SlideShare a Scribd company logo
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ในสมัยล้านนา
มารู้จักอาณาจักรล้านนากันก่อน
ล้านนาหมายถึง ดินแดนที่มีนาจานวนมา หรือมีนานับ
ล้าน คู่กับ ล้านช้าง คือ ดินแดนที่มีช้างนับล้านตัว
คาว่า ล้านนากับ ลานนา เป็นหัวข้อที่ถกเถียงกัน
ซึ่งคณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย มี ดร.ประเสริฐ ณ นคร
เป็นประธาน ได้ให้ข้อยุติว่า “ ล้านนา ” เป็นคาที่ถูกต้อง
และเป็นคาที่ใช้ในวงวิชาการ
อย่างไรก็ดี การตรวจสอบคาว่า ล้านนา ได้อาศัยศัพท์
ภาษาบาลี โดยพบว่าท้ายคัมภีร์ใบลานจากเมืองน่านและที่อื่นๆ
จานวนไม่น้อยกว่า ๕๐ แห่ง เขียนว่า ทสลกฺขเขตฺตนคร (ทะสะ
ลักขะเขตตะนะคอน) แปลว่า เมืองสิบแสนนา เป็นคาคู่กับเมือง
หลวงพระบางที่ชื่ออาณาจักร ศรีสตนาคนหุต (สีสะตะนาคะหุด)
หรือช้างร้อยหมื่น
ประวัติการก่อตั้งอาณาจักรล้านนา
พญามังราย กษัตริย์แห่งหิรัญนครเงินยาง องค์
ที่ ๒๕ ในราชวงศ์ลวจักรราช หรือ ราชวงศ์ลาวปู่เจ้า
ลาวจก ได้แผ่อิทธิพลขยายอาณาเขตได้เริ่มตีเมืองเล็ก
เมืองน้อย ตั้งแต่ลุ่มแม่น้ากก แม่น้าอิง และแม่น้าปิง
ตอนบน รวบรวมเมืองต่างๆให้เป็นปึกแผ่น แล้วสร้าง
เมืองเชียงราย ขึ้นแทนเมืองเงินยาง
ต่อมาพระองค์ก็ได้ขยายอาณาจักรแผ่อิทธิพลลงทางมาทาง
ทิศใต้ รวบรวมอาณาจักรหิริภุญชัย กับอาณาจักรโยนกเชียงแสน
และได้ขนามนามราชอาณาจักรแห่งใหม่นี้ว่า "อาณาจักรล้านนา"
พญามังราย ได้อัญเชิญพระสหายสนิทร่วมน้าสาบานสอง
พระองค์ได้แก่ พญางาเมือง แห่งเมืองพะเยา และ พ่อขุนรามคาแหง
แห่งสุโขทัย มาร่วมกันสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ โดยตั้งชื่อราชธานีแห่ง
ใหม่นี้ว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ และได้เป็น
ศูนย์กลางการปกครองราชอาณาจักรล้านนานับแต่นั้น
ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร
ล้านนาพัฒนาการขึ้นอย่างเด่นชัดในราว
กลางราชวงศ์มังราย นับตั้งแต่สมัย
พระญากือนา (พ.ศ. ๑๘๙๘ – ๑๙๒๘)
เป็นต้นมา
และเจริญสูงสุดในสมัย พระเจ้าติโลกราช ผู้ครองนครเมือง
เชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. ๑๙๘๔ – ๒๐๓๐
พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ ใน
ราชวงศ์มังราย ได้รับการยกย่องให้มีฐานะเป็ น
“ราชาธิราช” ทรงแผ่ขยายขอบขัณฑสีมาของอาณาจักร
ล้านนาให้ยิ่งใหญ่และกว้างขวางกว่าเดิม
ความเจริญด้านการศึกษาของพระสงฆ์
ในรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช พุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง
พระองค์ทรงเลื่อมใสและทานุบารุงพุทธศาสนา ทรงสนับสนุนคณะสงฆ์
สานักวัดป่าแดง (ลังกาวงศ์นิกายสิงหลใหม่) และพระองค์เองก็ผนวช
