SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาภาษาไทย ๙ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

                                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย          โรงเรียนละงูพิทยาคม

                                                 เรียบเรีบงโดย คุณครูโนรี หมีนหวัง
              ***************************************************************************

                                               วรรณคดีวิจักษณ์ เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย


ตอนที่ 1 เริมบทกวี
             ่
(ร่าย) กล่าวสดุดีที่ทรงมีชัยชนะในการทายุทธหัตถีต่อพระมหาอุปราชาว่าพระเกียรติเกริกไกรไปทั่วทุกหนทุกแห่ง ข้าศึกเกรงพระบรมเดชานุภาพไม่กล้า
เสี่ยงทาสงคราม จึงพากันยอมอ่อนน้อมเป็นเมืองขึ้น กรุงศรีอยุธยาเจริญรุงเรืองมีความสุขสาราญพรั่งพร้อมด้วยโภคสมบัติ พร้อม
                                                                       ่
สรรพด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารอันสมบูรณ์ บ้านเมืองมีแต่ความสงบปราศจากศึกสงคราม ข้าราชการ
ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายในก็พากันเฝ้าแหนอย่างพร้อมพรั่ง เหล่าทหารพล ช้าง ม้า อาวุธ ปืนไฟ ก็มีมากมาย ทั่วโลกล้วนสรรเสริญสดุดี
(โคลงสี่สุภาพ) บุญญานุภาพแห่งพระนเรศวรมหาราชกษัตริย์แห่งแผ่นดินสยาม ข้าศึกได้ยนพระเกียรติยศชื่อเสียง ก็พากันเกรงพระบรมเดชานุภาพ ฤทธิ์
                                                                                   ิ
ของพระองค์ดั่งพระรามที่ปราบยักษ์ก็ปานกัน เมื่อทาสงครามข้าศึกก็ต้องพ่ายแพ้ทกครั้ง
                                                                             ุ
ข้าศึกพินาศไปเหมือนทหารยักษ์ พระองค์ดั่งพระรามอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ ข้าศึกแม้ตั้งแสนก็ไม่อาจต่อสู้ฤทธิพระองค์ได้ พากันตกใจกลัวแล้วหนีไป
                                                                                                        ์
เสร็จศึกแล้วก็ขึ้นครองราชสมบัติ พระบารมีของพระองค์ทาให้บานเมืองร่มเย็นดุจแสงเดือนที่ส่องอยูบนท้องฟ้าทุกแห่งหนทั่วบ้านเมืองมีแต่ความสมบูรณ์
                                                              ้                              ่
ปราศจากความทุกข์ใดๆทั้งสิ้น จนเป็นที่แซ่ซ้องสรรเสริญทั่วไปทุกแหล่งหล้า
ตอนที่ 2 เหตุการณ์ทางเมืองมอญ
ฝ่ายนครรามัญ คือ หงสาวดี ทราบข่าวว่าพระมหาธรรมราชากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาถึงแก่พิราลัย พระราชโอรส คือ พระนเรศวรได้ขึ้นครองราชย์
สมบัติ จึงได้ประชุมหมูอามาตย์ปรึกษากันว่า กรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ บางทีโอรสทั้งสองพระองค์อาจจะวิวาทกันเพื่อแย่งชิงราชสมบัติ เรา
                       ่
ควรยกทัพไปดูลาดเลา ถ้าได้เปรียบก็จะได้รบแย่งชิงเอาบ้านเมืองเสีย ขุนนางทั้งหลายต่างก็เห็นชอบตามพระราชดาริ จึงรับสั่งให้พระมหาอุปราชาราช
โอรสจัดเตรียมทัพพร้อมด้วยทัพเมืองเชียงใหม่เป็นจานวนห้าแสนคนยกไปตีกรุงศรีอยุธยา พระมหาอุปราชากราบบังคมทูลว่าโหรทานายว่าพระองค์
เคราะห์รายชะตาถึงฆาต พระเจ้าหงสาวดีจึงตรัสเป็นเชิงประชดว่า “เจ้าอยุธยามีโอรสเก่งกล้าสามารถในการรบ ไม่ต้องให้พระบิดาใช้ แต่กลับต้องไม่ให้ทา
           ้
ศึกเสียอีก ถ้าเจ้าเกรงว่าเคราะห์รายก็อย่าไปรบเลย เอาผ้าสตรีมานุ่งเถอะจะได้หมดเคราะห์” พระมหาอุปราชาทรงอับอายขุนนางข้าราชการเป็นอันมาก
                                  ้
จึงเตรียมยกทัพโดยเกณฑ์จากหัวเมืองต่างๆรวมจานวนห้าแสนคนเตรียมยกทัพไปในเวลาเช้าตรู่วันรุงขึ้น แล้วเสด็จกลับตาหนักสั่งลาพระสนมทั้งหลาย
                                                                                               ่
ด้วยความอาวรณ์จนถึงรุงเช้า ยังไม่ทนสว่างก็แต่งองค์ทรงเครื่องเสร็จแล้วก็ไปเฝ้าพระราชบิดาเพื่อ ทูลลาไปราชสงคราม ณ กรุงศรีอยุธยา
                          ่          ั
พระเจ้าหงสาวดีก็พระราชทานพรให้ชนะศึกสยามในครั้งนี้ แล้วก็ทรงเตือนว่าสงครามนั้นมากด้วยกลอุบาย อย่าคิดอะไรตื้นๆ อย่าทะนงตน แล้วทรงชี้
เรื่องที่โบราณสั่งสอนไว้ที่เป็นประโยชน์ต่อการรบ คือ โอวาท 8 ประการ
1. อย่าเป็นคนหูเบา (จงพ่อย่ายินยล แต่ตื้น)
2. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจผู้อื่น (อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา)
3. รู้จักเอาใจทหารให้หึกเหิมอยูเ่ สมอ (เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยูนา)
                                                                  ่
4. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่ (อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้วขลาดเขลา)
5. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูปแบบ (หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน)
6. รู้หลักพิชัยสงคราม การตั้งค่าย (รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา)
7. รู้จักให้บาเหน็จความดีความชอบแก่แม่ทพนายกองที่เก่งกล้า
                                            ั
(หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล
อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน)
8. อย่าลดความเพียรหรืออย่าเกียจคร้าน (อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ)
ครั้งทรงรับโอวาทและคาประสาทพรแล้ว ก็กราบบังคมลามาที่เกยประทับบนหลังช้างพระที่นงพลายพัทธกอ ยกกองทัพออกจากพระนครผ่านโขลนทวาร
                                                                                      ั่
เสด็จพระราชดาเนินไปโดยทางสถลมารคทันที
ตอนที่ 3 พระมหาอุปราชายกทัพเข้าเมืองกาญจนบุรี
พระมหาอุปราชายกทัพมาถึงด่านเจดีย์สามองค์ (ซึ่งเป็นชายแดนระหว่างพม่ากับไทยในปัจจุบัน) ก็ผ่านด่านเจดีย์สามองค์เข้ามาในเขตสยามทันที และ
พระองค์ได้ทรงราพันถึงนางสนมว่า
(24) เสด็จมาลาพังพระองค์เดียวเปล่าเปลี่ยวใจและน่าเศร้านัก เมื่อทรงชมต้นไม้และดอกไม้ท่ทรงพบเห็นระหว่างทางก็ค่อยเบิกบานพระทัยขึ้นมาบ้าง แต่
                                                                                          ี
ก็ไม่วายคิดถึงนางสนมกานัลทั้งหลาย
(25) ทรงเห็นต้นสลัดไดทรงดาริว่าเหตุใดจึงต้องจากน้องมานอนป่า มาเพื่อทาสงครามกับข้าศึก เห็นต้นสละที่ต้องสละน้องมาเหมือนชื่อต้นไม้
เห็นต้นระกาที่ชื่อต้นไม้ช่างเหมือนอกพี่แท้ๆ
(26) ต้นสายหยุดเมื่อสายก็หมดกลิ่น แต่ใจพี่แม้ยามสายก็ไม่คลายรักน้อง กี่วันกี่คืนที่จากน้องพี่มีแต่ความทุกข์คิดถึงน้องทุกค่าเช้า ไม่รู้ว่าจะหยุดรักน้อง
ได้อย่างไร
(27) กองทัพมอญดูมืดฟ้ามัวดิน ทั้งกองทัพ ม้า ช้าง ถืออาวุธเป็นมันปลาบ เห็นธงปลิวไสวเต็มทองฟ้า
ฝ่ายเจ้าเมืองกาญจนบุรี จัดทหารไปสืบข่าวในเขตมอญ ทหารก็ลัดเลาะไปทางลาน้าแม่
กษัตริย์ เห็นกองทัพยกมาก็ตกใจ เห็นฉัตรห้าชั้นก็ทราบว่าเป็นพระมหาอุปราชายกทัพมา ก็รีบกลับมาแจ้งข่าวศึกให้เจ้าเมืองกาญจนบุรีทราบ เจ้าเมือง
ทราบข่าวศึกก็ตกใจมากจนขวัญไม่อยูกับตัว ปรึกษากันแล้วก็เห็นว่าเมืองเรามีกาลังน้อย ต่อสู้ก็คงสู้ไม่ได้จึงชวนกันหลบหนีเข้าป่าไป
                                        ่
ส่วนกองทัพพระมหาอุปราชาเร่งยกทัพมาถึงแม่น้าลากระเพิน ให้พระยาจิตตองทาสะพานไม้ไผ่ปูเพื่อยกพลเดินข้ามฝาก ชาวสยามเห็นชัดเช่นนั้นจึงมีสาร
ลงชื่อทุกคนรายงานเรื่องข้าศึกยกทัพเข้ามา แล้วให้ขุนแผน (นายด่าน) ขีม้าเร็วมาบอกพญามหาดไทย เพื่อกราบทูลเรื่องให้ทรงทราบ
                                                                       ่
กองทัพมอญยกทัพมาถึงเมืองกาญจนบุรีเห็นบ้านเมืองว่างเปล่า ไม่มผู้ใดออกสู้รบ จะจับคนไทยมาสอบถามก็ไม่มเี ลยสักคน จึงรู้ว่าคนไทยทราบข่าวและ
                                                                     ี
หลบหนีไปหมดแล้ว พระมหาอุปราชาจึงให้ยกทัพเข้าไปในเมือง แล้วยกทัพต่อไปถึงตาบลพนมทวนเกิดลมเวรัมภาพัดหอบเอาฉัตรหัก พระมหาอุปราชา
ตกพระทัย ทรงให้โหรทานาย โหรทราบถึงลางร้ายแต่ไม่กล้ากราบทูลตามความจริง กลับทานายว่า เหตุการณ์เช่นนี้ถ้าเกิดในตอนเช้าไม่ดี ถ้าเกิดใน
ตอนเย็นจะได้ลาภ และจะชนะศึกสยามในครั้งนี้
พระมหาอุปราชาได้ทรงฟังก็ทรงเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง พระองค์อดที่จะหวั่นในพระทัยไม่ได้ด้วยเกรงพ่ายแพ้ข้าศึก ด้วยความหมกมุนในพระทัยก็ทรงระลึกถึง
                                                                                                                           ่
พระราชบิดาว่าถ้าพระองค์เสียโอรสให้แกข้าศึก จะต้องโทมนัสใหญ่หลวง เพราะเปรียบเหมือนพระองค์ถูกตัดพระพาหาทั้งสองข้างทีเดียว
การรบกับพระนเรศวรใครก็ไม่อาจจะต่อสู้ได้ เสียดายแผ่นดินมอญจะต้องพินาศเพราะไม่มใี ครอาจจะต่อสู้ต้านทาน
สงสารสมเด็จพระราชบิดา ที่จะต้องเปล่าเปลี่ยวพระทัย ทั้งพระองค์ก็ทรงชราภาพมากแล้ว เกรงจะพ่ายแพ้เสียทีแก่ชาวสยาม
สงครามครั้งนี้หนักใจนัก เรารู้สึกหนาวเหน็บอยูใ่ นใจ ลูกตายใครจะเก็บผีไปให้ คงจะถูกทิ้งอยูไ่ ม่มใี ครเผา พระองค์จะอยูใ่ นพระนครแต่ลาพังพระองค์
เดียว ไม่มใี ครเป็นคู่ทกข์ริเริ่มสงครามเพียงลาพังได้อย่างไร พระองค์คงจะต้องคับแค้นพระทัย
                       ุ
ฝ่ายเจ้าเมืองต่างๆ ที่อยูใ่ กล้ๆ คือ เมืองสิงห์ เมืองสรรค์ เมืองสุพรรณ ก็พากันอพยพผูคนหนีเข้าป่า แล้วมีสารไปกราบให้พระนเรศวรทรงทราบ
                                                                                      ้

