SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ความหลากหลายทางชีว ภาพ
                                     (Biological diversity)
                                  ความหลากหลายทางชีว ภาพ
หลักฐานของสิ่งมีชีวิตที่เก่าแก่ที่สุดเป็นฟอสซิลของจุลินทรีย์โบราณ อายุ 3.5 พันล้านปี ใน
ทวีปออสเตรเลีย มีรูปร่างคล้ายแบคทีเรียสีฟ้าเขียวในปัจจุบัน ซึ่งมีความสามารถในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ในการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหารและคายก๊าซ
ออกซิเจนออกมา จุลินทรีย์โบราณนี้เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ เซลล์โพรคาริโอต ไม่มี
นิวเคลียส และอวัยวะพิเศษอื่นใด ตัวอย่างของเซลล์โพรคาริโอตได้แก่ แบคทีเรีย ชนิดต่างๆ
หนึ่งพันล้านปีต่อมา เซลล์โพรคาริโอตบางชนิดได้วิวัฒนาการให้มีความมั่นคงในการดำารงชีวิต
โดย
เสริมสิ่งป้องกันตัว และระบบจัดหาพลังงานที่ดีกว่าจนกลายเป็นเซลล์ยูคาริโอต ซึ่งมีขนาดใหญ่
และมีความสลับซับซ้อนมากกว่า ในเวลาต่อมา เซลล์ยูคาริโอตได้กลายเป็นบรรพบุรุษของ พืช
เห็ดรา และสัตว์ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อุบัติขึ้นประมาณหนึ่งพันห้าร้อยล้านปีที่แล้ว
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้มีจำานวนระหว่าง 2 – 30 ล้านสปีชีส์
โดยที่บันทึกอย่างเป็นทางการแล้ว 1.4 ล้านสปีชีส์ ออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 5 อาณาจักรดังนี้
การจัดจำาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
 อาณาจักร (Kingdom)
 ไฟลัม (Phylum)
 คลาส (Class)
 ออเดอร์ (Order)
 วงค์ (Sub Order)
 สกุล (Genus)
 สปีชีส์ (Species)
1. อาณาจัก รโมเนอรา (Kingdom Monera) ประกอบด้วยจุลินทรีย์พวกโพรคาริโอต ซึ่ง
มีเซลล์แบบโพรคาริ
โอติกเซลล์ (Prokaryotic cell) คือ ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ส่วนใหญ่ได้อาหารโดยการดูดซึม
อาหารที่ย่อยแล้วเข้ามา
ในเซลล์มีบางชนิดที่สังเคราะห์แสงได้ส่วนใหญ่สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งตัวจาก
หนึ่งเป็นสอง ใน
กลุ่มนี้ ได้แก่แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน (blue green algae) มีสมาชิกประมาณ
6,000 สปีชีส์ ซึ่งแบ่ง
ตามกระบวนการทางชีวภาพเคมีได้ 3 จำาพวกคือ
ออโตทรอฟ (Autotroph) หมายถึง พวกที่สร้างอาหารได้ด้วยตนเอง โดยการเปลี่ยนสารอ
นินทรีย์เป็น
สารอินทรีย์ เช่นการสังเคราะห์ด้วยแสง
เฮเทโรทรอฟ (Heterotroph) หมายถึง พวกที่บริโภคสารอินทรีย์ที่สร้างขึ้นจากสิ่งมีชีวิต
อื่น
มิโ ซทรอฟ (Mixotroph) หมายถึง พวกที่บริโภคทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์
2. อาณาจัก รโพรติส ตา (Kingdom Protista) เป็นอาณาจักรของยูคาริโอตเซลเดี่ยว มี
สมาชิกประมาณ 60,000
สปีชีส์เซลล์ถูกพัฒนาให้มีนิวเคลียสห่อหุ้มโครโมโซม และสร้างอวัยวะซึ่งทำาหน้าที่เฉพาะทาง
ได้แก่ คลอโรพ
ลาสต์มีหน้าที่สังเคราะห์อาหารด้วยแสง โดยการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหาร
และคายก๊าซ
ออกซิเจน ไมโทคอนเดรียน มีหน้าที่นำาก๊าซออกซิเจนมาเผาผลาญอาหารให้เกิดพลังงานและ
คายก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งวิวัฒนาการในยุคต่อมาได้แยกเป็น พืช เห็ดรา และสัตว์สิ่งมี