ชั่วคราว ณ วัดป่าแดงมหาวิหาร
ฝ่ายลังกาวงศ์ใหม่เจริญรุ่งเรืองมีกุลบุตรมาบวชเป็นจานวนมาก
พระภิกษุในนิกายสิงหลเพิ่มขึ้นมาก นิกายสิงหลใหม่นี้เน้นการศึกษาภาษา
บาลีและการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย การศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติ
ธรรมเจริญก้าวหน้าอย่างสูง และความขัดแย้งระหว่างลังกาวงศ์ใหม่สาย
สิงหล (วัดป่าแดง) และลังกาวงศ์เก่าสายรามัญ (วัดสวนดอก) ที่มีอยู่ในยุค
นั้นก็ทาให้พระสงฆ์สายรามัญตื่นตัวพยายามศึกษาพระปริยัติเช่นกัน
การสังคายนาพระธรรมวินัย
ครั้งที่ ๑ ในประเทศไทย
ในสมัยพระเจ้าติโลกราชนี้มีการจัดทาสังคายนาพระธรรมวินัย
ชาระพระไตรปิฎก จารึกลงในใบลาน เป็นภาษาบาลีอักษรล้านนาไทย การ
สังคายนาครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่ ๘ ต่อจากลังกา และเป็นครั้งที่ ๑ ของดินแดน
ไทย กระทาที่วัดโพธาราม หรือวัดเจ็ดยอด เมืองเชียงใหม่ เมื่อพ.ศ. ๒๐๒๐
โดยมีพระธรรมทินนเถระเป็นประธาน ทาอยู่ ๑ ปีจึงแล้วเสร็จ วัตถุประสงค์
คือขจัดความขัดแย้งกันระหว่างสงฆ์ ๒ นิกาย คือลังกาเก่ากับลังกาใหม่
ตรงกับสมัยพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา
การจัดการศึกษาของสงฆ์สมัยล้านนา
ในสมัยล้านนา ได้มีการอาราธนาพระสงฆ์จากลังกาทวีป และส่ง
พระสงฆ์ไปศึกษาที่ลังกา เมื่อ พ.ศ. ๑๙๖๕ เป็นพระเถระชาวล้านนา ๗ รูป
พระเถระชาวกรุงศรีอยุธยา ๒ รูป และพระเถระชาวกัมพูชา ๑ รูป
คณะสงฆ์ล้านนา แตกฉานในพระไตรปิฎกมาก สามารถแต่งคัมภีร์
ต่างๆได้มากมาย และคัมภีร์ที่แต่งนี้ล้วนแต่งด้วยภาษาบาลีทั้งสิ้น เมื่อ
เปรียบเทียบกับสมัยต่างๆ เช่น สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์แล้ว ไม่มี
พระสงฆ์สมัยใดที่ชานาญภาษาบาลี แต่งคัมภีร์เป็นภาษาบาลีมากมาย
เช่นสมัยล้านนาเลย มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตฝ่ายสมณะเกิดขึ้นหลายองค์
แต่ละองค์ได้รจนาคัมภีร์ทาง พระพุทธศาสนาและประวัติศาสตร์ไว้
๑) พระญาณกิตติ รจนา โยชนาวินัย โยชนาอภิธรรม และอื่น ๆ
รวมประมาณ ๑๐ คัมภีร์
๒) พระรัตนปัญญา รจนา วชิรสารัตถสังคหะ และชินกาลมาลี
๓) พระโพธิรังษีรจนา จามเทวีวงศ์
๔) พระนันทาจารย์รจนา สารัตถะสังคหะ
๕) พระสุวรรณรังสีรจนา ปฐมสมโพธิสังเขป
๖) พระสุวรรณปทีปเถระ รจนา สารัตถทีปนี
๗) พระสิริมังคลาจารย์รจนา มังคลัตถทีปนี เวสสันดรทีปนี
จักกวาฬทีปนี สังขยาปกาสกฎีกา ซึ่งถือกันว่า พระมหาเถระองค์นี้เป็น
รัตนกวีที่เด่นที่สุดของล้านนาไทย
คัมภีร์ต่าง ๆ ที่ปราชญ์ชาวล้านนารจนาขึ้นนี้ได้มีอิทธิพลใน
การศึกษาภาษาบาลีสืบมา จนทุกวันนี้โดยเฉพาะคัมภีร์เรื่องมังคลัตถทีปนี