ตอนที่ 4 พระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมืองเขมร
ขณะนั้น สมเด็จพระนเรศวรประทับออกขุนนางอยูใ่ นท้องพระโรง ได้มีพระราชดารัสถามถึงทุกข์สุขของปวงชน ขุนนางก็กราบทูลให้ทรงทราบ พระองค์
ทรงตัดสอนคดีด้วยความยุติธรรม ราษฎรก็อยูด้วยความร่มเย็นเป็นสุข
                                              ่
แล้วพระองค์ก็มีพระราชดารัสถึงการที่จะยกทัพไปตีเขมร โดยกาหนดวันที่จะยกทัพออกไป ส่วนทัพเรือจะให้เกณฑ์หัวเมืองปักษ์ใต้เพื่อยกไปตีเมืองพุทไธ
มาศและเมืองบักสักแล้ว ให้เข้าล้อมเมืองหลวงของเขมรไว้
พระองค์ทรงพระวิตกว่าพม่าจะยกกองทัพมา จะได้ให้ใครอยูป้องกันบ้านเมืองรอพระองค์เสด็จกลับมา ทรงเห็นว่าพระยาจักรีเป็นผู้ทเี่ หมาะสมก็ทรง
                                                         ่
แต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาบ้านเมือง แต่ทรงคาดคะเนว่าทัพพม่าพึ่งจะแตกไปเมื่อต้นปี ปีนี้คงจะยังไม่ยกมา ถ้ามีก็เห็นจะเป็นปีหน้า ขณะที่ทรงปรึกษากันอยูนั้น
                                                                                                                                               ่
ทูตเมืองกาญจนบุรีก็มาถึง และกราบทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ พระองค์กลับทรงยินดีที่ได้รับข่าวศึก จึงให้พระเอกาทศรถเข้าเฝ้าเพื่อแจ้งข่าวให้ทราบ

ตอนที่ 5 สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
สมเด็จพระนเรศวรมีพระราชดารัสว่า เราเตรียมทัพจะไปตีเขมร ศึกมอญกลับมาชิงตัดหน้า ไม่ให้เราไปรบเขมร เราจะได้ยกไปทาสงครามเพื่อเป็นการรื่น
เริงครั้งยิ่งใหญ่ และจะต้องเอาชนะให้ได้ก่อน แล้วพระองค์ก็มีรับสั่งให้ประกาศแก่เมืองราชบุรีให้เกณฑ์ทหารจานวน 500 คน
ไปซุมดูข้าศึกขณะกาลังข้ามสะพานที่ลากระเพินและให้รีบตัดสะพานให้ขาด จุดไฟเผาอย่าให้เหลือ
    ่
แล้วให้หลบหนีกลับมาอย่าให้ข้าศึกจับได้
พอรับสั่งเสร็จ ทูตจากเมืองสิงห์ เมืองสรรค์ เมืองสุพรรณบุรี ก็มาถึง เขาก็เบิกตัวเข้าเฝ้ากราบบังคมทูลเรื่องราวและถวายสารให้ทรงทราบว่า ขณะนี้
กองทัพมอญลาดตระเวนเข้ามาถึงเขตเมืองวิเศษไชยชาญแล้ว
สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงเกรงกลัวข้าศึกแม้แต่น้อย กลับโสมนัสที่จะได้ปราบข้าศึก ทั้งสองพระองค์ปรึกษาถึงกลศึกที่จะรับมือกับมอญ ขุนนางได้ถวาย
คาแนะนาให้ออกไปรับข้าศึกที่นอกกรุงศรีอยุธยา ความคิดนี้ตรงกลับพระดาริของพระองค์ แล้วมีรับสั่งให้จัดทัพกาลังพลห้าหมื่น
เกณฑ์จากหัวเมืองตรีและจัตวา 23 หัวเมืองใต้ เป็นทัพหน้า ให้พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพ พระราชฤทธานนท์เป็นปลัดทัพ โดยให้กองหน้าออกไป
ต่อสู้ข้าศึก หากสู้ไม่ได้พระองค์จะออกไปต่อสู้ในภายหลัง ทั้งสองแม่ทัพรับพระบรมราชโองการแล้วก็ยกทัพไปตั้งอยูตาบลหนองสาหร่าย โดยตั้งค่ายเป็น
                                                                                                          ่
รูปภูมิพยุหไกรสร ทหารทั้งปวงก็ขวัญดีมความรื่นเริงทั่วหน้า ตั้งรอทัพข้าศึกอยู่
                                         ี

ตอนที่ 6 พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรก็มีรับสั่งให้โหรหาฤกษ์ที่จะยกทัพหลวงไป หลวงญาณโยคและหลวงโลกทีปคานวณพระฤกษ์ว่า พระนเรศวรได้จตุรงคโชคอาจ
ปราบข้าศึกให้แพ้สงครามไป
ขอเชิญเสด็จยกทัพออกจากพระนคร ณ วันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่า เดือนยี่ เวลา 8.30 น.
เมื่อได้มงคลฤกษ์ ทรงเคลื่อนพยุหยาตราเข้าโขลนทวาร พระสงฆ์ประพรมน้าพระพุทธมนต์แก่กองทัพเสด็จทางชลมารคไปประทับแรมที่ตาบลปากโมก
เมื่อประทับทีปากโมก สมเด็จพระนเรศวรทรงปรึกษาการศึกอยูกับขุนนางผู้ใหญ่จนยามที่สามจึงเสด็จเข้าที่บรรทม ครั้นเวลา 4 นาฬิกา พระองค์ทรง
                 ่                                            ่
พระสุบินเป็นศุภนิมิติ
เรื่องราวราวในพระสุบินของสมเด็จพระนเรศวรมีว่า พระองค์ได้ทอดพระเนตรน้าไหลบ่าท่วมป่าสูง ทางทิศตะวันตก เป็นแนวยาวสุดพระเนตร และ
พระองค์ทรงลุยกระแสน้าอันเชี่ยวและกว้างใหญ่นั้น จระเข้ใหญ่ตัวหนึ่งโถมปะทะและจะกัดพระองค์ จึงเกิดต่อสู้กันขึ้น พระองค์ใช้พระแสงดาบฟันถูกจระเข้
ตาย ทันใดนั้นสายน้าก็เหือดแห้งไป พอตื่นบรรทมสมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทานายพระสุบินนิมิตทันที พระโหราธิบดีถวายพยากรณ์ว่า พระสุบิน
ครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะเทวดาสังหรให้ทราบเป็นนัย น้าซึ่งไหลบ่าท่วมป่าทางทิศตะวันตกหมายถึงกองทัพของมอญ จระเข้คือพระมหาอุปราชา การสงคราม
ครั้งนี้จะเป็นการใหญ่ ขนาดถึงได้กระทายุตธหัตถีกัน การที่พระองค์เอาชนะจระเข้ได้แสดงว่าศัตรูของพระองค์จะต้องสิ้นชีวิตลงด้วยพระแสงของ้าว และที่
พระองค์ทรงกระแสน้านั้น หมายความว่า พระองค์จะรุกไล่บกฝ่าไปในหมู่ข้าศึกจนข้าศึกแตกพ่ายไปไม่อาจจะทานพระบรมเดชานุภาพได้
                                                           ุ
พอใกล้ฤกษ์ยกทัพ สมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถเสด็จไปยังเกยทรงช้างพระที่นง คอยพิชัยฤกษ์อยูทันใดนั้นพระองค์ทอดพระเนตรพระบรม
                                                                                 ั่               ่
สารีริกธาตุส่องแสงเรืองงาม ขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง ลอยมาในท้องฟ้าทางทิศใต้หมุนเวียนรอบกองทัพเป็นทักษิณาวรรค 3 รอบ แล้วลอยวนไปทางทิศ
เหนือ สมเด็จพระพี่น้องทั้งสองพระองค์ทรงปิติยินดีตื้นตันพระทัย ทรงสรรเสริญและนมัสการ อธิษฐานให้พระบรมสารีริกธาตุน้นบันดาลให้พระองค์
                                                                                                                         ั
ชนะข้าศึก
แล้วสมเด็จพระนเรศวรเสด็จประทับช้างทรง คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ สมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จประทับช้างทรง คือ เจ้าพระยาปราบไตรจักร เคลื่อน
ขบวนทัพพยุหยาตราต่อไป

ตอนที่ 7 พระมหาอุปราชาทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าปะทะหน้าของไทย
ฝ่ายกองตระเวนของมอญ ซึ่งได้รับคาสั่งให้มาสืบข่าวดูกองทัพไทยซึ่งจะออกมาต่อสู้ต้านทานจะได้นาข่าวมาพระมหาอุปราชา สมิงอะคร้าน สมิงเป่อ สมิง
ซายม่วน พร้อมด้วยกองม้าจานวน 500 คน ได้ไปพบกองทัพไทยตั้งค่ายรอรับอยูที่หนองสาหร่ายจึงรีบกลับไปทูลแด่องค์พระมหาอุปราชา พระองค์
                                                                               ่
ตรัสถามนายกองทั้งสามว่าประมาณกาลังพลฝ่ายไทยประมาณเท่าใด นายกองกราบทูลว่า ประมาณสิบ – สิบแปด หมื่น ดูเต็มท้องทุง พระมหาอุป      ่
ราชาตรัสว่ากษัตริย์ไทยทั้งสองพระองค์ออกมารอรับทัพเป็นกองใหญ่ แต่กาลังน้อยกว่าของเรา ของเรามากกว่าหลายส่วน
เราจะต้องรีบโจมตีหักเอาให้ได้ตั้งแต่แรกจะได้เบาแรง แล้วจะได้ไปล้อมกรุงศรีอยุธยาชิงเอาราชสมบัติเห็นจะได้เมืองโดยสะดวก แล้วรับสั่งให้ขุนพลเตรียม
ทัพให้เสร็จแต่ 3 นาฬิกา พอ 5 นาฬิกา
ก็ยกไปโดยกะสว่างเอาข้างหน้า พรุงนี้เช้าจะได้เข้าโจมตี
                                    ่
เสนาผู้ใหญ่ได้ทาตามรับสั่ง เมื่อถึงเวลาตีห้า พระมหาอุปราชาแต่งองค์แล้วเสด็จประทับช้างพลายพัธกอซึ่งกาลังตกมัน
พระยาศรีไสยณรงค์และพระราชฤทธานนท์ เมื่อได้รับพระบรมราชโองการให้ออกโจมตีข้าศึก จึงจัดทัพพร้อมด้วยกาลังพล 5 หมื่น และจัดทัพแบบตรี
เสนา คือแบ่งเป็นทัพใหญ่ 3 ทัพ
แต่ล่ะทัพแยกออกเป็น 3 กอง ดังนี้

กองหน้า เจ้าเมืองธนบุรี (นายกองหน้า ปีกซ้าย)
พระยาสุพรรณบุรี ( นายกองหน้า )
เจ้าเมืองนนทบุรี (นายกองหน้า ปีกขวา)

กองหลวง เจ้าเมืองสรรคบุรี (นายกอง ปีกซ้าย)
พระยาศรีไสยณรงค์ (แม่ทัพ ขี่ช้างพลายสุรงคเดชะ)
เจ้าเมืองสิงห์บุรี (นายกอง ปีกขวา)

กองหลัง เจ้าเมืองชัยนาท (นายกองหลัง ปีกซ้าย)
พระราชฤทธานนท์ (ปลัดทัพคุมกองหลัง)
พระยาวิเศษชัยชาญ (นายกองหลัง ปีกขวา)

ทัพไทยเคลื่อนออกจากหนองสาหร่ายถึงโคกเผาข้าวเวลาประมาณ 7 นาฬิกา ได้ปะทะกับทัพมอญ ทั้งสองฝ่ายได้ต่อสู้กันด้วยอาวุธชนิดเดียวกันเป็นคู่ๆ
ด้วยความสามารถ ต่างฝ่ายก็ล้มตายเป็นจานวนมาก พวกที่เหลือก็ต่อสูกันอย่างไม่เกรงกลัว กองทัพมอญที่ตามมามีมากขึ้น ตีโอบล้อมกองทัพ ไทย ฝ่าย
                                                              ้
ไทยกาลังน้อยกว่า กระจายออกรับไม่ไหว จึงต้องถอย
ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถก็ทรงเตรียมกาลังทหารไว้อย่างพร้อมเพรียงตั้งแต่ยงไม่สว่าง จนแสงเงินแสงทองจับขอบฟ้า
                                                                                      ั

ตอนที่ 8 ทัพหน้าไทยถอยไม่เป็นกระบวน
ขณะที่พราหมณ์ผู้ทาพิธีและผู้ชานาญไสยศาสตร์ ทาพิธีเบิกประตูป่าและพิธีละว้าเซ่นไก่ หลวงมหาวิชัยรับพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ ไปทาพิธีตัดไม้ข่มนาม
ตามไสยศาสตร์ สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงสดับเสียงปืนซึ่งไทยกับมอญกาลังยิงต่อสู้กันอยู่ แต่เสียงนั้นอยูไ่ กลฟังไม่ถนัด จึงรับสั่งให้หมื่นทิพเสนารีบไป
สืบข่าว หมื่นทิพเสนาขึ้นม้าไปอย่างรวดเร็ว ถึงกองทัพไทยที่กาลังล่าถอย รับพลางถอยพลาง มอญตามมาอย่างกระชั้นชิด หมื่นทิพเสนาได้นาขุนหมื่นผู้
หนึ่งมาเฝ้าสมเด็จพระนเรศวร ขุนหมื่นผู้นั้นกราบทูลว่า เมื่อเวลา 7 นาฬิกา ทัพไทยได้ปะทะกับทัพมอญที่ตาบลโคกเผาข้าว ทัพไทยต้องถอยร่นอยู่
ตลอดเวลา เพราะกาลังข้าศึกมีมากกว่า สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสปรึกษาแม่ทัพนายกองว่าควรคิดหาอุบายแก้ไขการศึกษาอย่างไร บรรดาแม่ทัพนายก
องกราบทูลขอให้พระองค์ส่งทัพไปยันไว้ ให้ข้าศึกอ่อนกาลังลงก่อนจึงเสด็จยกทัพหลวงออกต่อสู้ภายหลัง สมเด็จพระนเรศวรตรัสตอบว่า “ทัพไทยกาลัง
แตกพ่ายอยู่ ถ้าจะส่งทัพไปต้านทานอีก ก็จะพลอยแตกอีกเป็นครั้งที่ 2 ควรที่ล่าถอยลงมาโดยไม่หยุดยั้ง เพื่อลวงข้าศึกให้ละเลิงใจ ยกติดตามมาไม่เป็น
ขบวนพอได้ทีให้ยกกาลังส่วนใหญ่ออกโจมตี ก็คงจะได้ชัยชนะอย่างง่ายดาย” แม่ทัพนายกองเห็นชอบด้วยกับพระราชดารินั้น สมเด็จพระนเรศวรจึงมี
รับสั่งให้หมื่นทิพเสนากับหมื่นราชามาตย์ไปแจ้งทัพหน้าของไทยให้ล่าถอยโดยเร็ว ทัพหน้าไทยจึงรีบถอยร่น ทัพพม่าไม่รู้กลอุบาย ก็รุกไล่ตามจนเสีย
กระบวน

ตอนที่ 9 ทัพหลวงเคลื่อนพล ช้างทรงพระนเรศวรและพระเอกาทศรถฝ่าเข้าไปในกองทัพข้าศึก
ขณะสมเด็จพระนเรศวรประทับบนเกย เพื่อรอพิชัยฤกษ์เคลื่อนทัพหลวง ได้บงเกิดเมฆก้อนใหญ่เย็นเยือกลอยอยูทางทิศ พายัพ แล้วก็กลับแลดู
                                                                          ั                                  ่
ท้องฟ้าแจ่มกระจ่าง ดวงอาทิตย์ส่องแสงจ้าโดยไม่มอะไรบดบัง อันเป็นนิมิตที่แสดงพระบรมเดชานุภาพและชี้ให้เห็นความมีโชคดี สมเด็จพระนเรศวรและ
                                                ี
พระเอกาทศรถทรงเคลื่อนพลตาม เกล็ดนาค ตามตาราพิชัยสงคราม จนปะทะเข้ากับกองทัพข้าศึก ช้างพระที่นงทั้งสอง คือ พระเจ้าไชยานุภาพ และ
                                                                                                          ั่
เจ้าพระยาปราบไตรจักร ได้สดับเสียง ฆ้อง กลอง และเสียงปืนของข้าศึก ก็ส่งเสียงร้องด้วยความคึกคะนอง เพราะกาลังตกมัน ควาญบังคับไว้ ไม่อยู่ มัน
วิ่งไปโดยเร็ว จนทหารในกองตามไม่ทน มีแต่กลางช้างและควาญช้างสี่คนเท่านั้นที่ตามเสด็จไปด้วยจนเข้าไปใกล้กองหน้าของข้าศึก ช้างศึกได้กลิ่น มัน ก็พา
                                    ั
กันตกใจหนีไปปะทะกับพวกที่ตามมาข้างหลัง ช้างทรงไล่แทงช้างของข้าศึกอย่างเมามัน ทหารพม่าล้มตายเป็นจานวนมาก ข้าศึกยิงปืนเข้าใส่ แต่ไม่ถูกช้าง
ทรง การต่อสู้เป็นแบบตะลุมบอนจนฝุ่นตลบมองหน้ากันไม่เห็น เหมือนกับเวลากลางคืน
สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสประกาศแด่เทวดาทั้งหลายบนสวสรรค์ทั้งหกชัน และพรหมทั้งสิบหกชั้นว่า ที่ให้พระองค์ท่านมาประสูตรเป็นพระมหากษัตริย์
                                                                     ้
ครองราชย์สมบัติก็ด้วยหวังจะให้ทะนุบารุงศาสนา และพระรัตนตรัยให้เจริญรุงเรือง เหตุใดเล่าเทวดาจึงไม่บันดาลให้ท้องฟ้าสว่างมองเห็นข้าศึกได้ชัดเจน
                                                                            ่
พอดารัสจบไม่นานก็เกิดพายุใหญ่พดหอบเอาฝุ่นและควันหายไป ท้องฟ้าสว่างดังเดิม มองเห็นสนามรบได้ชัดเจน พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นพระมหา
                                  ั
อุปราชาทรงช้างประทับยืนอยูใ่ ต้ต้นไม้ข่อย มีทหารห้อมล้อมและตั้งเครื่องสูงครบครัน
ทั้งสองพระองค์ทรงไสช้างเข้าไปหาด้วยพระพักตร์ที่ผ่องใสไม่เกรงกลัวแม้แต่น้อย ข้าศึกยิงปืนไฟเข้ามาแต่ก็มิได้ต้องพระองค์เลย

ตอนที่ 10 ยุทธหัตถี และชัยชนะของไทย
สมเด็จพระนเรศวรทรงมีพระราชดารัสอันไพเราะไม่มสุรเสียงขุ่นแค้นพระทัยเลยแม้แต่น้อยว่า
                                                    ี
“ ผู้ทรงเป็นใหญ่แห่งประเทศมอญ พระเกียรคิยศเลื่องลือไปไกลทั่วทั้งสิบทิศ ข้าศึกได้ยินก็เกรงพระบรมเดชานุภาพ ไม่กล้าสู้รบพากันหนีไป
พระเจ้าผู้พี่ปกครองประเทศอันบริบูรณ์ยิ่ง เป็นการไม่สมควรเลยทีพระเจ้าพี่ประทับอยูใ่ ต้ร่มไม้ เชิญพระองค์เสด็จมาร่วมทายุทธหัตถีร่วมกัน เพื่อแสดง
                                                                 ่
เกียรคิไว้ให้เป็นที่ปรากฏ ต่อจากเราทั้งสองจะไม่มีอีกแล้ว
การรบด้วยการชนช้างจะถึงที่สุดเพียงนี้ ต่อไปจะไม่ได้ไม่พบอีก การที่กษัตริย์ทายุทธหัตถีกัน ก็คงมีแต่เราสองพี่น้อง ตราบชั่วฟ้าดินสลาย
การทายุทธหัตถีก็เปรียบประดุจการเล่นที่รื่นเริงของกษัตริย์เพื่อให้ชมเล่นเป็นขวัญตาแก่มนุษย์จนถึงเมืองสวรรค์ ขอทูลเชิญเทวดาและพรหมทั้งปวงมา
ประชุมในสถานที่นี้เพื่อชมการยุทธหัตถี ผู้ใดเชี่ยวชาญกว่า ขอทรงอวยพรให้ผู้นั้นรับชัยชนะ หวังจะให้พระเกียรติยศในการรบครั้งนี้ดารงอยูชั่วฟ้าดิน ว่า
                                                                                                                                  ่
กษัตริย์ทั้งสองพระองค์ได้กระทาสงครามกัน ใครรู้เรื่องก็จะได้ยกย่องสรรเสริญกันตลอดไป ”

เมื่อสมเด็จพระนเรศวรได้ตรัสพรรณนาดังนั้น พระมหาอุปราชาได้ทรงสดับก็บังเกิดขัตติยะมานะกล้าหาญขึ้น รีบไสช้างเข้าต่อสู้โดยเร็วด้วยความกล้า
หาญ ช้างทรงของผู้เป็นใหญ่ทั้งสองพระองค์ เปรียบเหมือนช้างเอราวัณและช้างคิรีเมขล์อันเป็นพาหนะของวัสวดีมาร ต่างส่ายเศียรและหงายงาโถมแทง
อยูขวักไขว่ สองกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่งามเลิศล้าน่าชมยิ่งหนัก ประหนึ่งพระอินทร์และไพจิตราสูรทาสงครามกัน หรือไม่ก็เหมือนกับพระรามรบกับทศกัณฐ์
     ่
กษัตริย์อื่นในทุกประเทศและทุกทิศไม่เสมอเหมือน กษัตริย์แห่งกรุงสยามก็สามารถต้านพระมหาอุปราชาได้ ทั้งสองไม่ทรงเกรงกลัวกันเลย และไม่ได้ลด
ความห้าวหาญลงแม้แต่น้อย พระหัตถ์ก็ยกพระแสงของ้าวขึ้นกวัดแกว่งตามแบบฉบับ ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรโถมเข้าใส่ไม่ทันตั้งหลักยั้งตัว ช้าง
ทรงของพระมหาอุปราชาได้ล่างใช้งาทั้งคู่ค้าคางเจ้าพระยาไชยานุภาพแหงนสูงขึ้น จึงได้ทีถนัด พระมหาอุปราชาเห็นเป็นโอกาส จึงเงื้อพระแสงของ้าวจ้วง
ฟันอย่างแรงราวกับจักรหมุน แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงพระมาลาหลบพร้อมกับใช้พระแสงของ้าวปัดเสียทัน อาวุธของพระมหาอุปราชาจึงไม่ถูก
พระองค์

ทันใดนั้นช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรเบนสะบัดได้ล่าง จึงใช้งางัดคอช้างของพระมหาอุปราชาจนหงาย ช้างของพระมหาอุปราชาเสียท่าต้องถอยหลัง
พลาดท่าในการรบ สมเด็จพระนเรศวรจึงทรงเงื้อพระแสงของ้าวฟันถูกพระมหาอุปราชาที่พระอังสาขวาขาดสะพายแล่ง
พระอุระของพระมหาอุปราชาถูกฟันจนเป็นรอยแยก พระวรกายก็เอนซบอยูบนคอช้างเป็นที่น่าสลดใจ สิ้นพระชนม์แล้วได้ไปสถิตในแดนสวรรค์ ควาญ
                                                                     ่
ช้างของสมเด็จพระนเรศวร คือ นายมหานุภาพก็ถูกปืนข้าศึกเสียชีวิต ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทายุทธหัตถีกับ มางจาชโร (พระพี่เลี้ยงของพระมหา
อุปราชา) พระเอกาทศรถได้ใช้พระแสงของ้าวฟันถูกมางจาชโรตายซบอยู่บนหลังพลายพัชเนียรนั่นเอง และกลางช้างของพระเอกาทศรถ คือ หมื่นภักดี
ศวรก็ถูกปืนข้าศึกตาย
ทั้งสองพระองค์รบกับข้าศึกในครั้งนี้ด้วยพระบรมเดชานุภาพ เพราะมีแค่ทหารสี่คนและพระองค์ทั้งสองเท่านั้น พระเกียรติจึงแผ่ไปไกล ทหารที่ติดตามไป
ตายสองและรอดกลับมาสอง
กองทัพไทยติดตามมาทันเมื่อพระมหาอุปราชาขาดคอช้างแล้ว ต่างก็รีบเข้ามาช่วยรบ ฆ่าฟันทหาร พม่า มอญ ไทยใหญ่ ลาว เชียงใหม่ ตายลงจานวน
มากเหลือคณานับ ที่เหลือบุกป่าฝ่าดงหนีไป ทั้งนี้เป็นพระบรมเดชานุภาพของพระองค์โดยแท้

ตอนที่ 11 พระนเรศวรทรงสร้างสถูปและปูนบาเหน็จทหาร
สมเด็จพระนเรศวรมีรับสั่งให้สร้างสถูปสวมทับที่พระองค์ทรงทายุทธหัตถี ณ ตาบลตระพังตรุ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสืบต่อไป เสร็จศึกยุทธ
หัตถีแล้ว สมเด็จพระนเรศวรโปรดให้เจ้าเมือง มล่วน รวมทั้งควาญช้างกลับ ไปแจ้งข่าวการแพ้สงครามและการสิ้นพระชนม์ของพระมหาอุปราชาแก่พระเจ้า
หงสาวดี แล้วพระองค์ก็ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา ชื่อเสียงของกรุงศรีอยุธยาก็ลือเลื่องไปทั้งแผ่นดิน จากนั้นก็ทรงปรารภเรื่องการพระราชทานความดี
ความชอบแก่ พระยารามราฆพ ( กลางช้างของพระนเรศวร )
และ ขุนศรีคชคง ( ควาญช้างของพระเอกาทศรถ ) โดยพระราชทานบาเหน็จ เครื่องอุปโภค เงิน ทอง ทาส และเชลยให้แล้วก็พระราชทานบานาญแก่บุตร
ภรรยาของ นายมหานุภาพ และ หมื่นภักดีศวร ที่เสียชีวิตในสงครามให้สมกับความดีความชอบและที่มีความภักดีต่อพระองค์
ต่อมาก็ทรงปรึกษาโทษแม่ทพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทนตามกฎของพระอัยการศึกว่า ในการที่ข้าศึกยกทัพเข้ามาเหยียบแดนถึงชานพระนคร พระองค์และ
                          ั                      ั
พระเอกาทศรถทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทานุบารุงเหล่าสมณพราหมณ์และประชาราษฎรมิได้ยอท้อต่อความยากลาบาก ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จ
                                                                                          ่
ออกไปปราบอริราชศัตรู แต่แม่ทัพนายกองทั้งปวงกลับกลัวข้าศึกยิ่งกว่าพระอาญา ไม่พยายามยกไปรบให้ทน ปล่อยให้ทั้งสองพระองค์ทรงช้างพระที่นง
                                                                                                     ั                                     ั่
ฝ่าเข้าไปท่ามกลางข้าศึกตามลาพัง จนถึงได้กระทายุทธหัตถีมีชัยชนะ ลูกขุนได้เชิญกฎพระอัยการออกค้นดู เห็นว่าจะได้รับโทษถึงประหารชีวิต แต่เนื่องจาก
ใกล้วัน 15 ค่า ( บัณรสี ) จึงทรงพระกรุณางดโทษไว้ก่อน ต่อวันหนึ่งค่า (ปาฏิบท) จึงให้ลงโทษประหาร

ตอนที่ 12 สมเด็จพระวันรัตขอพระราชทานอภัยโทษ
ยังไม่พ้นเวลาที่สมเด็จพระนเรศวรทรงกาหนดไว้ พอถึงวันแรม 15 ค่า เวลาประมาณ 8 นาฬิกาเศษ สมเด็จพระวันรัตวัดป่าแก้ว กับพระราชาคณะ 25
องค์สองแผนก คือ ฝ่ายคามวาสี และ อรัญวาสี พากันไปยังพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้นิมนต์เข้าไปในท้องพระโรง สมเด็จพระ
นเรศวรทรงประนมพระหัตถ์แสดงคารวะ พระวันรัตได้ทูลถามข่าวที่สมเด็จพระนเรศวรทายุทธหัตถีจนพระมหาอุปราชาขาดคอช้าง เมื่อสมเด็จพระ
นเรศวรทรงเล่าจบ พระวันรัตกราบทูลว่า พระมหาบพิตรพระราชสมภารเจ้าทรงได้รับชัยชนะ เหตุใดเล่าเหล่าบริพารจึงต้องโทษ ได้ยินแล้วที่สงสัย
สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสต่อไปว่า แม่ทัพนายกองทั้งปวงซึ่งได้รับเกณฑ์เข้าในกองทัพ เมื่อเห็นข้าศึกก็ตกใจกลัว ยิ่งกว่ากลัวพระองค์ซึ่งเป็นเจ้านาย ไม่
ตามเสด็จให้ทัน ปล่อยให้พระองค์สองพี่น้องเข้าสู้รบท่ามกลางข้าศึกจานวนมากจนมีชัยชนะรอดพ้นความตายจึงได้มาดูหน้าพวกทหารเหล่านั้น ทังนี้เพราะ้
คุณความดียิ่งใหญ่ที่ได้ทานุบารุงบ้านเมืองไว้คอยอุดหนุนพระบรมเดชานุภาพของพระองค์สองพี่น้อง ถ้าไม่ได้ความดีแต่เก่าแล้ว ประเทศไทยจะต้องสิ้น
อานาจเสียแผ่นดินแก่กรุงหงสาวดีเป็นการเสื่อมเสียเกียรติยศ จึงควรลงโทษถึงตายตามพระอัยการศึกเพื่อให้เป็นตัวอย่างมิให้คนอื่นเอาเยียงอย่างสืบไป
                                                                                                                                 ่
สมเด็จพระวันรัตจึงกราบทูลว่า “ บรรดาข้าทูลละอองธุลีพระบาทล้วนมีความจงรักภักดี เป็นการผิดแปลกไปจากแบบแผนแต่ก่อนที่ว่าไม่จงรักยาเกรง
พระองค์ ทั้งนี้เพราะพระบรมเดชานุภาพสาแดงให้ปรากฏแก่ปวงชนเป็นทีน่าอัศจรรย์จึงบันดาลให้เป็นเช่นนั้น
                                                                      ่
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ( พระตรีโลกนาถ ) ทรงชนะพระยามารลาพังพระองค์เอง เช่นเดียวกับสมเด็จพระนเรศวร พระเอกาทศรถ เสด็จไปปราบ
อริราชศัตรูจนแพ้พ่ายโดยปราศจากไพร่พล พระเกียรติยศจึงเลื่องลือกึกก้องไปทั่วทุกแห่งหน หากมีทหารล้อมมากมายถึงเอาชนะได้
พระเกียรติยศก็ไม่ฟ้งเฟื่องเพิ่มพูนขึ้น และกษัตริย์ทั้งหลายก็จะไม่พากันออกพระนามเอิกเกริกกันเช่นนี้ ขอพระองค์ทั้งสองอย่าได้โทมนัสน้อยพระทัยไป
                     ุ
เลย ทั้งนี้เพราะเพื่อราชกฤฎาภินิหารของพระองค์ ทวยเทพทั้งหลายจึงบันดาลให้เป็นไปดังนั้น ขอมหาบพิตรทั้งสองพระองค์ อย่าได้ทรงขุ่นแค้นพระทัย
ไปเลย ทั้งนี้เป็นไปตามที่กราบทูลทุกประการ ”

สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงฟังพระวันรัตถวายวิสัชนาบรรยายโดยพิสดารโดยวิธีเปรียบเทียบกับกฤฎาภินิหารแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ทรงปราโมทย์
ออกพระโอษฐ์สาธุถวายนมัสการแล้วตรัสว่า พระวันรัตกล่าวคาน่าขอบใจ ทุกสิ่งที่ชี้แจงสมควรและเป็นจริงไม่สงสัยแม้แต่น้อย
พระวันรัตเห็นว่าทรงคลายกริ้วแม่ทัพนายกองแล้ว จึงกล่าวถวายพระพรให้พระองค์ปราศจากทุกข์ภัยอันตรายทั้งปวง แล้วกราบทูลต่อไปว่า แม่ ทัพ
นายกองเหล่านี้มีความผิดรุนแรง
ควรได้รับโทษทั้งโคตร แต่เคยได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณมาแต่ก่อนนับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระบรมราชอัยกา และสมเด็จพระ
มหาธรรมราชาพระราชบิดา จนล่วงถึงสมเด็จพระนเรศวรได้ขึ้นครองราชสมบัติ เปรียบได้กับพุทธบริษัททั้งปวง ช่วยกันดารงพระพุทธศาสนาต่อมา
ขอให้พระองค์ทรงงดโทษประหารชีวิตแม่ทัพนายกองไว้สักครั้งหนึ่ง เพื่อจะได้เป็นกาลังส่งเสริมพระบรมเดชานุภาพ เมื่อศึกสงครามเกิดขึ้นอีก เขาเหล่านั้น
จะคิดแก้ตัว หาความดีความชอบเพื่อเพิ่มพูนพระบารมีให้แผ่ไปทั่วบ้านเมืองชองพระองค์เป็นแน่
สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงสดับข้อความของพระวันรัตที่ทูลขออภัยบรรดาแม่ทัพนายกองทั้งปวง ก็ทรงพระกรุณาที่ว่าบุคคลเหล่านี้ยงจงรักภักดีตอ
                                                                                                                        ั            ่
พระองค์อยู่ จึงพระราชทานอภัยโทษตามคาทูลของพระวันรัต แต่ทรงเห็นสมควรที่จะใช้ให้ไปตีเมืองตะนาวศรี ทวาย และ มะริด เป็นการชดเชยความผิด
สมเด็จพระวันรัตกราบทูลว่า การรบทัพจับศึกไม่ใช่กจอันควรที่พระภิกษุจะเห็นด้วย พระองค์จะทรงมีพระราชบัญชาใช้สอยประการใดสุดแล้วแต่พระราช
                                                 ิ
อัธยาศัย แล้วสมเด็จพระวันรัตถวายพระพรลา พาคณะสงฆ์กลับวัด สมเด็จพระนเรศวรจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้แม่ทัพนายกองพ้นโทษ
และคงดารงตาแหน่งยศเดิม
สมเด็จพระนเรศวรทรงมีพระราชกาหนดให้ เจ้าพระยาคลังคุมทหาร 50,000 คน ไปตีเมืองทวาย ให้เจ้าพระยาจักรีคุมทัพจานวนรี้พลเท่ากันไปตีเมือง
มะริด และ ตะนาวศรี มหาอามาตย์ทั้งสองกราบถวายบังคมลาไปเตรียมทัพยกไปทันที
แล้วทั้งสองพระองค์ก็มีพระราชดารัสถึงหัวเมืองฝ่ายเหนือว่า ไทยได้กวาดต้อนครอบครัวเข้ามาจานวนมากแต่ยังไม่หมด ทรงมีพระราชดาริว่าถึงศึก พม่า
มอญ ว่าคงจะลดลงถึงจะยกมาก็คงไม่นากลัว ควรจะได้ทะนุบารุงหัวเมืองฝ่ายเหนือไว้ให้รุงเรืองปรากฏเป็นเกียรติยศสืบต่อไปชั่วกัลป
                                    ่                                              ่

คุณธรรมทีไ่ ด้รบจากเรือง ลิลตตะเลงพ่าย
               ั      ่ ิ
1 .ความรอบคอบไม่ประมาท ในเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายนี้เราจะเห็นคุณธรรมของพระนเรศวรได้อย่างเด่นชัดและสิ่งที่ทาให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็น
พระมหากษัตริย์ททรงพระปรีชาสามารถมากทีสุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท
               ี่                       ่
ดั่งโคลงสี่สุภาพตอนหนึ่งกล่าวว่า
๖๒(๑๖๔) พระห่วงแต่ศึกเสี้ยน อัสดง
เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้า
คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ
อาจประกันกรุงถ้า ทัพข้อยคืนถึง
หลังจากที่พม่ายกกองทัพเข้ามาพระองค์ก็ทรงสั่งให้พ่ายพลทหารไปทาลายสะพานเพื่อว่าเมื่อฝ่ายไทยชนะศึกสงคราม พ่ายพลทหารของฝ่ายพม่าก็จะตก
เป็นเชลยของไทยทั้งหมด นั่นแสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ทมีทัศนคติทกว้างไกล ซึ่งมีผลมาจากความรอบคอบไม่ประมาท
                                                                  ี่        ี่
2 .การเป็นคนรูจกการวางแผน
              ้ั
จากการที่เราได้รับการศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายเราจะเห็นได้ชัดเจนว่าในช่วงตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเปลี่ยนแผนการรบเป็นรับศึกพม่าแทน
ไปตีเขมร พระองค์ได้ทรงจัดการวางแผนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอย่างไม่รอช้า ทรงแต่งตั้งให้พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพหน้าและพระราชฤทธานนท์เป็น
ปลัดทัพหน้าตามด้วยแผนการอื่นๆอีกมากมายเพื่อทาการรับมือ และพร้อมที่จะต่อสู้กับข้าศึกศัตรูทางฝ่ายพม่า ยกตัวอย่างโคลงสี่สุภาพที่แสดงให้เราเห็น
ถึงการรู้จักการวางแผนของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
๖๓(๑๖๕) พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา
คือพระยาจักรี กาจแกล้ว
พระตรัสแด่มนตรี มอบมิ่ง เมืองเฮย
กูไกลกรุงแก้ว เกลือกช้าคลาคืน
เมื่อเราเห็นถึงคุณธรรมทางด้านการวางแผนแล้วเราก็ควรเอาเยียงอย่างเพื่อใช้ในการดาเนินชีวิตให้เป็นไปอย่างมีระเบียบ มีแบบแผน ซึ่งจากคุณธรรม
                                                              ่
ข้อนี้ก็อาจช่วยเปลี่ยนแปลงให้ท่านผู้อ่านทุกท่าน ให้กลายเป็นบุคคลที่มคณภาพชีวิตทางด้านการวางแผนในการดาเนินชีวิตก็เป็นได้ถ้าเรารู้จักการวางแผน
                                                                    ีุ
ให้กับตัวเราเอง
3. การเป็นคนรูจกความกตัญญูกตเวที
              ้
จากบทการราพึงของพระมหาอุปราชาถึงพระราชบิดานั้น แสดงให้เราเห็นอย่างเด่นชัดเลยทีเดียวว่าพระมหาอุปราชาทรงมีความห่วงใย อาทร ถึงพระราช
บิดาในระหว่างที่ทรงออกรบ ซึ่งแสดงให้เราเห็นถึงความรักของพระองค์ที่มีต่อพระราชบิดา โดยพระองค์ได้ทรงถ่ายทออดความนึกคิด และราพึงกับ
ตัวเอง ดั่งโคลงสี่สุภาพที่กล่าวไว้ว่า
๕๑(๑๕๒) ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู้
เสียดายแผ่นดินมอญ มอด ม้วยแฮ
เหตูบ่มมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ
       ี
ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายว่า เมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเล่าจะออกไปรบแทนท่านพ่อ จากโคลงนี้ไม่ได้แสดงให้เราเห็นถึงความกตัญญูที่มต่อพระราชบิดา
                                                                                                                           ี
ของพระมหาอุปราชาเพียงอย่างเดียว แต่ยงมีความกตัญญู ความ
                                         ั
จงรัก ภักดี ต่อชาติบ้านเมืองอีก
4. การเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ทมพระปรีชาสามารถทางด้านการมีความสติปัญญาและมีไหวพริบเป็นเลิศ ดังนั้นจึงไม่แปลกเลยที่
                                                     ี่ ี
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจะทรงมีคุณธรรมทางด้านการเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ ด้วยเหตุน้ทาให้พระองค์ทรงสามารถแก้ไขสถานการณ์อันคับ
                                                                                               ี
ขันในช่วงที่ตกอยูใ่ นวงล้อมของพม่าได้ ซึ่งฉากที่แสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงมีคุณธรรมทางด้านนี้คือ
๑๓๐(๒๙๖) โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา
บัด ธ เห็นขุนกรี หนึ่งไสร้
เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย์ เรียงคั่ง ขูเฮย
หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชี้เฌอนาม
๑๓๑(๒๙๗) ปินสยามยลแท้ท่าน คะเนนึก อยูนา
           ่                         ่
ถวิลว่าขุนศึกสา- นักโน้น
ทวยทับเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ
ครบเครื่องอุปโภคโพ้น เพ่งเพี้ยงพิศวง
สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วิธีการสังเกตหาฉัตร5ชั้นของพระมหาอุปราชา ทาให้พระองค์ทรงทราบว่าใครเป็นพระมหาอุปราชาทั้งๆที่มีทหารฝ่ายข้าศึกร่าย
ล้อมพระองค์จนรอบ แต่ด้วยความมีไหวพริบพระองค์จึงตรัสท้ารบเสียก่อนเพราะถ้าพระองค์ไม่ทรงตรัสท้ารบเสียก่อนพระองค์อาจทรงถูกฝ่ายข้าศึกรุม
โจมตีก็เป็นได้ ดังนั้นเมื่อเราเห็นคุณธรรมของพระองค์ด้านนี้แล้วก็ควรยึดถือและนาไปปฏิบัติตามเพราะสิ่งดีๆเหล่านี้อาจก่อให้เกิดผลดีต่อตนเอง และต่อ
ประเทศชาติได้
5. ความซื่อสัตย์
จากเนื้อเรื่องนี้เราจะเห็นได้ว่าบรรดาขุนกรีและทหารมากมายทั้งฝ่ายพม่าและฝ่ายไทยมีความซื่อสัตย์และความจงรักภักดี ต่อประเทศชาติของตนมาก
เพราะจากการที่ศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายเรายังไม่เห็นเลยว่าบรรดาทหารฝ่ายใดจะทรยศต่อชาติบ้านเมืองของตน ซึ่งก็แสดงให้เราเห็นว่าความซื่อสัตย์
ในเราองเล็กๆน้อยๆก็ทาให้เราสามารถซื่อสัตย์ในเรื่องใหญ่ๆได้ซึ่งจากเรื่องนี้ความซื่อสัตย์เล็กๆน้อยๆของบรรดาทหารส่งผลให้ชาติบ้านเมืองเกิดความเป็น
ปึกแผ่นมั่นคงได้
เราก็เช่นเดียวกัน....ถ้าเรารู้จักมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองดั่งเช่นบรรดาขุนกรี ทหารก็อาจนามาซึ่งความเจริญและความมั่นคงในชีวิตก็เป็นได้ซึ่งสิ่งนี้อาจส่งผล
ประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัวและชาติบ้านเมือง
5. การมีวาทศิลป์ในการพูด
จากเรื่องนี้มีบคคลถึงสองท่านด้วยกันที่แสดงให้เราเห็นถึงพระปรีชาสามารถทางด้านการมีวาทศิลป์ในการพูด ท่านแรกคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
               ุ
ในโคลงสี่สุภาพที่ว่า
๑๗๗(๓๐๓) พระพีพระผู้ผ่าน ภพอุต-ดมเอย
              ่
ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้
เชิญการร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ
สืบว่าสองเราไซร้ สุดสิ้นฤามี
เราจะเห็นว่าสมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วาจาทีไ่ พเราะมีความสุภาพน่าฟังต่อพระมหาอุปราชาซึ่งเป็นพี่เมื่อครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยูทางฝ่าย
                                                                                                                                   ่
พม่า
ท่านที่สองคือ สมเด็จพระวันรัต เมื่อครั้งที่พระองค์ทรงมาขอพระราชทานอภัยโทษจากพระนเรศวร ให้กับบรรดาทหารที่ตามเสด็จพระนเรศวรในการรบ
ไม่ทน ซึ่งอยูใ่ นโคลงสี่สุภาพที่ว่า
    ั
๑๗๗(๓๕๗) พระตรีโลกนาถแผ้ว เผด็จมาร
เฉกพระราชสมภาร พี่น้อง
เสด็จไร้พิริยะราญ อรินาศ ลงนา
เสนอพระยศยินก้อง เกียรติก้องทุกภาย
การมีวาทศิลป์ในการพูดของสมเด็จพระวันรัตครั้งนี้ทาให้บรรดาขุนกรี ทหารได้รับการพ้นโทษดังนั้นจากคุณธรรมข้อนี้ทาให้เราได้ข้อคิดที่ว่า การพูดดี
เป็นศรีแก่ตัวเมื่อเราทราบเช่นนี้แล้วเราทุกคนก่อนที่จะพูดอะไรต้องคิดและไตร่ตรองให้ดีก่อนที่จะพูด
ข้อคิดจากเรือง -
            ่
1. ลิลิตตะเลงพ่ายสะท้อนให้เห็นความรักชาติ ความเสียสละ ความกล้าหาญ ของบรรพบุรุษ ซึ่งคนไทยควรภาคภูมิใจ
2. แผ่นดินไทยต้องผ่านการทาศึกสงครามอย่างมากมายกว่าที่จะมารวมกันเป็นปึกแผ่นอย่างปัจจุบันนี้
3. พระราชภารกิจของกษัตริย์ไทยในสมัยก่อน คือการปกครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขและรบเพื่อปกป้องอธิปไตยของไทย
คุณค่าจากเรือง
            ่
๑. เป็นวรรณคดีชั้นสูงของชาติซึ่งถือได้ว่าเป็นแบบอย่างที่ดีของวรรณคดีอื่นๆ
๒. ให้คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์หลายประการ เช่น การเล่นคา การแทรกบทนิราศคร่าครวญ การใช้โวหารต่างๆการพรรณนาฉากที่ทาให้ผู้อ่านมี
อารมณ์ร่วมและเกิดความรู้สึกคล้อยตาม
๓. ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และลักษณะผู้ฟังที่ดี
๔. ปลุกใจให้คนไทยรักและเทิดทูนแผ่นดินไทยจนพร้อมที่จะเสียสละเพื่อบ้านเมือง
แบบทดสอบ
คาชีแจง ให้นกเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้องทีสด
    ้       ั                 ่        ุ่
1. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายที่แท้จริงของผู้แต่งที่แต่งเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย
                 ่

              ก. บันทึกการทาสงครามยุทธหัตถีครังสาคัญ้
              ข. สดุดีพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ
              ค. เพื่อแต่งวรรณคดีสดุดีพระมหากษัตริยเ์ ช่นเดียวกับลิลิตยวนพ่ายในสมัยอยุธยา
              ง. ต้องการบรรยายชัยชนะครั้งยิงใหญ่ของฝ่ายไทยในการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่า
                                              ่
2. เนื้อความในลิลิตตะเลงพ่ายข้อใดที่ไม่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาตอนทายุทธหัตถี
                    ก.            สองโจมสองจู่จ้วง            บารู
                             สองขัตติยสองขอชู                 เชิดค้า
                   ข.            งามสองสุรยราชล้า            เลอพิศ
                             พ่างพัชรินทร์ไพจิตร           ศึกสร้าง
                   ค.           พระพี่พระผูผ่าน
                                           ้               ภพอุต- ดมเอย
                             ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด           ร่มไม้
                   ง.            พระห่วงแต่ศึกเสี้ยน อัสดง
                              เกรงกระลับก่อรงค์           รั่วหล้า
3. พระราชดารัสของสมเด็จพระนเรศวรข้อใดที่ทาให้พระมหาอุปราชาตัดสินพระทัยกระทายุทธหัตถี

               ก.             สงครากษัติรย์ทรง               ภพแผ่น สองฤา
                          สองราชรอนฤทธิร้า   ์              เรื่องรู้สรรเสริญ
               ข.           ขัตติยายุทธ์บรรหาร            คชคู่ กันแฮ
                           คงแต่เผือพี่น้อง                ตราบฟ้าดินกษัย
               ค.            เชิญราชร่วมคชยุทธ์          เผยอเกียรติ ไว้แฮ
                           สืบกว่าสองเราไสร้             สุดสิ้นฤามี
               ง.             ไว้เพื่อผดุงเดชเจ้า         จอมปราณ
                           ก่อเกิดราชราบาญ                 ใหม่แม้
4. ความในข้อใดแสดงลักษณะวรรณศิลป์มากที่สุด

               ก.   พวกพลทัพรามัญ เห็นไทยผันหนีหน้า ไป่หยุดยั้งช้า ตื่นต้อนแตกฉาน น่านนา
               ข.   ว่องต่อว่องชิงชัย ไวต่อไวชิงชนะ ม้าไทยพะม้ามอญ ต่างเข้ารอนเข้าโรม
               ค.   ธก็ไสสองสารทรง ตรงเข้าถีบเข้าแทง ด้วยแรงมันแรงกาย หงายงาเสยสารเศิก
               ง.   ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้า ดูบ่รู้จักหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา
5. สมเด้จพระวันรัตใช้กลวิธีการโน้มน้าวจิตใจอย่างไรจึงทาให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระราชทานอภัยโทษ
ประหารชีวิตแก่แม่ทัพนายกอง

             ก.   พูดโน้มน้าวให้เห็นโทษของการสั่งประหารชีวิต
             ข.   พูดโน้มน้าวให้เห็นจริงตามกระบวนการของเหตุผล
             ค.   พูดโน้มน้าวให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย
             ง.   พูดโน้มน้าวให้เห็นความน่าเชือถือของบุคคลที่พูด
                                              ่
6. คาประพันธ์ข้อใดใช้อุปมาภาพพจน์ดังตัวอย่างต่อไปนี้
                                 พระตรีโลกนาถแผ้ว               เผด็จมาร
                           เฉกพระราชสมภาร                      พี่น้อง
                     ก. เห็นประภาพเจ้าช้าง         เชี่ยวกว่าเชี่ยวเหลืออ้าง
                           เอิกเอื้ออัศจรรย์        ยิ่งนา
                  ข.           สองฝ่ายหาญใช่ชา
                                             ้      คือสีหสู้สีหกล้า
                           ต่อแกล้วในกลาง           สมรนา
                  ค. กองทัพตามกันเต้า              เสียงสนั่นลันเท้า
                                                                 ่
                       พ่างพื้นไพรพัง              เพิกฤา
                   ง. ดังตรลบโลกแล้                 ฤาบ่ร้างรู้แพ้
                       ชนะผูใ้ ดดาล                  ฉงนนา
7. คาประพันธ์ในข้อใดใช้การสัทพจน์เป็นกลวิธีในการประพันธ์

             ก.   ดูคะคลาคะคล่า        บ่รู้กี่สาสับสน
                                                ่
             ข.   ศรต่อศรยิงยืน         ปืนต่อปืนยิงยัน
             ค.   อุดอึงโห่เอาฤกษ์     เอิกอึงโห่เอาชัย
             ง.   เงื้อดาบฟันฉะฉาด     ง่าง้าวฟาดฉะฉับ
8. คาประพันธ์ในข้อใดใช้คาว่า "ฉัตร" ต่างจากข้ออื่น