ชีวิตในอาณาจักรโพ
ติสตาได้แก่ สาหร่าย โปรตัวซัว แพลงตอน
3. อาณาจัก รพืช (Kingdom Plantae) มีสมาชิกประมาณ 250,000 สปีชีส์ ซึ่งมีเป็นสิ่งมี
ชีวิตจำาพวกออโต
ทรอฟ ซึ่งใช้คลอโรฟิลล์สีเขียวเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหารและคายก๊าซ
ออกซิเจน พืชมีบทบาท
สำาคัญต่อวัฎจักรนำ้าและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของบรรยากาศ นอกจากนั้นยังมี
บทบาทที่สำาคัญในการ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของดินด้วยการดูดซับธาตุอาหาร อันได้แก่ คาร์บอน
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และกำามะถัน พืชจึงเป็นแหล่งอาหารที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิตบนโลก
4. อาณาจัก รเห็ด รา (Kingdom Fungi) มีสมาชิกประมาณ 70,000 สปีชีส์ มีลักษณะ
คล้ายพืช แต่เป็นสิ่งมีชีวิต
จำาพวกเฮโรทรอฟซึ่งบริโภคสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตอื่นสร้างไว้เราจะเห็นได้ว่า เห็ดมักขึ้นอยู่ตาม
ซากต้นไม้ รา
และยีสต์มักขึ้นอยู่ตามอาหาร เห็ดราบางชนิดสามารถดูดกลืนสารอินทรีย์จากพื้นดินได้โดยตรง
ไลเคนสามารถ
อาศัยอยู่บนพื้นหินแข็ง พวกมันมีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของป่าเป็นอย่างมาก
เนื่องจากความสามารถ
ในการดูดกลืนนำ้าและการทำาปฏิกิริยาทางเคมี
5. อาณาจัก รสัต ว์ (Kingdom Animalia) มีสมาชิกประมาณ 1,000,000 สปีชีส์ จัดเป็น
สิ่งมีชีวิตจำาพวกออโต
ทรอฟ ซึ่งมีการบริโภคเป็นระบบห่วงลูกโซ่อาหารเป็นชั้นๆ เช่น กวางกินหญ้า เสือกินกวาง นก
แร้งกินเสือ เป็น
ต้น สัตว์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีชีวภาพ เป็นต้นว่า กระดูกและกระดองสร้างจาก
แคลเซียมคาร์บอเนต
การหายใจของสัตว์ควบคุมปริมาณก๊าซออกซิเจนในบรรยากาศไม่ให้มากเกินไป สายพันธุ์ของ
มนุษย์ (Homo) เพิ่ง
แยกออกมาจากสายพันธุ์ของลิงเมื่อ 3 ล้านปีก่อน สปีชีส์โฮโมเซเปียนส์ (Homo sapiens)
ของมนุษย์ในปัจจุบัน
เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 2 แสนปีก่อนนี้
                    ความหลากหลายทางชนิด พัน ธุ์ (Species Diversity)
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ หรือ ความหลากหลายของสปีชีส์จำานวน จุลินทรีย์ในโลกนี้มี
อยู่
ประมาณ 5 แสนชนิด แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 5 กลุ่ม คือ
 แบคทีเรีย
 สาหร่าย
 ไวรัส
 โปรโตซัว
 รา
                                        แบคทีเ รีย
แบคทีเ รีย เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปพบทั่วไปทุกแห่งหนในนำ้า บนบก
อากาศ มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองด้วยตาเปล่า ต้องส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จัดอยู่
ในกลุ่มโปรคาริโอต (procaryote) คือ เป็นสิ่งมีชีวิตเชลล์เดียว มีผนังเชลล์ที่ประกอบด้วย
คาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโน มีลักษณะเหมือนร่างแหห่อหุ้มของเหลว (protoplasm) อยู่
ภายใน นิวเคลียส (nucleus) ของแบคทีเรียมีลักษณะของสายDNA คู่ขดเป็นวงกลมโดยไม่มี
ผนังห่อหุ้ม DNA ไว้
                                            สาหร่า ย