เป็นวรรณคดีบาลีที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี คณะสงฆ์ปัจจุบันนามาเป็นคัมภีร์
สาหรับศึกษาของประโยค ป.ธ. ๔ – ๗
ตามหมู่บ้านต่างๆ ได้สร้างวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน เขตเมือง
เชียงใหม่มีวัดนับร้อยแห่ง ปริมาณวัดที่มากมายในยุครุ่งเรืองนั้นมีร่องรอย
ปรากฏเป็นวัดร้างมากมายในปัจจุบัน สมัยพระเจ้าติโลกราช ถือเป็นยุค
ทองของอาณาจักรล้านนา
“ ยุคทองของพระพุทธศาสนา ”
จนถึงสมัยของ พระญาแก้ว หรือ พระเมืองแก้ว
หลังจากนั้นอาณาจักรล้านนาก็เสื่อมลง
การศึกษาคณะสงฆ์สมัยล้านนาไทย
พอสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
- การจัดการศึกษาและสถานศึกษา
เป็นการศึกษาที่จัดให้เฉพาะผู้ชาย และผู้ที่ต้องการบวชเรียน เท่านั้น
มีครูผู้สอนเป็นพระ แยกเป็น ๓ ระดับ
- ตุ๊หลวง คือ เจ้าอาวาส ทาหน้าที่เป็นครูใหญ่
- ตุ๊บาลก๋า คือ พระที่มีพรรษาสูงกว่า ๕ พรรษาขึ้นไป ทาหน้าที่สอนหนังสือ
แก่พระและสามเณร
- ตุ๊หนาน คือ พระที่อ่อนพรรษา ทาหน้าที่สอนขะโยมวัด (ศิษย์วัด) เด็กที่พ่อ
แม่มาฝากไว้เป็นศิษย์
- ศึกษาในวัด ยังไม่มีการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ
- วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา
เพื่อศึกษาภาษาบาลี และความรู้เกี่ยวกับพระพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง
- วิธีสอน
สอนโดยการบอกหรือการเลียนแบบ
โดยการท่องจาแบบนกแก้ว นกขุนทอง
สรุป
การจัดการศึกษาของคณะสงฆ์สมัยล้านนา เป็นการเรียนการสอน
ที่ส่วนมากจัดขึ้นในวัดหรือวัง มีครูผู้สอนคือพระสงฆ์ โดยมากศึกษา
เกี่ยวกับภาษาบาลี มีการอ่าน การเขียน และศึกษาคาสอนทาง
พระพุทธศาสนา แต่การจัดการเรียนการสอนนั้นยังไม่เป็นระบบ สอนโดย
การบอก เลียนแบบ ท่องจาเป็นหลัก พระสงฆ์ผู้ทรงความรู้นั้นส่วนมากอยู่
ในเมือง
ในสมัยล้านนา เป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง มีการส่ง
พระสงฆ์ไปเรียน ไปศึกษา ยังทั้งยังอาราธนาพระสงฆ์ลังกาทวีปมาเผยแผ่
พระพุทธศาสนาอีกด้วย โดยเฉพาะในสมัยของพระเจ้าติโลกราชนั้น ถือ
เป็นยุคทองของพระพุทธศาสนา มีนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาเกิดขึ้น
อย่างมาก สะท้อนให้เห็นว่า การที่พระพุทธศาสนาและการศึกษาเจริญรุ่ง
เรื่องนั้น ขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ สภาพบ้านเมืองที่ปกติสุข และการสนับสนุน
ของกษัตริย์ด้วย
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 

What's hot (20)

เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต (12)

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 

การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา