SlideShare a Scribd company logo
อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
เดิมคือแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดีย เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดมำ
จำกภูเขำหิมำลัยทำงตอนเหนือ ปัจจุบันคือประเทศปำกีสถำน
(แยกจำกประเทศอินเดียปี พ.ศ. 2490) เนื่องจำกควำมขัดแย้ง
ด้ำนศำสนำที่ชำวปำกีสถำนส่วนใหญ่เป็นชำวมุสลิมแต่ชำว
อินเดียเป็นชำวฮินดู
1.ที่ตั้ง
อินเดียมีลักษณะภูมิประเทศที่หลำกหลำย ดินแดนทำง
ตอนเหนือและตอนใต้ถูกแบ่งแยกจำกกันด้วยที่รำบสูงเด
คคำน เป็นผลให้ทั้งสองเขตมีควำมแตกต่ำงกันทั้งด้ำน
ภูมิศำสตร์ ทรัพยำกรธรรมชำติ กำรประกอบอำชีพ และ
กำรหล่อหลอมอำรยธรรม
ควำมเจริญเกิดขึ้นเมื่อ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักรำช
หรือ ประมำณ 4,500 ปี มีเมืองที่เป็นศูนย์กลำงควำมเจริญคือ เมือง
โมเฮนโจ-ดำโร และเมืองฮำรัปปำ ปัจจุบันอยู่ในปำกีสถำน เป็นอำรย
ธรรมที่เกิดจำกกำรหล่อหลอมและผสมผสำนควำมเจริญของชนชำติ
ต่ำง ๆ ที่มำครอบครอง จนกลำยเป็น อำรยธรรมอินเดีย มีชนชำติ
สำคัญที่สร้ำงควำมเจริญคือ ชำวดรำวิเดียน(ทมิฬ) ชำวอำรยัน
2.ความเจริญที่สาคัญ
1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คนรู้จักใช้ทองแดงและสาริด
เมื่อประมาณ2,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช และรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา พบหลักฐาน
เป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุ คือ
(1) เมืองโมเฮนโจ ดาโร ( Mohenjo Daro ) ทางตอนใต้ของประเทศ
ปากีสถาน
(2) เมืองฮารับปา ( Harappa ) ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน
2. สมัยประวัติศาสตร์ อินเดียเข้าสู่ “สมัยประวัติศาสตร์” เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษร
ขึ้นใช้ประมาณ 700ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยชนเผ่าอินโด – อารยัน ( Indo –
Aryan ) ซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณลุ่มแม่น้าคงคา
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่การถือกาเนิดตัวอักษรอินเดียโบราณ ที่
เรียกว่า “บรามิ ลิปิ” ( Brahmi lipi ) เมื่อประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช และ
สิ้นสุดในราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์คุปตะ ( Gupta ) เป็นยุค
สมัยที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพระพุทธศาสนาได้ถือกาเนิดขึ้นแล้ว
อักษร บรามิ ลิปิ
อินเดียสมัยใหม่ภายใต้จักรวรรดิโมกุล (ค.ศ. 1526-1858)
อินเดียสมัยใหม่เริ่มต้นด้วยกำรรุกรำนของพวกผสมมองโกล เติร์ก
ภำยใต้กำรนำของติมูร์ (Timur) ทำให้อำณำจักรของเดลฮีอ่อนแอ พวก
ฮินดูเริ่มมีอำนำจมำกขึ้น ต่อมำประกอบกับภำยในอำณำจักรสุลต่ำนแห่ง
เดลฮีเกิดควำมอ่อนแอ เนื่องจำกกำรแย่งชิงรำชสมบัติ เปิดโอกำสให้บำร์บู
ซึ่งเป็นทำยำทมีเชื้อสำยห่ำงๆ ยกทัพจำกเมืองคำบูลในอัฟกำนิสถำนเข้ำ
รุกรำนเมืองต่ำงๆ ทำงภำคเหนือของอินเดีย ทั้งเมืองพวกฮินดูและมุสลิม
สำมำรถยึดนครเดลฮีได้สำเร็จ สถำปนำจักรวรรดิมีกำรปกครองโดย
รำชวงศ์โมกุลได้สำเร็จประมำณ ค.ศ.1525
สมัยเอกราช
หลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 ขบวนกำรชำตินิยมอินเดียนำโดย มหำตมะ คำนธี
และ เยำวรำลห์ เนห์รู ใช้หลักอหิงสำในกำรเรียกร้องเอกรำชจนประสบ
ควำมสำเร็จ อังกฤษยอมมอบเอกรำชให้ในปี1947 โดยมีนำยกรัฐมนตรีคน
แรก คือ เยำวรำลห์ เนห์รู หลังจำกได้รับเอกรำชอินเดียปกครองด้วยระบอบ
ประชำธิปไตย แต่จำกควำมแตกแยกทำงเชื้อชำติและศำสนำทำให้อินเดีย
ต้องแตกแยกเป็นอีก 2 ประเทศคือ ปำกีสถำน(เดิมคือปำกีสถำนตะวันตก)
และบังคลำเทศ (ปำกีสถำนตะวันออก)
สังคมและวัฒนธรรมอินเดีย
1. ระบบวรรณะ ตั้งขึ้นโดยชาวอารยัน แบ่งออกเป็น 4 วรรณะ
ได้แก่วรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ไวศยะ (แพศย์) ศูทร
2. ลักษณะครอบครัว เป็นครอบครัวรวม ชายที่มีอายุมากที่สุด
เป็นหัวหน้าครอบครัว
3. ปรัชญาและลัทธิศาสนา อินเดียเป็นแหล่งกาเนิดของศาสนา
สาคัญ ได้แก่ พราหมณ์-ฮินดู พุทธ เชน ซิกข์ คาสอนของ
ศาสนาต่างๆ มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของชาวอินเดีย
การเมืองการปกครองของอินเดีย
1. สมัยพระเวท มีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริย์เป็นสมมติเทพ
2. สมัยจักรวรรดิ แบ่งเป็น
1. จักรวรรดิมคธ มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
2. จักรวรรดิราชวงศ์โมริยะ แบ่งการปกครองออกเป็น ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
3. สมัยแบ่งแยก อาณาจักรต่างๆ ตั้งตัวเป็นอิสระเกิดการรุกรานจากภายนอก
คือ กรีก เปอร์เซีย
4. สมัยจักรวรรดิคุปตะ กษัตริย์มีอานาจเต็มในเมืองหลวงและใกล้เคียง
ดินแดน ห่างไกลมีเจ้าครองนครปกครอง
5. หลังสมัยคุปตะ รำชวงศ์ปำละ –เสนะ เป็นรำชวงศ์สุดท้ำยที่ปกครองก่อนที่
มุสลิมจะเข้ำยึดครองอินเดีย
3. สมัยมุสลิม รำชวงศ์โมกุลซึ่งนับถือศำสนำอิสลำมเข้ำมำปกครองก่อนที่อินเดีย
จะตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
4. สมัยอำณำนิคม มีระเบียบบริหำรรำชกำร กฎหมำย และกำรศำลเป็นแบบฉบับ
เดียวกันทั่วประเทศเป็นผลดีแก่อินเดีย
5. สมัยเอกรำช พลังของขบวนกำรชำตินิยม ระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่ 2 ภำยใต้
กำรนำของมหำตมะคำนธี
6. สมัยปัจจุบัน อินเดียมีกำรปกครองแบบประชำธิปไตยแบบรัฐสภำ มี
ประธำนำธิบดีเป็นประมุข มีนำยกบริหำรประเทศ รัฐสภำมี 2 สภำคือ รำชยสภำ
กับโลกสภำ (สภำผู้แทน)
ศิลปกรรมอินเดีย
งำนสร้ำงสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่ำงๆของอำรยธรรมอินเดีย
มีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดกับควำมเชื่อทำงศำสนำ ศิลปกรรมแขนง
ต่ำงๆของอินเดียจึงมักปรำกฏนับเนื่องในศำสนำ ทั้งศำสนำพรำหมณ์-ฮินดู
พระพุทธศำสนำ และศำสนำเชน ศิลปกรรมของอินเดียเริ่มปรำกฏหลักฐำนใน
อำรยธรรมลุ่มน้ำสินธุ รำว 2,500 ปีก่อนคริสต์ ในสมัยต่อมำชำวอำรยันเข้ำ
มำในอินเดีย แต่ไม่ปรำกฏหลักฐำนงำนทำงศิลปะของพวกอำรยันวิวัฒนำกำร
ทำงศิลปะของอินเดียจึงขำดช่วงเป็นเวลำเกือบพันปี จนกระทั่งถึงสมัยพุทธกำล
จึงได้ปรำกฏหลักฐำนทำงศิลปะที่ชัดเจนขึ้นทำงภำคตะวันตกเฉียงเหนือแถบลุ่ม
น้ำสินธุ เป็นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจำกจักรวรรดิเปอร์เซียและศิลปะแบบ
เฮลเลนิสติกของกรีก
อิทธิพลของศิลปะภำยนอกดังกล่ำวได้พัฒนำมำสู่ศิลปกรรมสมัยรำชวงศ์เมำ
รยะ ซึ่งเป็นศิลปะสมัยแรกที่มีหลักฐำนปรำกฏชัดเจน ในช่วงสมัยนี้พระพุทธศำสนำ
เป็นแรงบันดำลใจสำคัญในกำรสร้ำงสรรค์ศิลปกรรม และยังมีควำมสำคัญต่อสกุล
ศิลปะในสมัยต่อมำ
ในสมัยรำชวงศ์คุปตะ ศิลปะแขนงต่ำงๆได้พัฒนำไปมำกจนกระทั่งได้
ก่อกำเนิดยุคทองทำงศิลปะของอินเดีย จนกระทั่งหลังศตวรรษที่ 12-13 แบบอย่ำง
ของศิลปะอิสลำมแพร่ขยำยอย่ำงกว้ำงขวำง ขณะที่ศิลปะในพระพุทธศำสนำสูญสิ้น
ไปและศิลปะในศำสนำพรำหมณ์-ฮินดูเสื่อมโทรมเป็นเวลำนำนหลำยศตวรรษ
กำรขุดพบซำกเมืองฮำรัปปำ
และโมเฮนโจดำโรสมัยอำรยธรรม
ลุ่มน้ำสินธุทำให้เห็นว่ำสถำปัตยกรรม
อินเดียมีมำเกือบ 5,000 ปีแล้ว
สถาปัตยกรรม
มีกำรวำงผังเมืองและกำรก่อสร้ำงซึ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยมำกกว่ำควำม
สวยงำม สถำปัตยกรรมที่เป็นศิลปะอย่ำงชัดเจนปรำกฏขึ้นในสมัยรำชวงศ์
เมำรยะ ซึ่งได้รับอิทธิพลมำจำกจักรวรรดิเปอร์เซีย
ได้แก่ สถูป เสำหิน ตลอดจนฐำนรำกของพระรำชวัง สถำปัตยกรรมดังกล่ำวมัก
เกี่ยวข้องกับพระพุทธศำสนำเพื่อแสดงถึงควำมศักดิ์สิทธิ์ของสถำนที่ หรือ
เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงเหตุกำรณ์สำคัญ เช่น พระสถูปที่สำญจี
พระสถูปที่สำญจี
เสำหินที่เมืองสำรถี และพระรำชวังของพระเข้ำอโศก
มหำรำชที่เมืองปำฏลีบุตร ในสมัยมุสลิม
เสำหินสมัยพระเจ้ำอโศก
สถำปัตยกรรมอินเดียจะผสมระหว่ำงศิลปะฮินดูและเปอร์เซีย เช่น สุสำนตำช
มะฮัล ( Taj Mahal ) ซึ่งเป็นสถำปัตยกรรมหินอ่อนที่มีชื่อเสียงมำก สร้ำงใน
สมัยพระเจ้ำชำห์จะฮำน ( Shah Jahan ค.ศ.1628-1658 )
กษัตริย์รำชวงศ์มุคัล เพื่อเป็นที่ระลึกถึงนำงมุมตำซ มะฮัล (Mumtaz
Mahal) มเหสีของพระองค์
- ประติมำกรรมรุ่นแรกๆของอินเดียอยู่ในสมัยรำชวงศ์เมำรยะ เป็น
ประติมำกรรมลอยตัวขนำดใหญ่ สลักจำกหิน มีรูปร่ำงหนัก แข็งกระด้ำง แสดง
ท่ำหยุดนิ่ง เช่น รูปยักษ์ รูปสตรี
- ประติมำกรรมที่เป็นพระพุทธรูปสมัยแรก คือ พระคันธำระ ( คริสต์ศตวรรษที่
1-2 ) โดยรับอิทธิพลจำกศิลปะกรีก เห็นได้ชัดจำกพระหัตถ์และพระวรกำย
ตลอดจนริ้วจีวรเป็นแบบกรีก
- ประติมำกรรมพระพุทธรูปของศิลปะเมถุรำซึ่งอยู่ในระยะเวลำเดียวกัน
ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบคันธำระผสมกับลักษณะพื้นเมือง โดยทั่วไปมี
ลักษณะเหมือนศิลปะคันธำระ
ประติมำกรรม
- ประติมำกรรมพระพุทธรูปของศิลปะเมถุรำซึ่งอยู่ในระยะเวลำ
เดียวกัน ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบคันธำระผสมกับลักษณะ
พื้นเมือง โดยทั่วไปมีลักษณะเหมือนศิลปะคันธำระ
- พระพุทธรูปในศิลปะแบบอมรำวดีเป็นแบบผสมอิทธิพลของกรีก
วงพระพักตร์ของพระพุทธรูปค่อนข้ำงยำว พระเกตุมำลำปรำกฏ
อย่ำงชัดเจนบนพระเศียร และมีขมวดพระเกศำเวียนขวำเป็น
ขมวดเล็กๆ พระพุทธรูปครองจีวรหนำและมักห่มเฉียง
ประติมำกรรมสมัยคุปตะ เป็นศิลปะที่แสดงศิลปะแบบอินเดียอย่ำงแท้จริง มีทั้พระพุทธรูป
และเทวรูปในศำสนำพรำหมณ์-ฮินดู มักมีขนำดใหญ่โต เช่น พระพุทธรูปปำงปรินิพพำนใน
ถ้ำอชันตะ
พระพุทธรูปปำงปรินิพพำนใน
ถ้ำอชันตะ
เทวรูปเครื่ององค์ของพระมเหศวรมูรติและพระอุมำที่
ถ้ำเอเลฟันตำ พระพุทธรูปที่เมืองบำมิยำนใน
อัฟกำนิสถำน
สมัยหลังคุปตะ ประติมำกรรมอินเดียมักจะ
สร้ำงตำมกฎเกณฑ์มำกขึ้นและไม่ค่อยเป็นธรรมชำติ
ลักษณะโดยทั่วไปจะมีรูปร่ำงหนักและหนำ ควำมเป็น
ธรรมชำติน้อยลง มีกำรประดับตกแต่งเพิ่มขึ้น
พบจำนวนมำกที่ถ้ำอชันตะ รวมทั้งเกำะลังกำและ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จิตรกรรมสมัยรำชวงศ์เมำรยะส่วนใหญ่สูญหำยไปหมดแล้ว
โดยเฉพำะจิตรกรรมที่ใช้ตกแต่งภำพปูนปั้นล้อมรอบผนังสถูป จิตรกรรม
เก่ำสุดที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบันพบที่เพดำนถ้ำโดยคีมำรำ ในทิวเขำรำมคฤ
หะ ภำคตะวันออกของอินเดีย วำดขึ้นด้วยสีดำ ขำว และแดง เป็น
ภำพเขียนอย่ำงง่ำยๆค่อนข้ำงหยำบ
จิตรกรรมอินเดียสมัยต่อมำอยู่ในสมัยศิลปะอมรำวดีเป็นภำพ
จิตรกรรมฝำผนังถ้ำที่อชันตะ แม้ภำพจะลบเลือนแต่แสดงให้เห็นถึงควำม
งดงำมของลำยเส้นที่ทำให้ภำพมีควำมอ่อนช้อย กำรจัดวำงภำพบุคคล
และและลวดลำยเครื่องประดับมีลักษณะตำแหน่งที่ชัดเจน
จิตรกรรม
จิตรกรรมสมัยคุปตะและหลังสมัยคุปตะ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดแห่งงำน
จิตรกรรมของอินเดีย ปรำกฏอยู่อย่ำงสมบูรณ์และมีจำนวนนับสิบแห่ง ที่
ผนังถ้ำอชันตะเป็นภำพเขียนในพระพุทธศำสนำเล่ำเรื่องชำดกต่ำงๆรำว
30 เรื่อง และพุทธประวัติบำงตอน ภำพเกี่ยวกับประเพณีชีวิตประจำวัน
ของประชำชนและชีวิตในรำชสำนัก ควำมสำมำรถในกำรวำดเส้นและ
กำรอำศัยประโยชน์จำกเงำมืดบริเวณขอบภำพ ทำให้ภำพแลดูเคลื่อนไหว
ให้ควำมรู้สึกหลังจำกยุครุ่งเรืองแห่งจิตรกรรมของอินเดียก็เสื่อมลง
ภำษำศำสตร์
ภำษำสันสกฤตมีควำมสำคัญอย่ำงมำกต่ออำรยธรรมอินเดีย เป็นภำษำที่ใช้อยู่
ในคัมภีร์พระเวท ซึ่งชำวอินเดียเชื่อว่ำพระผู้เป็นเจ้ำประทำน จึงมีควำมศักดิ์สิทธิ์
มีกำรแต่งตำรำว่ำด้วยไวยำกรณ์ขึ้นหลำยเรื่อง เช่น นิรุกตะ ของยำสกะ อธิบำย
ประวัติที่มำและควำมหมำยของคำ โดยเลือกคำมำจำกคัมภีร์พระเวท หนังสือที่
สำคัญมำกอีกเล่มหนึ่ง คือ
อัษฎำธยำยี ของปำณินิ นักไวยำกรณ์คนสำคัญหนังสือเล่มนี้ยังมีต้นฉบับ
สมบูรณ์ถึงปัจจุบัน เป็นตำรำไวยำกรณ์เล่มแรกที่วำงหลักเกณฑ์ไว้อย่ำงรัดกุม
เกี่ยวกับกำรใช้ภำษำสันสกฤต
ชำวอินเดียให้ควำมสนใจเรื่องภำษำศำสตร์มำก มีกำรแต่งหนังสือศัพทำ
นุกรม หรือโกศะขึ้นหลำยเล่ม โดยรวบรวมศัพท์และควำมหมำยที่ถูกต้อง
ของศัพท์ไว้ เมื่อมุสลิมเติร์กเข้ำปกครองอินเดียตอนเหนือ ได้นำเอำภำษำ