สาหร่าย หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในกลุ่มยูคาริโอต ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวเนื่องจากมีสารพวก
คลอโรฟิลล์ที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง มีทั้งที่
เป็นเซลลล์เดียวที่อยู่กันเป็นกลุ่ม หรือเป็นสาย จนถึงมีลักษณะโครงสร้างที่ซับซ้อน สาหร่าย
แต่ละชนิดจะมีสารประกอบภายในเซลล์ อวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนที่ รวมไปถึงอวัยวะที่ใช้ใน
การสืบพันธุ์ที่แตกต่างกัน แบ่งออกเป็น 7 ดิวิชั่น
 1. ดิวิชันคลอโรไฟตา (CHLOROPHYTA)
 2. ดิวิชันยูกลีโนไฟตา (DIVISION EUGLENOPHYTA)
 3. ดิวิชันแคโรไฟตา (DIVISION CHAROPHYTA)
 4. ดิวิชันฟีโอไฟตา (DIVISION PHAEOPHYTA)
 5. ดิวิชันคริสโซไฟตา (DIVISION CHRYSOPHYTA)
 6. ดิวิชันไพร์โรไฟตา (DIVISION PYRROPHYTA)
 7. ดิวิชันโรโดไฟตา (DIVISION RHODOPHYTA)
                                               ไวรัส
ไวรัส คือ จุลินทรีย์ที่สามาถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infections agents) ทั้งในมนุษย์ สัตว์
พืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆหลายชนิดทำาให้เกิดโรคที่มีความสาคัญมากทั้งในทางการแพทย์และทาง
เศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอาศัยอยู่ในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (Obligate intracellular parasite)
อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไว
รอยด์ (Viroid) และ พริออน (Prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่างซึ่งค้นพบ
โดย มาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ. 1899
                                           โปรโตซัว
เป็นสัตว์ซึ่งมีความสามารถสูงและคุณสมบัติในการดำารงชีพเหมือนสัตว์หลายเซลล์ โดยมีระบบ
ต่างๆ ภายในตัวเองอย่างสมบูรณ์ เช่น การสืบพันธ์ุุการย่อยอาหาร การหายใจ และการขับ
ถ่ายโปรโตซัวมีมากกว่า 3 หมื่นชนิด ประมาณเกือบ 1 หมื่นชนิดเป็นปรสิตของสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลังและสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังรวมทั้งมนุษย์ การดำารงชีพแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะที่
อาศัย คือพวกที่อาศัยอย่อู ย่างอิสระ (free living protozoa) และพวกที่ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิต
อื่นร่วมด้วย (symbyosis) อาจจะเป็นแบบ commensalisms หรือParasitism แบ่ง ออก
เป็น 4 ไฟลัม
1. ไฟลัมแมสติโกฟอรา หรือแฟลกเจลลาตา (Phylum Mastigophora หรือ
Flagellata)
2. ไฟลัมซาโคดินา หรือ ไรโซโปดา (Phylum Sarcodina หรือ Rhizopoda)
3. ไฟลัมซีลีเอตา (Phylum Ciliata)
4. ไฟลัมสปอโรซัว (Phylum Sporozoa)
                                              เชื้อ รา
ราจัดเป็นจุลินทรีย์ในอาณาจักรฟังไจ (Fungi) มีหน้าที่และบทบาทที่สำาคัญในธรรมชาติ คือ
เป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุเพื่อนำาแร่ธาตุต่างๆกลับคืนสู่ธรรมชาติจึงแบ่งราเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ
คือ
1. ราชนิดเซลล์เดียว เรียกว่า Yeast
2. ราสายนั้นมีชื่อเรียกว่า Mold หรือ Mould ซึ่งเป็นราหลายเซลล์
ราไม่มีคลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) จึงไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดังนั้นราจึงดำารงชีวิตโดย
การย่อยสลายและดูดซึมสารอาหารจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายแล้ว(Saprobes) ในขณะที่รา
บางกลุ่มดำารงชีพโดยการเกาะกินสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ (Parasites) และราบางชนิดก็
ก่อให้เกิดโรคได้ทั้งโรคในคนสัตว์และพืช (Pathogen)นักราวิทยาได้ประมาณความหลาก
หลายของเชื้อราในโลกซึ่งคาดว่ามีประมาณ 1.5 ล้านสายพันธุ์(Species) โดยทั้งหมดนี้มีเเค่
เพียงประมาณ 73,000 สายพันธุ์ที่มีการจำาเเนก (Identification )ไปเเล้วเท่านั้น ดังนั้นจาก
ข้อมูลที่เรารู้จักคิดเป็น 10 % ของราทั้งหมดที่คาดจะมีอยู่ในโลกทั้งหมดเท่านั้น โดย 10 % ดัง
กล่าวเราได้นำามาใช้ประโยชน์ เช่น ใช้ราบางชนิดมาผลิต อาหาร เช่น ซีอิ้ว เต้าเจียว เนยแข็ง
ยาปฏิชีวนะต่าง ๆ และ บางชนิดที่เรารู้จักดี คือ ถั่งเช่า หรือ (ตังถั่งแห่เช่า/ ตังถั่งเช่า) มีชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ว่า Cordyceps sinensis ถั่งเช่า เป็นราทำาลายแมลงที่ใช้เป็นยาสมุนไพรที่แพร่
หลายมากในประเทศจีนและชาวเอเชีย และเห็ดราอีกตัว คือ เห็ดหลินจือมีชื่อทางวิทยาศาสตร์
ว่า Ganoderma lucidum เห็ดหลินจือเป็นยาจีน (Chinese traditional medicine
mushroom) ที่
ใช้กันมานานมากกว่าหลายพันปี พบสารสำาคัญที่มีฤทธิ์ในการรักษาโรคต่างๆ มากมายและใน
ขณะเดียวกัน ก็มีราที่เกิดโทษด้วย เช่น ทำา
ให้อาหารเสีย อาหารมีสีและกลิ่นผิดปกติ บางชนิดสร้างสารพิษในอาหาร บางชนิดเป็นศัตรูต่อ
พืช บางชนิดก่อให้เกิดโรคทั้งในคนและ
สัตว์ราเกือบทุกชนิดเจริญได้ดีในสภาวะเป็นกรด เมื่อราเจริญเติบโตจะมีลักษณะเป็นปุยคล้าย
สำาลี และมีสีต่างๆ ตามอาหารที่
มันเจริญเติบโต รา บางชนิดสามารถสร้างพิษ (Mycotoxin) ในอาหารที่มันเจริญอยู่ เมื่อ
มนุษย์หรือสัตว์รับประทานเข้าไป ก็อาจทำาให้เกิด
โรค สารพิษในรา ก็จะทำาลายเซลล์ของ ตับ ไต และไขกระดูกได้หรือถ้ารับประทานสารพิษจาก
เชื้อรา เช่น อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) ก็อาจทำาให้เซลล์ของตับตาย และก่อให้เกิดมะเร็งตับ
ได้ราบางชนิดเมื่อรับประทานเข้าไปไม่ก่อให้เกิดอันตราย แต่ทำาให้เกิดโรคเมื่อสัมผัสทาง
ผิวหนัง เช่น โรคกลาก เกลื้อน เป็นต้น
                                  การจัด หมวดหมูข องรา
                                                     ่
ในปัจจุบันใช้การสร้างสปอร์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
เป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 4 ไฟลัม ได้แก่
1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) สร้างไซโกสปอร์                      2. ไฟลัมแอสโคไมโค
ตา (Phylum Ascomycota) สร้างแอสโคสปอร์
3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota) สร้างเบสิดิโอสปอร์ 4. ไฟลัมดิวเทอ
โรไมโคตา (Phylum Deuteromycota) หรือเรียกว่า Fungiimperfecti สร้างสปอร์ไม่
ทราบว่าชนิดใดเนื่องจากนิวเคลียสของสปอร์
หลอมรวมกัน

More Related Content

What's hot

อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (19)

อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
jjjjjjj
jjjjjjjjjjjjjj
jjjjjjj
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 

Similar to 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยNassaree Jeh-uma
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยNassaree Jeh-uma
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 

Similar to 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ (20)

Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ิ b
ิ bิ b
ิ b
 
bug
bugbug
bug
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 

2. ความหลากหลายทางชีวภาพ

  • 1. ความหลากหลายทางชีว ภาพ (Biological diversity) ความหลากหลายทางชีว ภาพ หลักฐานของสิ่งมีชีวิตที่เก่าแก่ที่สุดเป็นฟอสซิลของจุลินทรีย์โบราณ อายุ 3.5 พันล้านปี ใน ทวีปออสเตรเลีย มีรูปร่างคล้ายแบคทีเรียสีฟ้าเขียวในปัจจุบัน ซึ่งมีความสามารถในการ สังเคราะห์ด้วยแสง ในการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหารและคายก๊าซ ออกซิเจนออกมา จุลินทรีย์โบราณนี้เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ เซลล์โพรคาริโอต ไม่มี นิวเคลียส และอวัยวะพิเศษอื่นใด ตัวอย่างของเซลล์โพรคาริโอตได้แก่ แบคทีเรีย ชนิดต่างๆ หนึ่งพันล้านปีต่อมา เซลล์โพรคาริโอตบางชนิดได้วิวัฒนาการให้มีความมั่นคงในการดำารงชีวิต โดย เสริมสิ่งป้องกันตัว และระบบจัดหาพลังงานที่ดีกว่าจนกลายเป็นเซลล์ยูคาริโอต ซึ่งมีขนาดใหญ่ และมีความสลับซับซ้อนมากกว่า ในเวลาต่อมา เซลล์ยูคาริโอตได้กลายเป็นบรรพบุรุษของ พืช เห็ดรา และสัตว์ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อุบัติขึ้นประมาณหนึ่งพันห้าร้อยล้านปีที่แล้ว ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้มีจำานวนระหว่าง 2 – 30 ล้านสปีชีส์ โดยที่บันทึกอย่างเป็นทางการแล้ว 1.4 ล้านสปีชีส์ ออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 5 อาณาจักรดังนี้ การจัดจำาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต  อาณาจักร (Kingdom)  ไฟลัม (Phylum)  คลาส (Class)  ออเดอร์ (Order)  วงค์ (Sub Order)  สกุล (Genus)  สปีชีส์ (Species) 1. อาณาจัก รโมเนอรา (Kingdom Monera) ประกอบด้วยจุลินทรีย์พวกโพรคาริโอต ซึ่ง มีเซลล์แบบโพรคาริ โอติกเซลล์ (Prokaryotic cell) คือ ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ส่วนใหญ่ได้อาหารโดยการดูดซึม อาหารที่ย่อยแล้วเข้ามา ในเซลล์มีบางชนิดที่สังเคราะห์แสงได้ส่วนใหญ่สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งตัวจาก หนึ่งเป็นสอง ใน กลุ่มนี้ ได้แก่แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน (blue green algae) มีสมาชิกประมาณ 6,000 สปีชีส์ ซึ่งแบ่ง ตามกระบวนการทางชีวภาพเคมีได้ 3 จำาพวกคือ ออโตทรอฟ (Autotroph) หมายถึง พวกที่สร้างอาหารได้ด้วยตนเอง โดยการเปลี่ยนสารอ นินทรีย์เป็น สารอินทรีย์ เช่นการสังเคราะห์ด้วยแสง เฮเทโรทรอฟ (Heterotroph) หมายถึง พวกที่บริโภคสารอินทรีย์ที่สร้างขึ้นจากสิ่งมีชีวิต อื่น มิโ ซทรอฟ (Mixotroph) หมายถึง พวกที่บริโภคทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ 2. อาณาจัก รโพรติส ตา (Kingdom Protista) เป็นอาณาจักรของยูคาริโอตเซลเดี่ยว มี สมาชิกประมาณ 60,000 สปีชีส์เซลล์ถูกพัฒนาให้มีนิวเคลียสห่อหุ้มโครโมโซม และสร้างอวัยวะซึ่งทำาหน้าที่เฉพาะทาง ได้แก่ คลอโรพ ลาสต์มีหน้าที่สังเคราะห์อาหารด้วยแสง โดยการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหาร และคายก๊าซ
  • 2. ออกซิเจน ไมโทคอนเดรียน มีหน้าที่นำาก๊าซออกซิเจนมาเผาผลาญอาหารให้เกิดพลังงานและ คายก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งวิวัฒนาการในยุคต่อมาได้แยกเป็น พืช เห็ดรา และสัตว์สิ่งมี ชีวิตในอาณาจักรโพ ติสตาได้แก่ สาหร่าย โปรตัวซัว แพลงตอน 3. อาณาจัก รพืช (Kingdom Plantae) มีสมาชิกประมาณ 250,000 สปีชีส์ ซึ่งมีเป็นสิ่งมี ชีวิตจำาพวกออโต ทรอฟ ซึ่งใช้คลอโรฟิลล์สีเขียวเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นอาหารและคายก๊าซ ออกซิเจน พืชมีบทบาท สำาคัญต่อวัฎจักรนำ้าและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของบรรยากาศ นอกจากนั้นยังมี บทบาทที่สำาคัญในการ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของดินด้วยการดูดซับธาตุอาหาร อันได้แก่ คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกำามะถัน พืชจึงเป็นแหล่งอาหารที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิตบนโลก 4. อาณาจัก รเห็ด รา (Kingdom Fungi) มีสมาชิกประมาณ 70,000 สปีชีส์ มีลักษณะ คล้ายพืช แต่เป็นสิ่งมีชีวิต จำาพวกเฮโรทรอฟซึ่งบริโภคสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตอื่นสร้างไว้เราจะเห็นได้ว่า เห็ดมักขึ้นอยู่ตาม ซากต้นไม้ รา และยีสต์มักขึ้นอยู่ตามอาหาร เห็ดราบางชนิดสามารถดูดกลืนสารอินทรีย์จากพื้นดินได้โดยตรง ไลเคนสามารถ อาศัยอยู่บนพื้นหินแข็ง พวกมันมีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของป่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากความสามารถ ในการดูดกลืนนำ้าและการทำาปฏิกิริยาทางเคมี 5. อาณาจัก รสัต ว์ (Kingdom Animalia) มีสมาชิกประมาณ 1,000,000 สปีชีส์ จัดเป็น สิ่งมีชีวิตจำาพวกออโต ทรอฟ ซึ่งมีการบริโภคเป็นระบบห่วงลูกโซ่อาหารเป็นชั้นๆ เช่น กวางกินหญ้า เสือกินกวาง นก แร้งกินเสือ เป็น ต้น สัตว์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีชีวภาพ เป็นต้นว่า กระดูกและกระดองสร้างจาก แคลเซียมคาร์บอเนต การหายใจของสัตว์ควบคุมปริมาณก๊าซออกซิเจนในบรรยากาศไม่ให้มากเกินไป สายพันธุ์ของ มนุษย์ (Homo) เพิ่ง แยกออกมาจากสายพันธุ์ของลิงเมื่อ 3 ล้านปีก่อน สปีชีส์โฮโมเซเปียนส์ (Homo sapiens) ของมนุษย์ในปัจจุบัน เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 2 แสนปีก่อนนี้ ความหลากหลายทางชนิด พัน ธุ์ (Species Diversity) ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ หรือ ความหลากหลายของสปีชีส์จำานวน จุลินทรีย์ในโลกนี้มี อยู่ ประมาณ 5 แสนชนิด แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 5 กลุ่ม คือ  แบคทีเรีย  สาหร่าย  ไวรัส  โปรโตซัว  รา แบคทีเ รีย
