SlideShare a Scribd company logo
ที่มาของเรื่องอิเหนา 
ที่มาของเรื่อง อิเหนา เป็นบทละคร พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ 
หล้านภาลัย พระราชนิพนธ์เรื่องนีไ้ด้รับการยกยอ่งจากวรรณคดีสโมสรในรัชกาลที่ ๖ ว่า 
เป็นยอดแห่งกลอนบทละคร ในการทรงพระราชนิพนธ์นัน้ตอนที่ไม่ทรงพระราชนิพนธ์เอง ก็ 
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กวีในราชสานักรับไปแต่งคนละตอน เสร็จแล้วนามาอ่าน 
ถวายหน้าพระที่นั่ง เพื่อให้ที่ประชุมกวีพิจารณาแก้ไขร่วมกัน 
นอกจากนียั้งพระราชทานต้นฉบับให้ผู้เชี่ยวชาญทางนาฏศิลป์นาไปลองซ้อมประดิษฐ์ท่า 
ราให้เข้ากับบทพระรานิพนธ์ บทใดราขัดเขินก็ทรงแก้ไขให้เข้ากับกระบวนการรา พระราช 
นิพนธ์บทละครเรื่องนีจึ้งมีความสมบูรณ์ดีเด่นทัง้ใจความ กระบวนกลอน และกระบวน 
สาหรับเล่นละคร มีความไพเราะสะเทือนอารมณ์และก่อให้เกิดจินตนาการอัน 
ลึกซึง้ถึงแม้มิได้แสดงคติทางโลกและทางธรรมโดยตรงแต่แฝงความจริงของชีวิตไว้หลาย 
มุม นอกจากนียั้งสะท้อนให้สภาพสังคมบางประการสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ตอนที่ 
นามาเป็นบทเรียนนี้แทรกความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างเมือง การจัดทัพ การตัง้ 
ค่าย การรบและการต่อสู้ระหว่างแม่ทัพนายกองต่อตัว
เรื่องอิเหนามีต้นเค้ามาจากชวา ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เรื่อง 
อิเหนาเป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ชวา กล่าวถึงพระเจ้าไอรลังคะ กษัตริย์ชวา มี 
ความเข้มแข็ง สามารถครองเมืองนครตาฮา ราว พ.ศ.๑๕๖๒ ก่อนสนิ้พระชนม์ได้แบ่ง 
อาณาจักรออกเป็น ๒ แคว้น ผู้ปกครองแคว้นหนงึ่มีราชโอรสชื่อ อิเหนา ผู้ปกครอง 
แคว้นหนงึ่มีธิดาชื่อ บุษบา ต่อมาอิเหนาและบุษบาได้สมรสกัน แคว้นทัง้ ๒ จึงกลับมา 
รวมกันเช่นเดิม อิเหนามีอนุภาพมาก ได้ปราบปรามแคว้นต่างๆ มากมายไว้ใน 
อานาจ เชือ้วงศ์ของอิเหนา ซงึ่ครองราชย์ต่อมาเกิดการชิงอานาจ อาณาจักร 
แตกแยก และเสื่อมอานาจลง ประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐ อาณาจักรชวาตกเป็นของอินเดีย 
แล้วเปลี่ยนเป็นโปรตุเกสและฮอลันดา จนสนิ้สงครามโลกครัง้ที่ ๒ ประชาชนในหมู่เกาะ 
อินโดนีเซียจึงได้รับเอกราชตัง้ประเทศอินโดนีเซียจึงได้รับเอกราชตัง้ประเทศอินโดนีเซียขึน้
การแพร่หลายของอิเหนา 
เรื่องอิเหนาแพร่มาในไทยผ่านมลายู ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เจ้าฟ้ากุณฑล 
และเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา ได้ทรงฟังเรื่องอิเหนา ซงึ่พระพี่เลยี้งชาวปัตตานีเล่าให้ฟัง 
ต่างทรงนิพนธ์เป็นบทละคร พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้ากุณฑลได้ชื่อว่า ดาหลัง หรือ อิเหนา 
ใหญ่ พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้ามงกุฎ ชื่อว่า อิเหนา หรืออิเหนาเล็ก พระนิพนธ์เรื่องอิเหนา 
ของรัชกาลที่๒ ดาเนินตามอิเหนาเล็กของเจ้าฟ้ามงกุฎ 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระราชโฮรสใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระ 
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัคร 
มเหสีเมื่อวันที่ ๒๔ กุมพาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ขณะพระราชบิดา
ทรงดารงตาแหน่งหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี 
ได้ทรงศึกษาอักขรสมัยอย่างดีเยี่ยม เมื่อได้ราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๓๕๒ ได้ทรงบารุง 
บ้านเมืองสืบต่อจากพระราบิดา เนื่องจากสมัยนัน้เป็นช่วงที่ศึกเบาบาง ประกอบกับ 
พระองค์มีพระอัจฉริยะทางศิลปะแทบทุกสาขา โดยเฉพาะวรรณคดีและนาฏศิลป์ จึงได้ 
ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร และบทกวีต่างๆอันมีค่าไว้มาก และได้สวรรคตเมื่อ พ.ศ. 
