 58) กล่าวว่า ในความหมาย
ทั่วไปคาว่าสุนทรียภาพมักจะใช้ร่วมกับคาว่า ความสวยงาม
(Beauty) แม้ว่าความสวยงามเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ
สุนทรียภาพ แต่ในสาขาวิชานี้ ถือว่าสุนทรียภาพมี
ความหมายกว้างและครอบคลุมมากกว่า กล่าวคือนัก
สุนทรียศึกษามีความเห็นว่าสุนทรียภาพอาจจะไม่ใช้ความ
สวยงามเพียงอย่างเดียว ความเศร้าโศก (Tragic) ความ
น่าเกลียด (Ugly) ความขบขัน(Comic) และความน่า
พิศวง(Sublime) ก็ทาให้เกิดอารมณ์ สุนทรียได้
เช่นเดียวกัน
บุญเยี่ยม แย้มเมือง (หนังสือสุนทรียะทางทัศนศิลป์ . 2537
: 2 ) กล่าวว่า สุนทรียะ คือความงาม ที่มีความเชื่อของนัก
ปรัชญาอยู่ 3 แนวความคิด
1. ความงามขึ้นอยู่กับจิตใจ ธรรมชาติหรือวัตถุใดๆก็ตามที่
มนุษย์สามารถมองเห็นหรือได้ยินเสียงจะมีความงามหรือไม่
งาม จะมีความไพเราะหรือไม่ไพเราะ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ
ของมนุษย์เท่านั้น ความงามในแง่นี้นักปรัชญาเรียกว่า เป็นจิต
วิสัย
2. ความงามเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ ความงามในแง่นี้
เชื่อกันว่ามีแบบแผนของความงามอยู่ในวัตถุ หรือธรรมชาติ
นั้นๆ คนมีหน้าที่ค้นหาความงามนั้นให้พบ ความงามในแง่นี้
นักปราชญ์เรียกว่า เป็นวัตถุวิสัย
3. ความงามนั้นขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
ธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับอารมณ์ความรู้สึกที่มนุษย์มีอยู่กับ
ธรรมชาติหรือวัตถุนั้นๆ ความงามในแง่นี้นักปราชญา
เรียกว่า เป็นสัมพันธ์วิสัย
ประสบการณ์สุนทรียะ (2533, หน้า 56-60) ได้ให้ความหมาย
ของสุนทรียศาสตร์ว่า วิชาสุนทรียศาสตร์ในสมัยแรกๆนั้น ไม่
ใคร่เป็นที่สนใจมากเท่าใดนัก เนื่องจากมีลักษณะเป็ นอุดมคติ
และเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความคิดเห็น (opinion) และ
ความรู้สึกมากเกินไป ขาดข้อมูลที่เป็นจริงที่มีเหตุมีผลส่งเสริม
ให้นักศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง ประกอบกับลักษณะวิชา
เป็ นนามธรรมมากเกินไปด้วย ดังนั้น เมื่อนักปรัชญากรีก
โบราณพูดถึงความงามจึงมักจะพาดพิงถึง ความดี รูปแบบ
สมบูรณ์ ทาให้รู้สึกว่าความเข้าใจดังกล่าวนี้เลื่อนลอยอยู่
นอกเหนือความเป็นอยู่ของมนุษย์
นักปรัชญากรีกและศิลปินจะเสนอแนวความเห็นเพิ่มเติมว่า
ความงามมีองค์ประกอบสาคัญสองประการ คือ ความบริสุทธิ์
และความชัดแจ้งแต่พื้นฐานขององค์ประกอบทั้งสองนี้ ส่วน
ใหญ่ได้มาจากรูปแบบศิลปกรรมที่มุ่งหมายถ่ายทอดเทพเจ้าที่
ชนกรีกนับถือให้เป็นเรือนร่างของมนุษย์และถือว่าศิลปะเป็น
การถ่ายทอดรูปแบบคนที่มีร่างกายสมบูรณ์ ใครมีความเชื่อ
เกี่ยวกับเทพเจ้านั้นยอมรับว่า การถ่ายทอดรูปแบบคนนั้นเป็น
ความงาม โดยปราศจากความกังวลสงสัยแต่สาหรับผู้ที่ไม่
เชื่อถือและไม่เห็นด้วยจะถือว่าเขามีบุญไม่ถึงที่จะชื่นชมความ
งามของเทพเจ้าเหล่านั้นหรือไม่
ด้วยพื้นฐานความงามตามทรรศนะปรัชญาและศิลปินกรีก
โบราณที่จากัดนี้เองจึงทาให้วิชาสุนทรียศาสตร์ไม่เป็ นที่
น่าสนใจเท่าที่ควร ไม่สนองความต้องการและความใฝ่ รู้ของ
ผู้สนใจจริง วิชาสุนทรียศาสตร์เพิ่งจะได้รับความนิยม
หลังจากที่ได้มีการทบทวนเนื้อหาวิชาและขอบข่ายของ
การศึกษาตามแนวของวิทยาศาสตร์ เมื่อต้นศตวรรษที่ 18 นี้
เอง โดยนักปรัชญาเยอรมันชื่อ อะเล็กซานเดอร์ บวมการ์เตน
ได้เลือกคาในภาษากรีก คือ คาว่า (aisthesis) ซึ่งหมายถึง
การรับรู้ตามความรู้สึก มาใช้เป็นชื่อวิชาที่เกี่ยวกับทฤษฎีแห่ง
ความงามนี้
นอกจากนี้สุนทรียศาสตร์ยังหมายถึง
1. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกของการรับรู้และเกี่ยวข้องกับ
ความหมาย
2. วิชาที่เกี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์และคุณลักษณะของความงาม
คุณค่าของความงามและรสนิยมอย่างมีหลักการ
3. วิชาที่ส่งเสริมให้สอบสวนและแสวงหาหลักเกณฑ์ของความ
งามสากลในลักษณะของรูปธรรมที่เห็นได้ รู้สึกได้ รับรู้ได้ เพื่อ
ชื่นชมได้
5. วิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมตอบสนองของมนุษย์
จากสิ่งเร้าภายนอก ตามเงื่อนไขของสถานการณ์ เรื่องราวความ
เชื่อ และผลงานที่มนุษย์สร้างตามความหมายนี้จะเห็นได้ว่า
ผู้สนใจวิชาสุนทรียศาสตร์จะต้องสนใจวิชาต่างๆ เพิ่มด้วยอีก
หลายแขนงประกอบโดยถือวิชาศิลปะเป็นแกนกลาง
4. วิชาที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตรงของบุคคลสร้าง
พฤติกรรมตามความพอใจ โดยไม่หวังผลตอบแทนในทาง
ปฏิบัติ เป็นความรู้สึกพอใจ ตามที่เลือกด้วยตัวเองและสามารถ
เผื่อแผ่เสนอแนะผู้อื่น ให้มีอารมณ์ร่วมรู้สึกด้วยได้
อย่างไรก็ดี การที่นักปรัชญาเลือกเอาคาว่า (Aestheties)
มาใช้ ซึ่งหมายถึง ศาสตร์ของการรับรู้นั้นก็เพราะมีความเห็น
ว่า การรับร้าประสบการณ์ศิลปะนั้น เป็นสื่อทางความรู้อย่าง
หนึ่งสาหรับผู้แสวงหา ไม่ว่าการรับรู้นั้นจะเกิดจากผลงานที่
มนุษย์สร้างหรือจากธรรมชาติก็นับว่าเป็ นประโยชน์และมี
คุณค่าทั้งสิ้น
ความสาคัญของ
สุนทรียภาพ
บุญเยี่ยม แย้มเมือง (หนังสือสุนทรียะทางทัศนศิลป์ .
2537 : 2 ) กล่าวว่า สุนทรียะมีความสาคัญต่อมนุษย์ จึง
มีความจาที่จะต้องจัดให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ทาง
สุนทรียะตั้งแต่ยังเป็นเด็กเล็กๆ เพื่อจะได้พัฒนาไปตามวัยที่
เจริญเติบโตขึ้น จนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่ที่มีจิตใจสุนทรียะ
ระบบการศึกษาของไทยในปัจจุบัน ควรกาหนดทิศทางของ
การฝึ กประสบการณ์สุนทรี ด้วยการกาหนดไว้เป็ นแกน
หนึ่งในสี่แกนของศิลปะ คือ
1. แกนสุนทรียศาสตร์
2. แกนประวัติศาสตร์ศิลปะ
3. แกนศิลปวิจารณ์
4. แกนศิลปะปฏิบัติ
การสอนเพื่อให้เกิดสุนทรียะย่อมจะมีความแตกต่างกัน
ไปตามระดับของชั้นเรียนจะต้องมีกลวิธีการสอนที่เหมาะสม
กับระดับชั้นและวุฒิภาวะของผู้เรียน
สิ่งที่สาคัญ คือ ครูจะต้องมีวิธีที่จะสร้างประสบการณ์
ทางสุนทรียะให้เกิดขึ้นกับเด็กให้ได้ อาจพาไปศึกษานอก
สถานที่ เขียนรายงานสิ่งที่พบเห็น วิจารณ์สิ่งที่พบเห็นทั้งใน
ด้านดีและด้านที่ไม่ดี ฝึ กการเขียนภาพด้วยวิธีการต่างๆ ฝึ ก
การปั้น การระบายสี ฝึกการแต่งบทประพันธ์ทั้งด้านร้อยแก้ว
และร้อยกรอง เป็นต้น
กำจร สุนพงษ์ศรี. สุนทรียศาสตร์. (สุนทรียศำสตร์). กรุงเทพมหำนคร :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2555.
ทวีเกียรติ ไชยยงยศ. สุนทรียะทางทัศนศิลป์ . (ควำมหมำยของสุนทรียศำสตร์
และควำมหมำยของสุนทรียภำพ). กรุงเทพมหำนคร : ฝ่ำยเอกสำรและตำรำ
สถำบันรำชภัฏสวนดุสิต, 2538.
บรรณานุกรม
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์ . (ควำมหมำยของสุนทรียะ).
กรุงเทพมหำนคร : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้ำส์, 2537.
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์ . (สุนทรียะกับกำรศึกษำ).
กรุงเทพมหำนคร : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้ำส์, 2537.
อำรี สุทธิพันธุ์. ประสบการณ์สุนทรียะ. (ควำมหมำยของสุนทรียศำสตร์).
กรุงเทพมหำนคร : บริษัท ต้นอ้อ จำกัด, 2533.
END
1. นางสาว กัญญาณัฐ โคตรโยธี รหัส 55113200100 ตอนเรียน B1
2. นางสาว ดวงใจ ปั้นคุ้ม รหัส 55113200103 ตอนเรียน B1
3. นางสาว ปานรวี สรวลสายหยุด รหัส 55113200105 ตอนเรียน B1
4. นางสาว วราภรณ์ เนตนี รหัส 55113200106 ตอนเรียน B1
5. นางสาว ณฐวร แสงสว่าง รหัส 55113200119 ตอนเรียน B1
รายชื่อผู้จัดทา
คณะครุศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย ปี2
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

More Related Content

What's hot

หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
TupPee Zhouyongfang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
พัน พัน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
Oyl Wannapa
 

What's hot (20)

หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 

Similar to ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ

9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
CUPress
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
Content01
Content01Content01
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
รมณ รมณ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
Taweesak Poochai
 
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
khuwawa2513
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
Pa'rig Prig
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
Padvee Academy
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
Mum Mumum
 

Similar to ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ (20)

9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