  • 3. แบคทีเ รีย เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปพบทั่วไปทุกแห่งหนในนำ้า บนบก อากาศ มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองด้วยตาเปล่า ต้องส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จัดอยู่ ในกลุ่มโปรคาริโอต (procaryote) คือ เป็นสิ่งมีชีวิตเชลล์เดียว มีผนังเชลล์ที่ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโน มีลักษณะเหมือนร่างแหห่อหุ้มของเหลว (protoplasm) อยู่ ภายใน นิวเคลียส (nucleus) ของแบคทีเรียมีลักษณะของสายDNA คู่ขดเป็นวงกลมโดยไม่มี ผนังห่อหุ้ม DNA ไว้ สาหร่า ย สาหร่าย หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในกลุ่มยูคาริโอต ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวเนื่องจากมีสารพวก คลอโรฟิลล์ที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง มีทั้งที่ เป็นเซลลล์เดียวที่อยู่กันเป็นกลุ่ม หรือเป็นสาย จนถึงมีลักษณะโครงสร้างที่ซับซ้อน สาหร่าย แต่ละชนิดจะมีสารประกอบภายในเซลล์ อวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนที่ รวมไปถึงอวัยวะที่ใช้ใน การสืบพันธุ์ที่แตกต่างกัน แบ่งออกเป็น 7 ดิวิชั่น 1. ดิวิชันคลอโรไฟตา (CHLOROPHYTA) 2. ดิวิชันยูกลีโนไฟตา (DIVISION EUGLENOPHYTA) 3. ดิวิชันแคโรไฟตา (DIVISION CHAROPHYTA) 4. ดิวิชันฟีโอไฟตา (DIVISION PHAEOPHYTA) 5. ดิวิชันคริสโซไฟตา (DIVISION CHRYSOPHYTA) 6. ดิวิชันไพร์โรไฟตา (DIVISION PYRROPHYTA) 7. ดิวิชันโรโดไฟตา (DIVISION RHODOPHYTA) ไวรัส ไวรัส คือ จุลินทรีย์ที่สามาถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infections agents) ทั้งในมนุษย์ สัตว์ พืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆหลายชนิดทำาให้เกิดโรคที่มีความสาคัญมากทั้งในทางการแพทย์และทาง เศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอาศัยอยู่ในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (Obligate intracellular parasite) อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไว รอยด์ (Viroid) และ พริออน (Prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่างซึ่งค้นพบ โดย มาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ. 1899 โปรโตซัว เป็นสัตว์ซึ่งมีความสามารถสูงและคุณสมบัติในการดำารงชีพเหมือนสัตว์หลายเซลล์ โดยมีระบบ ต่างๆ ภายในตัวเองอย่างสมบูรณ์ เช่น การสืบพันธ์ุุการย่อยอาหาร การหายใจ และการขับ ถ่ายโปรโตซัวมีมากกว่า 3 หมื่นชนิด ประมาณเกือบ 1 หมื่นชนิดเป็นปรสิตของสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลังและสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังรวมทั้งมนุษย์ การดำารงชีพแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะที่ อาศัย คือพวกที่อาศัยอย่อู ย่างอิสระ (free living protozoa) และพวกที่ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิต อื่นร่วมด้วย (symbyosis) อาจจะเป็นแบบ commensalisms หรือParasitism แบ่ง ออก เป็น 4 ไฟลัม 1. ไฟลัมแมสติโกฟอรา หรือแฟลกเจลลาตา (Phylum Mastigophora หรือ Flagellata) 2. ไฟลัมซาโคดินา หรือ ไรโซโปดา (Phylum Sarcodina หรือ Rhizopoda) 3. ไฟลัมซีลีเอตา (Phylum Ciliata) 4. ไฟลัมสปอโรซัว (Phylum Sporozoa) เชื้อ รา ราจัดเป็นจุลินทรีย์ในอาณาจักรฟังไจ (Fungi) มีหน้าที่และบทบาทที่สำาคัญในธรรมชาติ คือ เป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุเพื่อนำาแร่ธาตุต่างๆกลับคืนสู่ธรรมชาติจึงแบ่งราเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. ราชนิดเซลล์เดียว เรียกว่า Yeast 2. ราสายนั้นมีชื่อเรียกว่า Mold หรือ Mould ซึ่งเป็นราหลายเซลล์
  • 4. ราไม่มีคลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) จึงไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดังนั้นราจึงดำารงชีวิตโดย การย่อยสลายและดูดซึมสารอาหารจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายแล้ว(Saprobes) ในขณะที่รา บางกลุ่มดำารงชีพโดยการเกาะกินสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ (Parasites) และราบางชนิดก็ ก่อให้เกิดโรคได้ทั้งโรคในคนสัตว์และพืช (Pathogen)นักราวิทยาได้ประมาณความหลาก หลายของเชื้อราในโลกซึ่งคาดว่ามีประมาณ 1.5 ล้านสายพันธุ์(Species) โดยทั้งหมดนี้มีเเค่ เพียงประมาณ 73,000 สายพันธุ์ที่มีการจำาเเนก (Identification )ไปเเล้วเท่านั้น ดังนั้นจาก ข้อมูลที่เรารู้จักคิดเป็น 10 % ของราทั้งหมดที่คาดจะมีอยู่ในโลกทั้งหมดเท่านั้น โดย 10 % ดัง กล่าวเราได้นำามาใช้ประโยชน์ เช่น ใช้ราบางชนิดมาผลิต อาหาร เช่น ซีอิ้ว เต้าเจียว เนยแข็ง ยาปฏิชีวนะต่าง ๆ และ บางชนิดที่เรารู้จักดี คือ ถั่งเช่า หรือ (ตังถั่งแห่เช่า/ ตังถั่งเช่า) มีชื่อทาง วิทยาศาสตร์ว่า Cordyceps sinensis ถั่งเช่า เป็นราทำาลายแมลงที่ใช้เป็นยาสมุนไพรที่แพร่ หลายมากในประเทศจีนและชาวเอเชีย และเห็ดราอีกตัว คือ เห็ดหลินจือมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Ganoderma lucidum เห็ดหลินจือเป็นยาจีน (Chinese traditional medicine mushroom) ที่ ใช้กันมานานมากกว่าหลายพันปี พบสารสำาคัญที่มีฤทธิ์ในการรักษาโรคต่างๆ มากมายและใน ขณะเดียวกัน ก็มีราที่เกิดโทษด้วย เช่น ทำา ให้อาหารเสีย อาหารมีสีและกลิ่นผิดปกติ บางชนิดสร้างสารพิษในอาหาร บางชนิดเป็นศัตรูต่อ พืช บางชนิดก่อให้เกิดโรคทั้งในคนและ สัตว์ราเกือบทุกชนิดเจริญได้ดีในสภาวะเป็นกรด เมื่อราเจริญเติบโตจะมีลักษณะเป็นปุยคล้าย สำาลี และมีสีต่างๆ ตามอาหารที่ มันเจริญเติบโต รา บางชนิดสามารถสร้างพิษ (Mycotoxin) ในอาหารที่มันเจริญอยู่ เมื่อ มนุษย์หรือสัตว์รับประทานเข้าไป ก็อาจทำาให้เกิด โรค สารพิษในรา ก็จะทำาลายเซลล์ของ ตับ ไต และไขกระดูกได้หรือถ้ารับประทานสารพิษจาก เชื้อรา เช่น อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) ก็อาจทำาให้เซลล์ของตับตาย และก่อให้เกิดมะเร็งตับ ได้ราบางชนิดเมื่อรับประทานเข้าไปไม่ก่อให้เกิดอันตราย แต่ทำาให้เกิดโรคเมื่อสัมผัสทาง ผิวหนัง เช่น โรคกลาก เกลื้อน เป็นต้น การจัด หมวดหมูข องรา ่ ในปัจจุบันใช้การสร้างสปอร์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 4 ไฟลัม ได้แก่ 1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) สร้างไซโกสปอร์ 2. ไฟลัมแอสโคไมโค ตา (Phylum Ascomycota) สร้างแอสโคสปอร์ 3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota) สร้างเบสิดิโอสปอร์ 4. ไฟลัมดิวเทอ โรไมโคตา (Phylum Deuteromycota) หรือเรียกว่า Fungiimperfecti สร้างสปอร์ไม่ ทราบว่าชนิดใดเนื่องจากนิวเคลียสของสปอร์ หลอมรวมกัน