๒๓๖๗
เรื่องย่อ 
ทำนองแต่ง แต่งด้วยกลอนบทละคร 
ควำมมุ่งหมำย ใช้เป็นบทละครใน 
เรื่องย่อ ตอนที่กษัตริย์วงศ์อสัญหยา หรือวงศ์เทวา ๔ องค์ ประสูติ พระราชบิดามารดา 
เดียว ทรงพระนามตามชื่อเมืองที่ปกครอง คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัด 
สาหรีกษัตริย์แต่ละองค์มีมเหสี ๕ องค์เรียงลา ดับตามตา แหน่ง คือ ประไหมสุหรี 
มะเดหวีมะโต ลิกู และเหมาหลาหงีนอกจากนี้ยังมีเมืองหมันหยา ซึ่งระตเูมืองมี 
พระธิดาประสูติแต่ประไหมสุหรี๓ องค์ ท้าวกุเรปันได้ธิดาองค์ใหญ่ และท้าวดาหาได้ 
ธิดาองค์รองเป็นประไหมสุหรี ส่วนธิดาองค์เล็กเป็นประไหมสุหรีของโอรสท้าวมัง 
กัน ต่อมาเป็นระตูเมืองหมันหยาสืบแทนระตูองค์ก่อน
ท้าวกุเรปันได้โอรสแต่ประไหมสุหรี องค์ปะตาระกาหลาต้นวงศ์เทวา ซึ่งประทับบนสวรรค์ 
ได้เสด็จมาประทานกริชวิเศษให้พระกุมารได้พระนามตามคาจารึกที่กรว่า อิเหนา ระตู 
หมันหยาได้ระธิดาประสูติ แต่ประไหมสุหรีทรงนามว่า จินตะหราวาตีท้าวดาหาได้ธิดา 
แต่ประไหมสุหรีนามว่า บุษบา ตามนิมิตอัศจรรย์ที่บังเกิดกลิ่นดอกไม้หอมก่อน 
ประสูติท้าวกุเรปันได้ขอหมัน้นางบุษบาให้แก่อิเหนาตัง้แต่เยาว์ ตามราชประเพณีที่ 
กษัตริย์ราชวงศ์เทวา ต้องอภิเษกระหว่างเชือ้วงศ์เดียวกัน
เมื่ออิเหนามีอายุ ๑๕ ปี ได้ไปร่วมงานศพอัยยิกาที่เมืองหมันหยาได้หลงรักนางจินตะ 
หรา ไม่ยอมเข้าพิธีอภิเษกกับนางบุษบาคู่หมัน้เมื่อถูกพระบิดาบีบบังคับก็ถือโอกาส 
ออกจากเมืองกุเรปันปลอมเป็นปันหยี(โจรป่า) กลับไปเมืองหมันลอบเหยา ระหว่างทาง 
ได้นางสการะวาตี นางมาหยารัศมี และนางสังคามาระตา ธิดาและโอรสระตูปัญจรา 
กันและระตูปักมาหงัน้สองพี่น้อง ต่อมาอิเหนาได้สองนางเป็นชายา และรับสังคามาระไว้ 
เป็นอนุชา อิเหนาลอบเข้าหานางจินตะหราแล้วได้นางเป็นชายา 
ท้าวกุเรปันมีรับสงั่ให้อิเหนากลับจากเมืองหมันหยาถึงสองครัง้เพื่อเข้าวิวาห์กับ 
นางบุษบา แต่อิเหนาปฏิเสธ ท้าวดาหาขัดเคืองพระทัยมากจึงประกาศยกนางบุษบา 
ให้แก่ใครก็ตามที่มาสู่ขอ
ฝ่ายระตูจรกา อยากมีคู่ได้ให้ช่างเขียนไปวาดภาพธิดาเมืองต่างๆ ช่างเขียนไปลอบวาด 
ภาพนางจินดาส่าหรีธิดาของท้าวสิงหัดส่าหรี และวาดภาพนางบุษบา ๒ 
ภาพ ปะตาระกาหลาพิโรธอิเหนาจึงลอบนาภาพนางบุษบาไปภาพหนึ่ง เมื่อระตูจรกาเห็น 
ภาพนางบุษบาก็หลงใหลขอร้องระตูล่าสาพี่ชายให้ไปสู่ขอ ท้าวดาหาก็ทรงยกให้ 
ปะตาระกาหลานาภาพนางบุษบาที่ได้ไปไว้ใต้ต้นไทร วิหยาสะกาโอรสท้าวกะหมังกุหนิง 
ออกเที่ยวป่าพบภาพนางบุษบาก็ล่มหลงคลงั่ไคล้ใคร่ได้นาง ท้าวกะหมังกุหนิงเห็นใจจึง 
แต่งทูตนาราชสาส์นและบรรณาการไปสู่ขอนางบุษบาพร้อมกับเตรียมกองทัพไว้รบ หาก 
การสู่ของนางไม่สาเร็จ ท้าวกะหมังกุหนิงบอกไปยังระตูปาหยังและระตูประหมันน้องชายทัง้ 
บรรดาหัวเมืองขึน้ทัง้ปวงให้จัดทัพมาช่วย
ลักษณะของตัวละคร 
1.ท้าวกะหมังกุหนิง 
1.1 มีความเด็ดเดี่ยว ไม่ยอมฟังเหตุผลและเปลี่ยนแปลงความคิดง่ายๆ 
ตัง้ใจจะทาศึกเพื่อชิงนางบุษบาให้แก่วิหยาสะกาโอรส ไม่ยอมเลิกล้มความตัง้ใจ 
น้องชายจะยกเหตุผลมาแวดล้อมต่างๆ มาชีแ้จงว่าไม่สมควร อีกทัง้ไม่ฟังคาทัดทานข 
องโหร ที่ว่าชะตากาลังร้ายให้งดยกทัพไว้ 7 วัน 
1.2 รักลูกยิ่งชีวิต ยอมตายเพื่อลูกได้ 
1.3 มีความกล้าหาญยอมตายในการสู้รบ เมื่อทราบว่าเมืองเทวาทัง้3 และ 
เมืองจรกา ยกทัพมาช่วยเมืองดาหาก็ไม่เกรงกลัว เร่งสงั่รบทันที
1.4 มีฝีมือในการต่อสู้ป้องกันตัวในการใช้อาวุธต่างๆและอยู่ยงคงกระพัน การที่ 
ต้องเสียที่แกอิเหนาเพราะใช้กริซวิเศษที่ประตาระกาหลาประทานเป็นอาวุธ 
1.5 ขาดวิจารณญาณในการคาดคะเนการศึก มีความแน่ใจว่าอิเหนาจะ 
ไม่ยกทัพมาช่วยป้องกันเมืองดาหาและมีความมนั่ใจจะได้ต่อสู้กับระตูจรกาและ 
ระตูล่าสาซึ่งด้อยฝีมือกว่าตน
2. ท้ำวดำหำ 
2.1มีขัตติยมานะ เมื่ออิเหนาไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา พระองค์เห็นว่าเป็นการดูหมิ่น 
จึงประกาศยกบุษบาให้แก่ชายใดก็ตามมาสู่ขอเป็นรายแรกเพื่อประชดอิเหนา เมื่อทราบว่า 
ข่าวศึกได้ส่งข่าวไปขอความช่วยเหลือแก่กษัตริย์พี่น้องทั้ง 3 ตั้งใจไว่ว่าหากไม่มีใครช่วยก็ 
รบศึกตามลา พัง 
2.2รักษาคา สัตย์เมื่อรับหมั้นนางบุษบากับจรกาแล้ว ต่อมาท้าวกะหมังกหุนิงส่ง 
ทูตมาขอบุษบาแก่วิหยาสะกา พระองค์ก็ปฏิเสธพร้อมไม่รับบรรณาการ 
2.3มีความสามารถในการปกครอง ป้องกันบ้านเมือง เมื่อทราบข่าวศึกได้ส่งข่าว 
พร้อมกับขอกา ลังรบจากกษัตริย์พี่น้องทั้งสาม จรกาและบรรดาเมืองขึ้น พร้อมทั้งสั่งให้ 
เตรียมการตกแต่งค่ายคูหอรบจัดทัพตั้งรับข้าศึก
2.4รู้จักให้อภัย ถึงพระองค์มีความเคืองอิเหนา แต่เมื่อทราบว่าอิเหนายกทัพมา 
ช่วย ก็คลายความขุ่นเคือง เชิญอิเหนาให้นาทัพเข้ามาพักในเมืองดาหา 
2.5ระงับความรู้ศึกได้เมื่อทรายว่า อิเหนามาช่วยรบ ถึงพระองค์มีความ 
ยินดียิ่งแต่ก็ไม่แสดงออกนอกหน้า
3.ท้าวกุเรปัน 
3.1มีความเที่ยงธรรม เห็นว่าการที่ศึกมาติดเมืองดาหาเป็นเพราะอิเหนาฌอรสของ 
พระองค์เป็นต้นเหตุร่วมกับระตูหมันหยา จึงมีราชสาส์นไปต่อว่าและสงั่การให้ทัง้สองไป 
ช่วยเมืองดาหาเพื่อชดเชยความผิด 
3.2มีความเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว สงั่การให้อิเหนาและระตูหมัยหยาไปช่วยเมืองดาหาถ้า 
ขัดขืนก้จะตัดพ่อลูกกับอิเหนา และตัดญาติกับระตูหมันหยา 
3.3รักชื่อเสี่ยงของวงศ์เทวา เมื่อทราบว่าเมืองดาหาม่ศึกก้สงั่การไปช่วยรบ เพราะเห็น 
ว่าถ้าเมืองดาหาเท่ากับวงศ์เทวาเสียหายไปด้วย
4.อิเหนา 
4.1มีความรู้สึกรุนแรงในความรัก เมื่อได้พบนางจินตะหรา มีรูปร่างสวยงามก็ 
คลงั่ไคล้หลงใหลจนไม่ยอมเข้าพิธีอภิเษกกับนางบุษบาคู่หมัน้ โดยมิฟังคาเตือนของท้าว 
กุเราปันบิดา ต่อมาได้นางสกาวะราตีและนางมาหยารัศมีก็มีความรักใคร่ผกูพันธ์นางทัง้ 
2 เป็นอันมาก ก่อนจากไปเมืองดาหาได้ฝากทัง้ 2 ไว้กับนางจินตหรา ระหว่างที่เคลื่อน 
ทัพไปยังเมืองดาหาก็คร่าครวญถึงนางทัง้ 3 ตลอดทาง 
4.2มีความเคารพยาเกรงบิดา เมื่อท้าวกุเรปันมีราชสาส์นสงั่ให้นาทัพไปช่วย 
ท้าวดาหา ถ้าไม่ไปจะตัดพ่อลูก อิเหนาก็ตกลงไปเกรงกลัวท้าวกุเรปันดดยขอผัดไป 7 วัน 
ล่วงแล้ว แต่ในที่สุดก็ยอมเคลื่อนทัพในวันรุ่งขึน้ 
4.3เห็นแก่ชื่อเสียงของวงศ์อสัญหยา การที่อิเหนายอมยกทัพไปช่วยเมืองดาหา 
นอกจากเกรงและเคารพแล้ว อิเหนามีความเห็นแก่ชื่อเสียงของวงศ์อสัญหยาด้วย
4.4มีความสานึกในความผิด เมื่ออิเหนายกทัพถึงเมืองดาหา ท้าวดาหาก็เชิญให้นาไพร่ 
พลเข้ามาในเมือง อิเหนาสานึกในความผิดไม่ขอรับพระกรุณษ อาสาทาศึกเพื่อไถ่โทษ 
แล้วจะเข้ามาเฝ้าถวายความเคารพภายหลัง 
4.5มีความรอบคอบไม่ประมาท อิเหนาเห็นว่าสังคามาระตาชานาญการรบด้วย 
ทวนมากกว่ากระบี่จึงเตือนให้ต่อสู้กับวิหยาสะกาด้วยทวนอย่าใช้กระบี่เป็นอันขาด ผล 
สุดท้ายก็ชนะ 
4.6มีความเมตตากรุณาให้อภัยโทษแก่ศัตรูที่ยอมสวามิภักดิ์ เมื่อระตูประหมัน 
และระตูปาหยังขอนอบน้อมยอมเป็นข้า อิเหนาก็ไว้ชีวิต และอนุญาติให้นาศพท้าวกะห 
มังกุหนิงและวิหยาสะกาไปประกอบพิธีในเมือง
5.นางจินตะหรา 
5.1เป็นคนมีเหตุผล เมื่อนางแน่ใจว่าอิเหนาต้องไม่เมืองดาหาแน่โดยจาเป็น 
เพราะขัดรับสงั่ของท้าวกุเรปันไม่ได้และเพื่อปกป้องชื่อเสี่ยงของวงศ์เทวาด้วย นางก็ 
คลายความทุกข์ฌศกและความระแวงใจยอมให้อิเหนาจากไปแต่โดยดี 
5.2มีนา้ใจกว้างขวาง มีความเอือ้เฟื้อเผื่อแผ่แก่หยิงอื่นคูครองอื่นๆขิงสามีเมื่อ 
อิเหนาขอให้นางยอมรับนางสการะวาตีและนางมาหยารัศมี ซึ่งอิเหนาได้มาจากเมืองปัก 
มาหงัน นางก็ยอมตามแต่โดยดี และแสดงความเมตตารักใคร่นางทัง้สิงโดยมิได้รังเกียจ
6.นางบุษบา 
รูปร่างสวยงดงาม เกิดมาบังเกิดกลนิ่หอมดอกไม้ก่อนประสูติ ไปหมัน้กับ 
อิเหนา แต่เมื่อโตขึน้อิเหนากลับไม่สมรส เพราะไปหลงรักนางจินตะหรา ท้าวดาหาจึง 
ประกาศยกนางให้ชายใดที่มาสู่ขอนางก่อน จนทาให้เกิดศึกสงครามกัน
7.องค์ปะตาระกาหลา 
เป็นเทวดาประจาวงศ์อสัญหยา ได้แก่ เมืองกุเรปัน เมืองดาหา เมืองกาหลัง 
และสิงหัดสาหรีซงึ่เป็นผู้มอบกริชประจากายให้แก่อิเหนา
8.วิหยาสะกา 
เป็นโอรสของท้าวกะหมังกุหนิง ได้พบภาพวาดของนางบุษบาจึงหลงรักคลั่ง 
ใคล้จึงไปของให้บิดาไปสู่ของ แต่เมื่อส่งทูตไปสู่ของก็ถูกท้าวดาหาปฏิเสธ จึงทาให้เกิด 
ศึกขึน้
อิเหนา

More Related Content

What's hot

จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
Panomporn Chinchana
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
บทละครวันภาษาไทย
บทละครวันภาษาไทยบทละครวันภาษาไทย
บทละครวันภาษาไทย
PT Protae
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
Patzuri Orz
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
Nattha-aoy Unchai
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
krunoree.wordpress.com
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
พัน พัน
 

What's hot (20)

จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
บทละครวันภาษาไทย
บทละครวันภาษาไทยบทละครวันภาษาไทย
บทละครวันภาษาไทย
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Similar to อิเหนา

มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธาkrudow14
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

Similar to อิเหนา (10)

อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
มหาชาติ
มหาชาติมหาชาติ
มหาชาติ
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธา
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

อิเหนา

  • 1.
  • 2.
  • 3. ที่มาของเรื่องอิเหนา ที่มาของเรื่อง อิเหนา เป็นบทละคร พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย พระราชนิพนธ์เรื่องนีไ้ด้รับการยกยอ่งจากวรรณคดีสโมสรในรัชกาลที่ ๖ ว่า เป็นยอดแห่งกลอนบทละคร ในการทรงพระราชนิพนธ์นัน้ตอนที่ไม่ทรงพระราชนิพนธ์เอง ก็ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กวีในราชสานักรับไปแต่งคนละตอน เสร็จแล้วนามาอ่าน ถวายหน้าพระที่นั่ง เพื่อให้ที่ประชุมกวีพิจารณาแก้ไขร่วมกัน นอกจากนียั้งพระราชทานต้นฉบับให้ผู้เชี่ยวชาญทางนาฏศิลป์นาไปลองซ้อมประดิษฐ์ท่า ราให้เข้ากับบทพระรานิพนธ์ บทใดราขัดเขินก็ทรงแก้ไขให้เข้ากับกระบวนการรา พระราช นิพนธ์บทละครเรื่องนีจึ้งมีความสมบูรณ์ดีเด่นทัง้ใจความ กระบวนกลอน และกระบวน สาหรับเล่นละคร มีความไพเราะสะเทือนอารมณ์และก่อให้เกิดจินตนาการอัน ลึกซึง้ถึงแม้มิได้แสดงคติทางโลกและทางธรรมโดยตรงแต่แฝงความจริงของชีวิตไว้หลาย มุม นอกจากนียั้งสะท้อนให้สภาพสังคมบางประการสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ตอนที่ นามาเป็นบทเรียนนี้แทรกความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างเมือง การจัดทัพ การตัง้ ค่าย การรบและการต่อสู้ระหว่างแม่ทัพนายกองต่อตัว
  • 4. เรื่องอิเหนามีต้นเค้ามาจากชวา ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เรื่อง อิเหนาเป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ชวา กล่าวถึงพระเจ้าไอรลังคะ กษัตริย์ชวา มี ความเข้มแข็ง สามารถครองเมืองนครตาฮา ราว พ.ศ.๑๕๖๒ ก่อนสนิ้พระชนม์ได้แบ่ง อาณาจักรออกเป็น ๒ แคว้น ผู้ปกครองแคว้นหนงึ่มีราชโอรสชื่อ อิเหนา ผู้ปกครอง แคว้นหนงึ่มีธิดาชื่อ บุษบา ต่อมาอิเหนาและบุษบาได้สมรสกัน แคว้นทัง้ ๒ จึงกลับมา รวมกันเช่นเดิม อิเหนามีอนุภาพมาก ได้ปราบปรามแคว้นต่างๆ มากมายไว้ใน อานาจ เชือ้วงศ์ของอิเหนา ซงึ่ครองราชย์ต่อมาเกิดการชิงอานาจ อาณาจักร แตกแยก และเสื่อมอานาจลง ประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐ อาณาจักรชวาตกเป็นของอินเดีย แล้วเปลี่ยนเป็นโปรตุเกสและฮอลันดา จนสนิ้สงครามโลกครัง้ที่ ๒ ประชาชนในหมู่เกาะ อินโดนีเซียจึงได้รับเอกราชตัง้ประเทศอินโดนีเซียจึงได้รับเอกราชตัง้ประเทศอินโดนีเซียขึน้
  • 5.
  • 6. การแพร่หลายของอิเหนา เรื่องอิเหนาแพร่มาในไทยผ่านมลายู ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เจ้าฟ้ากุณฑล และเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา ได้ทรงฟังเรื่องอิเหนา ซงึ่พระพี่เลยี้งชาวปัตตานีเล่าให้ฟัง ต่างทรงนิพนธ์เป็นบทละคร พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้ากุณฑลได้ชื่อว่า ดาหลัง หรือ อิเหนา ใหญ่ พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้ามงกุฎ ชื่อว่า อิเหนา หรืออิเหนาเล็ก พระนิพนธ์เรื่องอิเหนา ของรัชกาลที่๒ ดาเนินตามอิเหนาเล็กของเจ้าฟ้ามงกุฎ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระราชโฮรสใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัคร มเหสีเมื่อวันที่ ๒๔ กุมพาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ขณะพระราชบิดา
  • 7. ทรงดารงตาแหน่งหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ได้ทรงศึกษาอักขรสมัยอย่างดีเยี่ยม เมื่อได้ราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๓๕๒ ได้ทรงบารุง บ้านเมืองสืบต่อจากพระราบิดา เนื่องจากสมัยนัน้เป็นช่วงที่ศึกเบาบาง ประกอบกับ พระองค์มีพระอัจฉริยะทางศิลปะแทบทุกสาขา โดยเฉพาะวรรณคดีและนาฏศิลป์ จึงได้ ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร และบทกวีต่างๆอันมีค่าไว้มาก และได้สวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗
  • 8. เรื่องย่อ ทำนองแต่ง แต่งด้วยกลอนบทละคร ควำมมุ่งหมำย ใช้เป็นบทละครใน เรื่องย่อ ตอนที่กษัตริย์วงศ์อสัญหยา หรือวงศ์เทวา ๔ องค์ ประสูติ พระราชบิดามารดา เดียว ทรงพระนามตามชื่อเมืองที่ปกครอง คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัด สาหรีกษัตริย์แต่ละองค์มีมเหสี ๕ องค์เรียงลา ดับตามตา แหน่ง คือ ประไหมสุหรี มะเดหวีมะโต ลิกู และเหมาหลาหงีนอกจากนี้ยังมีเมืองหมันหยา ซึ่งระตเูมืองมี พระธิดาประสูติแต่ประไหมสุหรี๓ องค์ ท้าวกุเรปันได้ธิดาองค์ใหญ่ และท้าวดาหาได้ ธิดาองค์รองเป็นประไหมสุหรี ส่วนธิดาองค์เล็กเป็นประไหมสุหรีของโอรสท้าวมัง กัน ต่อมาเป็นระตูเมืองหมันหยาสืบแทนระตูองค์ก่อน
  • 9. ท้าวกุเรปันได้โอรสแต่ประไหมสุหรี องค์ปะตาระกาหลาต้นวงศ์เทวา ซึ่งประทับบนสวรรค์ ได้เสด็จมาประทานกริชวิเศษให้พระกุมารได้พระนามตามคาจารึกที่กรว่า อิเหนา ระตู หมันหยาได้ระธิดาประสูติ แต่ประไหมสุหรีทรงนามว่า จินตะหราวาตีท้าวดาหาได้ธิดา แต่ประไหมสุหรีนามว่า บุษบา ตามนิมิตอัศจรรย์ที่บังเกิดกลิ่นดอกไม้หอมก่อน ประสูติท้าวกุเรปันได้ขอหมัน้นางบุษบาให้แก่อิเหนาตัง้แต่เยาว์ ตามราชประเพณีที่ กษัตริย์ราชวงศ์เทวา ต้องอภิเษกระหว่างเชือ้วงศ์เดียวกัน
  • 10. เมื่ออิเหนามีอายุ ๑๕ ปี ได้ไปร่วมงานศพอัยยิกาที่เมืองหมันหยาได้หลงรักนางจินตะ หรา ไม่ยอมเข้าพิธีอภิเษกกับนางบุษบาคู่หมัน้เมื่อถูกพระบิดาบีบบังคับก็ถือโอกาส ออกจากเมืองกุเรปันปลอมเป็นปันหยี(โจรป่า) กลับไปเมืองหมันลอบเหยา ระหว่างทาง ได้นางสการะวาตี นางมาหยารัศมี และนางสังคามาระตา ธิดาและโอรสระตูปัญจรา กันและระตูปักมาหงัน้สองพี่น้อง ต่อมาอิเหนาได้สองนางเป็นชายา และรับสังคามาระไว้ เป็นอนุชา อิเหนาลอบเข้าหานางจินตะหราแล้วได้นางเป็นชายา ท้าวกุเรปันมีรับสงั่ให้อิเหนากลับจากเมืองหมันหยาถึงสองครัง้เพื่อเข้าวิวาห์กับ นางบุษบา แต่อิเหนาปฏิเสธ ท้าวดาหาขัดเคืองพระทัยมากจึงประกาศยกนางบุษบา ให้แก่ใครก็ตามที่มาสู่ขอ
  • 11. ฝ่ายระตูจรกา อยากมีคู่ได้ให้ช่างเขียนไปวาดภาพธิดาเมืองต่างๆ ช่างเขียนไปลอบวาด ภาพนางจินดาส่าหรีธิดาของท้าวสิงหัดส่าหรี และวาดภาพนางบุษบา ๒ ภาพ ปะตาระกาหลาพิโรธอิเหนาจึงลอบนาภาพนางบุษบาไปภาพหนึ่ง เมื่อระตูจรกาเห็น ภาพนางบุษบาก็หลงใหลขอร้องระตูล่าสาพี่ชายให้ไปสู่ขอ ท้าวดาหาก็ทรงยกให้ ปะตาระกาหลานาภาพนางบุษบาที่ได้ไปไว้ใต้ต้นไทร วิหยาสะกาโอรสท้าวกะหมังกุหนิง ออกเที่ยวป่าพบภาพนางบุษบาก็ล่มหลงคลงั่ไคล้ใคร่ได้นาง ท้าวกะหมังกุหนิงเห็นใจจึง แต่งทูตนาราชสาส์นและบรรณาการไปสู่ขอนางบุษบาพร้อมกับเตรียมกองทัพไว้รบ หาก การสู่ของนางไม่สาเร็จ ท้าวกะหมังกุหนิงบอกไปยังระตูปาหยังและระตูประหมันน้องชายทัง้ บรรดาหัวเมืองขึน้ทัง้ปวงให้จัดทัพมาช่วย
  • 12. ลักษณะของตัวละคร 1.ท้าวกะหมังกุหนิง 1.1 มีความเด็ดเดี่ยว ไม่ยอมฟังเหตุผลและเปลี่ยนแปลงความคิดง่ายๆ ตัง้ใจจะทาศึกเพื่อชิงนางบุษบาให้แก่วิหยาสะกาโอรส ไม่ยอมเลิกล้มความตัง้ใจ น้องชายจะยกเหตุผลมาแวดล้อมต่างๆ มาชีแ้จงว่าไม่สมควร อีกทัง้ไม่ฟังคาทัดทานข องโหร ที่ว่าชะตากาลังร้ายให้งดยกทัพไว้ 7 วัน 1.2 รักลูกยิ่งชีวิต ยอมตายเพื่อลูกได้ 1.3 มีความกล้าหาญยอมตายในการสู้รบ เมื่อทราบว่าเมืองเทวาทัง้3 และ เมืองจรกา ยกทัพมาช่วยเมืองดาหาก็ไม่เกรงกลัว เร่งสงั่รบทันที
  • 13. 1.4 มีฝีมือในการต่อสู้ป้องกันตัวในการใช้อาวุธต่างๆและอยู่ยงคงกระพัน การที่ ต้องเสียที่แกอิเหนาเพราะใช้กริซวิเศษที่ประตาระกาหลาประทานเป็นอาวุธ 1.5 ขาดวิจารณญาณในการคาดคะเนการศึก มีความแน่ใจว่าอิเหนาจะ ไม่ยกทัพมาช่วยป้องกันเมืองดาหาและมีความมนั่ใจจะได้ต่อสู้กับระตูจรกาและ ระตูล่าสาซึ่งด้อยฝีมือกว่าตน
  • 14. 2. ท้ำวดำหำ 2.1มีขัตติยมานะ เมื่ออิเหนาไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา พระองค์เห็นว่าเป็นการดูหมิ่น จึงประกาศยกบุษบาให้แก่ชายใดก็ตามมาสู่ขอเป็นรายแรกเพื่อประชดอิเหนา เมื่อทราบว่า ข่าวศึกได้ส่งข่าวไปขอความช่วยเหลือแก่กษัตริย์พี่น้องทั้ง 3 ตั้งใจไว่ว่าหากไม่มีใครช่วยก็ รบศึกตามลา พัง 2.2รักษาคา สัตย์เมื่อรับหมั้นนางบุษบากับจรกาแล้ว ต่อมาท้าวกะหมังกหุนิงส่ง ทูตมาขอบุษบาแก่วิหยาสะกา พระองค์ก็ปฏิเสธพร้อมไม่รับบรรณาการ 2.3มีความสามารถในการปกครอง ป้องกันบ้านเมือง เมื่อทราบข่าวศึกได้ส่งข่าว พร้อมกับขอกา ลังรบจากกษัตริย์พี่น้องทั้งสาม จรกาและบรรดาเมืองขึ้น พร้อมทั้งสั่งให้ เตรียมการตกแต่งค่ายคูหอรบจัดทัพตั้งรับข้าศึก
  • 15. 2.4รู้จักให้อภัย ถึงพระองค์มีความเคืองอิเหนา แต่เมื่อทราบว่าอิเหนายกทัพมา ช่วย ก็คลายความขุ่นเคือง เชิญอิเหนาให้นาทัพเข้ามาพักในเมืองดาหา 2.5ระงับความรู้ศึกได้เมื่อทรายว่า อิเหนามาช่วยรบ ถึงพระองค์มีความ ยินดียิ่งแต่ก็ไม่แสดงออกนอกหน้า
  • 16. 3.ท้าวกุเรปัน 3.1มีความเที่ยงธรรม เห็นว่าการที่ศึกมาติดเมืองดาหาเป็นเพราะอิเหนาฌอรสของ พระองค์เป็นต้นเหตุร่วมกับระตูหมันหยา จึงมีราชสาส์นไปต่อว่าและสงั่การให้ทัง้สองไป ช่วยเมืองดาหาเพื่อชดเชยความผิด 3.2มีความเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว สงั่การให้อิเหนาและระตูหมัยหยาไปช่วยเมืองดาหาถ้า ขัดขืนก้จะตัดพ่อลูกกับอิเหนา และตัดญาติกับระตูหมันหยา 3.3รักชื่อเสี่ยงของวงศ์เทวา เมื่อทราบว่าเมืองดาหาม่ศึกก้สงั่การไปช่วยรบ เพราะเห็น ว่าถ้าเมืองดาหาเท่ากับวงศ์เทวาเสียหายไปด้วย
  • 17. 4.อิเหนา 4.1มีความรู้สึกรุนแรงในความรัก เมื่อได้พบนางจินตะหรา มีรูปร่างสวยงามก็ คลงั่ไคล้หลงใหลจนไม่ยอมเข้าพิธีอภิเษกกับนางบุษบาคู่หมัน้ โดยมิฟังคาเตือนของท้าว กุเราปันบิดา ต่อมาได้นางสกาวะราตีและนางมาหยารัศมีก็มีความรักใคร่ผกูพันธ์นางทัง้ 2 เป็นอันมาก ก่อนจากไปเมืองดาหาได้ฝากทัง้ 2 ไว้กับนางจินตหรา ระหว่างที่เคลื่อน ทัพไปยังเมืองดาหาก็คร่าครวญถึงนางทัง้ 3 ตลอดทาง 4.2มีความเคารพยาเกรงบิดา เมื่อท้าวกุเรปันมีราชสาส์นสงั่ให้นาทัพไปช่วย ท้าวดาหา ถ้าไม่ไปจะตัดพ่อลูก อิเหนาก็ตกลงไปเกรงกลัวท้าวกุเรปันดดยขอผัดไป 7 วัน ล่วงแล้ว แต่ในที่สุดก็ยอมเคลื่อนทัพในวันรุ่งขึน้ 4.3เห็นแก่ชื่อเสียงของวงศ์อสัญหยา การที่อิเหนายอมยกทัพไปช่วยเมืองดาหา นอกจากเกรงและเคารพแล้ว อิเหนามีความเห็นแก่ชื่อเสียงของวงศ์อสัญหยาด้วย
  • 18. 4.4มีความสานึกในความผิด เมื่ออิเหนายกทัพถึงเมืองดาหา ท้าวดาหาก็เชิญให้นาไพร่ พลเข้ามาในเมือง อิเหนาสานึกในความผิดไม่ขอรับพระกรุณษ อาสาทาศึกเพื่อไถ่โทษ แล้วจะเข้ามาเฝ้าถวายความเคารพภายหลัง 4.5มีความรอบคอบไม่ประมาท อิเหนาเห็นว่าสังคามาระตาชานาญการรบด้วย ทวนมากกว่ากระบี่จึงเตือนให้ต่อสู้กับวิหยาสะกาด้วยทวนอย่าใช้กระบี่เป็นอันขาด ผล สุดท้ายก็ชนะ 4.6มีความเมตตากรุณาให้อภัยโทษแก่ศัตรูที่ยอมสวามิภักดิ์ เมื่อระตูประหมัน และระตูปาหยังขอนอบน้อมยอมเป็นข้า อิเหนาก็ไว้ชีวิต และอนุญาติให้นาศพท้าวกะห มังกุหนิงและวิหยาสะกาไปประกอบพิธีในเมือง
  • 19. 5.นางจินตะหรา 5.1เป็นคนมีเหตุผล เมื่อนางแน่ใจว่าอิเหนาต้องไม่เมืองดาหาแน่โดยจาเป็น เพราะขัดรับสงั่ของท้าวกุเรปันไม่ได้และเพื่อปกป้องชื่อเสี่ยงของวงศ์เทวาด้วย นางก็ คลายความทุกข์ฌศกและความระแวงใจยอมให้อิเหนาจากไปแต่โดยดี 5.2มีนา้ใจกว้างขวาง มีความเอือ้เฟื้อเผื่อแผ่แก่หยิงอื่นคูครองอื่นๆขิงสามีเมื่อ อิเหนาขอให้นางยอมรับนางสการะวาตีและนางมาหยารัศมี ซึ่งอิเหนาได้มาจากเมืองปัก มาหงัน นางก็ยอมตามแต่โดยดี และแสดงความเมตตารักใคร่นางทัง้สิงโดยมิได้รังเกียจ
  • 20. 6.นางบุษบา รูปร่างสวยงดงาม เกิดมาบังเกิดกลนิ่หอมดอกไม้ก่อนประสูติ ไปหมัน้กับ อิเหนา แต่เมื่อโตขึน้อิเหนากลับไม่สมรส เพราะไปหลงรักนางจินตะหรา ท้าวดาหาจึง ประกาศยกนางให้ชายใดที่มาสู่ขอนางก่อน จนทาให้เกิดศึกสงครามกัน
  • 21. 7.องค์ปะตาระกาหลา เป็นเทวดาประจาวงศ์อสัญหยา ได้แก่ เมืองกุเรปัน เมืองดาหา เมืองกาหลัง และสิงหัดสาหรีซงึ่เป็นผู้มอบกริชประจากายให้แก่อิเหนา
  • 22. 8.วิหยาสะกา เป็นโอรสของท้าวกะหมังกุหนิง ได้พบภาพวาดของนางบุษบาจึงหลงรักคลั่ง ใคล้จึงไปของให้บิดาไปสู่ของ แต่เมื่อส่งทูตไปสู่ของก็ถูกท้าวดาหาปฏิเสธ จึงทาให้เกิด ศึกขึน้