สันสกฤต ภำษำอำรบิก และภำษำเปอร์เซียมำผสมกันเป็นภำษำใหม่
เรียกว่ำ ภำษำอูรดู ( Urdu ) ซึ่งเป็นภำษำที่มุสลิมใช้พูดกันในอินเดีย
ปัจจุบัน
วรรณกรรม
พัฒนาการทางวรรณกรรมของอินเดียเริ่มจากการเป็นบทสวดในพิธีบูชา
เทพพระเจ้าซึ่งท่องจาด้วยปากเปล่าถ่ายทอดสืบต่อกันมานานนับพันปี
วรรณกรรมอินเดียเน้นหนักไปทางด้านศาสนา
วรรณกรรมอินเดียแบ่งตามพัฒนาการทางภาษาออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
1) วรรณกรรมภำษำพระเวท วรรณกรรมที่ใช้ภำษำสันสกฤตโบรำณของพวก
อำรยัน ประกอบด้วย ฤคเวท เป็นบทร้อยกรองสำหรับใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้ำ
และเป็นวรรณกรรมเริ่มแรกที่สุด ยชุรเวท เป็นบทร้อยแก้วว่ำด้วยพิธีกรรมและ
พิธีบวงสรวง สำมเวท เป็นบทร้อยกรองสวดในพิธีถวำยน้ำโสมแก่พระอินทร์
และขับกล่อมเทพเจ้ำองค์อื่น อำถรรพเวท เป็นบทรวบรวมเวทย์มนตร์
คำถำอำคม
• 2) วรรณกรรมตันติสันสกฤต หรือ วรรณกรรมสันสกฤตแบบแผน ภำษำ
สันสกฤตที่วิวัฒนำกำรมำจำกภำษำเก่ำของพระเวท รูปแบบคำประพันธ์
มักเป็นร้อยกรองที่เรียกว่ำ โศลก งำนสำคัญคือ มหำภำรตะ และ รำ
มำยณะ ถือเป็นมหำกำพย์ของอินเดียมีเรื่องรำวสะท้อนถึงสังคม
กำรเมือง ศำสนำ และชีวิตควำมเป็นอยู่ของชำวอินเดียในช่วงระยะเวลำ
ประมำณระหว่ำง 1,000-500 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ซึ่งเรียกว่ำ ยุคมหำ
กำพย์
• 3)วรรณกรรมสันสกฤตผสม ภำษำสันสกฤตผสมเป็นภำษำ
สันสกฤตใช้เขียนหลักธรรมและเรื่องรำวทำงพระพุทธศำสนำ งำนนิพนธ์
เป็นแบบร้อยแก้ว งำนนิพนธ์สำคัญและมีชื่อเสียงมำก ได้แก่ พุทธจริต
ของอัศวโฆษ
• 4) วรรณกรรมภำษำบำลี ใช้ในวรรณกรรมพระพุทธศำสนำ
นิกำยเถรวำท เขียนเป็นร้อยแก้ว อธิบำยหลักธรรมคำสอนทำง
พระพุทธศำสนำ เช่น พระไตรปิฎกชำดก วรรณกรรมภำษำทมิฬดัดแปลง
จำกวรรณกรรมสันสกฤต วรรณกรรมที่เป็นของทมิฬเองจริงๆ ไม่มี
หลักฐำนปรำกฏ วรรณกรรมสันสกฤตที่มีอิทธิพลต่อวรรณกรรมภำษำ
ทมิฬมำก คือ มหำภำรตะ รำมำยณะ และคัมภีร์ปุรำณะ
การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดีย
อำรยธรรมอินเดีย แพร่ขยำยออกไปสู่ภูมิภำคต่ำงๆทั่วทวีปเอเชีย โดย
ผ่ำนทำงกำรค้ำ ศำสนำ กำรเมือง กำรทหำร และได้ผสมผสำนเข้ำกับอำรย
ธรรมของแต่ละประเทศจนกลำยเป็นส่วนหนึ่งของอำรยธรรมสังคมนั้นๆ
ในเอเชียตะวันออก พระพุทธศำสนำมหำยำนของอินเดียมีอิทธิพลอย่ำง
ลึกซึ้งต่อชำวจีนทั้งในฐำนะศำสนำสำคัญ และในฐำนะที่มีอิทธิพลต่อกำร
สร้ำงสรรค์ศิลปะของจีน
ภูมิภำคเอเชียกลำง อำรยธรรมอินเดียที่ถ่ำยทอดให้เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7
เมื่อพวกมุสลิมอำหรับ ซึ่งมีอำนำจในตะวันออกกลำงนำวิทยำกำรหลำยอย่ำง
ของอินเดียไปใช้ ได้แก่ กำรแพทย์ คณิตศำสตร์ ดำรำศำสตร์ เป็นต้น
ขณะเดียวกันอินเดียก็รับอำรยธรรมบำงอย่ำงทั้งของเปอร์เชียและกรีก
โดยเฉพำะด้ำนศิลปกรรม ประติมำกรรม เช่น พระพุทธรูปศิลปะคันธำระซึ่งเป็น
อิทธิพลจำกกรีก ส่วนอิทธิพลของเปอร์เชีย ปรำกฏในรูปกำรปกครอง
สถำปัตยกรรม เช่น พระรำชวัง กำรเจำะภูเขำเป็นถ้ำเพื่อสร้ำงศำสนสถำน
ภูมิภำคที่ปรำกฏอิทธิพลของอำรยธรรมอินเดียมำกที่สุดคือ เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ พ่อค้ำ พรำหมณ์ และภิกษุสงฆ์ชำวอินเดียเดินทำงมำและนำอำรยธรรม
มำเผยแพร่ อำรยธรรมที่ปรำกฏอยู่มีแทบทุกด้ำน โดยเฉพำะในด้ำนศำสนำ
ควำมเชื่อ กำรปกครอง ศำสนำพรำหมณ์ ฮินดู และพุทธ ได้หล่อหลอมจน
กลำยเป็นรำกฐำนสำคัญที่สุดของประเทศต่ำงๆในภูมิภำคนี้
ธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์
ธรรมศำสตร์มีพื้นฐำนมำจำกธรรมสูตรซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์พระเวท
โดยมีหนังสือเล่มแรกที่รวบรวมกฎและหน้ำที่เกี่ยวกับฆรำวำส คือ มำนว
ธรรมศำสตร์ หรือ มนูสมฤติ ส่วนนิติศำสตร์ หรือ ครรถศำสตร์ ว่ำด้วย
กำรเมืองกำรปกครอง และกำรบริหำรบ้ำนเมืองให้มั่งคั่ง โดยมีอรรถศำสตร์
ของเกำฏิลยะ เป็นงำนเขียนที่เกี่ยวกับกำรเมืองกำรปกครอง
Thank you

More Related Content

What's hot

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
warintorntip
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Ketsuro Yuki
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
Padvee Academy
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
Supicha Ploy
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Gain Gpk
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
 

What's hot (20)

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 

Viewers also liked

#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Kalyarat Kanyano
 
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
Chontida Suwanchaiya
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
Jungko
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
6091429
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
Draftfykung U'cslkam
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (15)

#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
K02
K02K02
K02
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to อารยธรรมอินเดีย

อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2
Gain Gpk
 
อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2
Gain Gpk
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
warintorntip
 
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
NisachonKhaoprom
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 

Similar to อารยธรรมอินเดีย (13)

อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2
 
อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2อารยธรรมอินเดีย2
อารยธรรมอินเดีย2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

อารยธรรมอินเดีย