             ก. อลงกตแก้วแกมกาญจน์            เครื่องพุดตานตกแต่ง
                    แข่งสีทองทอเนตร           ปักเศวตรฉัตรฉานฉาย
             ข. ซึ่งแสร้งรังสฤษฎ์ให้         มาอุบติั
                    ในประยูรเศวตฉัตร                สืบเชื้อ
             ค. บัดธเห็นขุนกรี                      หนึ่งไสร้
                    เถลิงฉัตรจัตรพิรีย์
                                ุ                     เรียงคั่ง ขูเฮย
ง. ภูธรเมิลอมิตรไท้              ธารง สารแฮ
                  ครบสิบหกฉัตรทรง              เทริดเกล้า
9. ข้อใดแสดงลักษณะที่ขาดความมีระเบียบวินัยของกองทัพ

             ก.   เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน เกลื่อนแสนยาทัพ ถับปะทะไพรินทร์
             ข.   ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดูมหมาดาดาษ สะพราศพร้อมโดยขบวน
             ค.   ไล่โรมรอนทวยสยาม หลามเหลือหลั่นคั่งคับ ซับซ้อนแทรกสับสน ยลบ่เป็นทัพเป็นกอง
             ง.   ปวงทัพปลูกค่ายสร้าง กลางสมร
                      ภูมิพยุหไกรสร ศึกตั้ง
10. ตอนใดที่แสดงให้เห้นชัดว่า สมเด็จพระนเรศวรทรงแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยสติและความเด็ดเดี่ยวสมกับเป็นผู้นาที่
ดี

             ก. ตอนที่ทรงทราบว่าทัพหน้าแตกยับเยิน
             ข. ตอนที่ทรงท้ารบกับพระมหาอุปราชา
             ค. ตอนที่ทรงทราบข่าวศึกพม่าจากเมืองกาญจนบุรี
             ง. ตอนพระมหาอุปราชาสั่งกองทัพทังหมดเข้าจู่โจมตีทัพไทยที่ออกมาตั้งรับนอกพระนคร
                                            ้

More Related Content

What's hot

มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒Manas Panjai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 

Similar to ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย

แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพsudchaleom
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพsudchaleom
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)Kornfern Chayaboon
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายRUNGDARA11
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 

Similar to ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย (20)

งาน
งานงาน
งาน
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพ
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ลิลิิตตะเลงพาย
ลิลิิตตะเลงพายลิลิิตตะเลงพาย
ลิลิิตตะเลงพาย
 

ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาภาษาไทย ๙ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนละงูพิทยาคม เรียบเรีบงโดย คุณครูโนรี หมีนหวัง *************************************************************************** วรรณคดีวิจักษณ์ เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย ตอนที่ 1 เริมบทกวี ่ (ร่าย) กล่าวสดุดีที่ทรงมีชัยชนะในการทายุทธหัตถีต่อพระมหาอุปราชาว่าพระเกียรติเกริกไกรไปทั่วทุกหนทุกแห่ง ข้าศึกเกรงพระบรมเดชานุภาพไม่กล้า เสี่ยงทาสงคราม จึงพากันยอมอ่อนน้อมเป็นเมืองขึ้น กรุงศรีอยุธยาเจริญรุงเรืองมีความสุขสาราญพรั่งพร้อมด้วยโภคสมบัติ พร้อม ่ สรรพด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารอันสมบูรณ์ บ้านเมืองมีแต่ความสงบปราศจากศึกสงคราม ข้าราชการ ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายในก็พากันเฝ้าแหนอย่างพร้อมพรั่ง เหล่าทหารพล ช้าง ม้า อาวุธ ปืนไฟ ก็มีมากมาย ทั่วโลกล้วนสรรเสริญสดุดี (โคลงสี่สุภาพ) บุญญานุภาพแห่งพระนเรศวรมหาราชกษัตริย์แห่งแผ่นดินสยาม ข้าศึกได้ยนพระเกียรติยศชื่อเสียง ก็พากันเกรงพระบรมเดชานุภาพ ฤทธิ์ ิ ของพระองค์ดั่งพระรามที่ปราบยักษ์ก็ปานกัน เมื่อทาสงครามข้าศึกก็ต้องพ่ายแพ้ทกครั้ง ุ ข้าศึกพินาศไปเหมือนทหารยักษ์ พระองค์ดั่งพระรามอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ ข้าศึกแม้ตั้งแสนก็ไม่อาจต่อสู้ฤทธิพระองค์ได้ พากันตกใจกลัวแล้วหนีไป ์ เสร็จศึกแล้วก็ขึ้นครองราชสมบัติ พระบารมีของพระองค์ทาให้บานเมืองร่มเย็นดุจแสงเดือนที่ส่องอยูบนท้องฟ้าทุกแห่งหนทั่วบ้านเมืองมีแต่ความสมบูรณ์ ้ ่ ปราศจากความทุกข์ใดๆทั้งสิ้น จนเป็นที่แซ่ซ้องสรรเสริญทั่วไปทุกแหล่งหล้า ตอนที่ 2 เหตุการณ์ทางเมืองมอญ ฝ่ายนครรามัญ คือ หงสาวดี ทราบข่าวว่าพระมหาธรรมราชากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาถึงแก่พิราลัย พระราชโอรส คือ พระนเรศวรได้ขึ้นครองราชย์ สมบัติ จึงได้ประชุมหมูอามาตย์ปรึกษากันว่า กรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ บางทีโอรสทั้งสองพระองค์อาจจะวิวาทกันเพื่อแย่งชิงราชสมบัติ เรา ่ ควรยกทัพไปดูลาดเลา ถ้าได้เปรียบก็จะได้รบแย่งชิงเอาบ้านเมืองเสีย ขุนนางทั้งหลายต่างก็เห็นชอบตามพระราชดาริ จึงรับสั่งให้พระมหาอุปราชาราช โอรสจัดเตรียมทัพพร้อมด้วยทัพเมืองเชียงใหม่เป็นจานวนห้าแสนคนยกไปตีกรุงศรีอยุธยา พระมหาอุปราชากราบบังคมทูลว่าโหรทานายว่าพระองค์ เคราะห์รายชะตาถึงฆาต พระเจ้าหงสาวดีจึงตรัสเป็นเชิงประชดว่า “เจ้าอยุธยามีโอรสเก่งกล้าสามารถในการรบ ไม่ต้องให้พระบิดาใช้ แต่กลับต้องไม่ให้ทา ้ ศึกเสียอีก ถ้าเจ้าเกรงว่าเคราะห์รายก็อย่าไปรบเลย เอาผ้าสตรีมานุ่งเถอะจะได้หมดเคราะห์” พระมหาอุปราชาทรงอับอายขุนนางข้าราชการเป็นอันมาก ้ จึงเตรียมยกทัพโดยเกณฑ์จากหัวเมืองต่างๆรวมจานวนห้าแสนคนเตรียมยกทัพไปในเวลาเช้าตรู่วันรุงขึ้น แล้วเสด็จกลับตาหนักสั่งลาพระสนมทั้งหลาย ่ ด้วยความอาวรณ์จนถึงรุงเช้า ยังไม่ทนสว่างก็แต่งองค์ทรงเครื่องเสร็จแล้วก็ไปเฝ้าพระราชบิดาเพื่อ ทูลลาไปราชสงคราม ณ กรุงศรีอยุธยา ่ ั พระเจ้าหงสาวดีก็พระราชทานพรให้ชนะศึกสยามในครั้งนี้ แล้วก็ทรงเตือนว่าสงครามนั้นมากด้วยกลอุบาย อย่าคิดอะไรตื้นๆ อย่าทะนงตน แล้วทรงชี้ เรื่องที่โบราณสั่งสอนไว้ที่เป็นประโยชน์ต่อการรบ คือ โอวาท 8 ประการ 1. อย่าเป็นคนหูเบา (จงพ่อย่ายินยล แต่ตื้น) 2. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจผู้อื่น (อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา) 3. รู้จักเอาใจทหารให้หึกเหิมอยูเ่ สมอ (เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยูนา) ่ 4. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่ (อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้วขลาดเขลา) 5. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูปแบบ (หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน) 6. รู้หลักพิชัยสงคราม การตั้งค่าย (รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา) 7. รู้จักให้บาเหน็จความดีความชอบแก่แม่ทพนายกองที่เก่งกล้า ั (หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน) 8. อย่าลดความเพียรหรืออย่าเกียจคร้าน (อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ) ครั้งทรงรับโอวาทและคาประสาทพรแล้ว ก็กราบบังคมลามาที่เกยประทับบนหลังช้างพระที่นงพลายพัทธกอ ยกกองทัพออกจากพระนครผ่านโขลนทวาร ั่ เสด็จพระราชดาเนินไปโดยทางสถลมารคทันที
  • 2. ตอนที่ 3 พระมหาอุปราชายกทัพเข้าเมืองกาญจนบุรี พระมหาอุปราชายกทัพมาถึงด่านเจดีย์สามองค์ (ซึ่งเป็นชายแดนระหว่างพม่ากับไทยในปัจจุบัน) ก็ผ่านด่านเจดีย์สามองค์เข้ามาในเขตสยามทันที และ พระองค์ได้ทรงราพันถึงนางสนมว่า (24) เสด็จมาลาพังพระองค์เดียวเปล่าเปลี่ยวใจและน่าเศร้านัก เมื่อทรงชมต้นไม้และดอกไม้ท่ทรงพบเห็นระหว่างทางก็ค่อยเบิกบานพระทัยขึ้นมาบ้าง แต่ ี ก็ไม่วายคิดถึงนางสนมกานัลทั้งหลาย (25) ทรงเห็นต้นสลัดไดทรงดาริว่าเหตุใดจึงต้องจากน้องมานอนป่า มาเพื่อทาสงครามกับข้าศึก เห็นต้นสละที่ต้องสละน้องมาเหมือนชื่อต้นไม้ เห็นต้นระกาที่ชื่อต้นไม้ช่างเหมือนอกพี่แท้ๆ (26) ต้นสายหยุดเมื่อสายก็หมดกลิ่น แต่ใจพี่แม้ยามสายก็ไม่คลายรักน้อง กี่วันกี่คืนที่จากน้องพี่มีแต่ความทุกข์คิดถึงน้องทุกค่าเช้า ไม่รู้ว่าจะหยุดรักน้อง ได้อย่างไร (27) กองทัพมอญดูมืดฟ้ามัวดิน ทั้งกองทัพ ม้า ช้าง ถืออาวุธเป็นมันปลาบ เห็นธงปลิวไสวเต็มทองฟ้า ฝ่ายเจ้าเมืองกาญจนบุรี จัดทหารไปสืบข่าวในเขตมอญ ทหารก็ลัดเลาะไปทางลาน้าแม่ กษัตริย์ เห็นกองทัพยกมาก็ตกใจ เห็นฉัตรห้าชั้นก็ทราบว่าเป็นพระมหาอุปราชายกทัพมา ก็รีบกลับมาแจ้งข่าวศึกให้เจ้าเมืองกาญจนบุรีทราบ เจ้าเมือง ทราบข่าวศึกก็ตกใจมากจนขวัญไม่อยูกับตัว ปรึกษากันแล้วก็เห็นว่าเมืองเรามีกาลังน้อย ต่อสู้ก็คงสู้ไม่ได้จึงชวนกันหลบหนีเข้าป่าไป ่ ส่วนกองทัพพระมหาอุปราชาเร่งยกทัพมาถึงแม่น้าลากระเพิน ให้พระยาจิตตองทาสะพานไม้ไผ่ปูเพื่อยกพลเดินข้ามฝาก ชาวสยามเห็นชัดเช่นนั้นจึงมีสาร ลงชื่อทุกคนรายงานเรื่องข้าศึกยกทัพเข้ามา แล้วให้ขุนแผน (นายด่าน) ขีม้าเร็วมาบอกพญามหาดไทย เพื่อกราบทูลเรื่องให้ทรงทราบ ่ กองทัพมอญยกทัพมาถึงเมืองกาญจนบุรีเห็นบ้านเมืองว่างเปล่า ไม่มผู้ใดออกสู้รบ จะจับคนไทยมาสอบถามก็ไม่มเี ลยสักคน จึงรู้ว่าคนไทยทราบข่าวและ ี หลบหนีไปหมดแล้ว พระมหาอุปราชาจึงให้ยกทัพเข้าไปในเมือง แล้วยกทัพต่อไปถึงตาบลพนมทวนเกิดลมเวรัมภาพัดหอบเอาฉัตรหัก พระมหาอุปราชา ตกพระทัย ทรงให้โหรทานาย โหรทราบถึงลางร้ายแต่ไม่กล้ากราบทูลตามความจริง กลับทานายว่า เหตุการณ์เช่นนี้ถ้าเกิดในตอนเช้าไม่ดี ถ้าเกิดใน ตอนเย็นจะได้ลาภ และจะชนะศึกสยามในครั้งนี้ พระมหาอุปราชาได้ทรงฟังก็ทรงเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง พระองค์อดที่จะหวั่นในพระทัยไม่ได้ด้วยเกรงพ่ายแพ้ข้าศึก ด้วยความหมกมุนในพระทัยก็ทรงระลึกถึง ่ พระราชบิดาว่าถ้าพระองค์เสียโอรสให้แกข้าศึก จะต้องโทมนัสใหญ่หลวง เพราะเปรียบเหมือนพระองค์ถูกตัดพระพาหาทั้งสองข้างทีเดียว การรบกับพระนเรศวรใครก็ไม่อาจจะต่อสู้ได้ เสียดายแผ่นดินมอญจะต้องพินาศเพราะไม่มใี ครอาจจะต่อสู้ต้านทาน สงสารสมเด็จพระราชบิดา ที่จะต้องเปล่าเปลี่ยวพระทัย ทั้งพระองค์ก็ทรงชราภาพมากแล้ว เกรงจะพ่ายแพ้เสียทีแก่ชาวสยาม สงครามครั้งนี้หนักใจนัก เรารู้สึกหนาวเหน็บอยูใ่ นใจ ลูกตายใครจะเก็บผีไปให้ คงจะถูกทิ้งอยูไ่ ม่มใี ครเผา พระองค์จะอยูใ่ นพระนครแต่ลาพังพระองค์ เดียว ไม่มใี ครเป็นคู่ทกข์ริเริ่มสงครามเพียงลาพังได้อย่างไร พระองค์คงจะต้องคับแค้นพระทัย ุ ฝ่ายเจ้าเมืองต่างๆ ที่อยูใ่ กล้ๆ คือ เมืองสิงห์ เมืองสรรค์ เมืองสุพรรณ ก็พากันอพยพผูคนหนีเข้าป่า แล้วมีสารไปกราบให้พระนเรศวรทรงทราบ ้ ตอนที่ 4 พระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมืองเขมร ขณะนั้น สมเด็จพระนเรศวรประทับออกขุนนางอยูใ่ นท้องพระโรง ได้มีพระราชดารัสถามถึงทุกข์สุขของปวงชน ขุนนางก็กราบทูลให้ทรงทราบ พระองค์ ทรงตัดสอนคดีด้วยความยุติธรรม ราษฎรก็อยูด้วยความร่มเย็นเป็นสุข ่ แล้วพระองค์ก็มีพระราชดารัสถึงการที่จะยกทัพไปตีเขมร โดยกาหนดวันที่จะยกทัพออกไป ส่วนทัพเรือจะให้เกณฑ์หัวเมืองปักษ์ใต้เพื่อยกไปตีเมืองพุทไธ มาศและเมืองบักสักแล้ว ให้เข้าล้อมเมืองหลวงของเขมรไว้ พระองค์ทรงพระวิตกว่าพม่าจะยกกองทัพมา จะได้ให้ใครอยูป้องกันบ้านเมืองรอพระองค์เสด็จกลับมา ทรงเห็นว่าพระยาจักรีเป็นผู้ทเี่ หมาะสมก็ทรง ่ แต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาบ้านเมือง แต่ทรงคาดคะเนว่าทัพพม่าพึ่งจะแตกไปเมื่อต้นปี ปีนี้คงจะยังไม่ยกมา ถ้ามีก็เห็นจะเป็นปีหน้า ขณะที่ทรงปรึกษากันอยูนั้น ่ ทูตเมืองกาญจนบุรีก็มาถึง และกราบทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ พระองค์กลับทรงยินดีที่ได้รับข่าวศึก จึงให้พระเอกาทศรถเข้าเฝ้าเพื่อแจ้งข่าวให้ทราบ ตอนที่ 5 สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ สมเด็จพระนเรศวรมีพระราชดารัสว่า เราเตรียมทัพจะไปตีเขมร ศึกมอญกลับมาชิงตัดหน้า ไม่ให้เราไปรบเขมร เราจะได้ยกไปทาสงครามเพื่อเป็นการรื่น เริงครั้งยิ่งใหญ่ และจะต้องเอาชนะให้ได้ก่อน แล้วพระองค์ก็มีรับสั่งให้ประกาศแก่เมืองราชบุรีให้เกณฑ์ทหารจานวน 500 คน ไปซุมดูข้าศึกขณะกาลังข้ามสะพานที่ลากระเพินและให้รีบตัดสะพานให้ขาด จุดไฟเผาอย่าให้เหลือ ่ แล้วให้หลบหนีกลับมาอย่าให้ข้าศึกจับได้ พอรับสั่งเสร็จ ทูตจากเมืองสิงห์ เมืองสรรค์ เมืองสุพรรณบุรี ก็มาถึง เขาก็เบิกตัวเข้าเฝ้ากราบบังคมทูลเรื่องราวและถวายสารให้ทรงทราบว่า ขณะนี้ กองทัพมอญลาดตระเวนเข้ามาถึงเขตเมืองวิเศษไชยชาญแล้ว สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงเกรงกลัวข้าศึกแม้แต่น้อย กลับโสมนัสที่จะได้ปราบข้าศึก ทั้งสองพระองค์ปรึกษาถึงกลศึกที่จะรับมือกับมอญ ขุนนางได้ถวาย
  • 3. คาแนะนาให้ออกไปรับข้าศึกที่นอกกรุงศรีอยุธยา ความคิดนี้ตรงกลับพระดาริของพระองค์ แล้วมีรับสั่งให้จัดทัพกาลังพลห้าหมื่น เกณฑ์จากหัวเมืองตรีและจัตวา 23 หัวเมืองใต้ เป็นทัพหน้า ให้พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพ พระราชฤทธานนท์เป็นปลัดทัพ โดยให้กองหน้าออกไป ต่อสู้ข้าศึก หากสู้ไม่ได้พระองค์จะออกไปต่อสู้ในภายหลัง ทั้งสองแม่ทัพรับพระบรมราชโองการแล้วก็ยกทัพไปตั้งอยูตาบลหนองสาหร่าย โดยตั้งค่ายเป็น ่ รูปภูมิพยุหไกรสร ทหารทั้งปวงก็ขวัญดีมความรื่นเริงทั่วหน้า ตั้งรอทัพข้าศึกอยู่ ี ตอนที่ 6 พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรก็มีรับสั่งให้โหรหาฤกษ์ที่จะยกทัพหลวงไป หลวงญาณโยคและหลวงโลกทีปคานวณพระฤกษ์ว่า พระนเรศวรได้จตุรงคโชคอาจ ปราบข้าศึกให้แพ้สงครามไป ขอเชิญเสด็จยกทัพออกจากพระนคร ณ วันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่า เดือนยี่ เวลา 8.30 น. เมื่อได้มงคลฤกษ์ ทรงเคลื่อนพยุหยาตราเข้าโขลนทวาร พระสงฆ์ประพรมน้าพระพุทธมนต์แก่กองทัพเสด็จทางชลมารคไปประทับแรมที่ตาบลปากโมก เมื่อประทับทีปากโมก สมเด็จพระนเรศวรทรงปรึกษาการศึกอยูกับขุนนางผู้ใหญ่จนยามที่สามจึงเสด็จเข้าที่บรรทม ครั้นเวลา 4 นาฬิกา พระองค์ทรง ่ ่ พระสุบินเป็นศุภนิมิติ เรื่องราวราวในพระสุบินของสมเด็จพระนเรศวรมีว่า พระองค์ได้ทอดพระเนตรน้าไหลบ่าท่วมป่าสูง ทางทิศตะวันตก เป็นแนวยาวสุดพระเนตร และ พระองค์ทรงลุยกระแสน้าอันเชี่ยวและกว้างใหญ่นั้น จระเข้ใหญ่ตัวหนึ่งโถมปะทะและจะกัดพระองค์ จึงเกิดต่อสู้กันขึ้น พระองค์ใช้พระแสงดาบฟันถูกจระเข้ ตาย ทันใดนั้นสายน้าก็เหือดแห้งไป พอตื่นบรรทมสมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทานายพระสุบินนิมิตทันที พระโหราธิบดีถวายพยากรณ์ว่า พระสุบิน ครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะเทวดาสังหรให้ทราบเป็นนัย น้าซึ่งไหลบ่าท่วมป่าทางทิศตะวันตกหมายถึงกองทัพของมอญ จระเข้คือพระมหาอุปราชา การสงคราม ครั้งนี้จะเป็นการใหญ่ ขนาดถึงได้กระทายุตธหัตถีกัน การที่พระองค์เอาชนะจระเข้ได้แสดงว่าศัตรูของพระองค์จะต้องสิ้นชีวิตลงด้วยพระแสงของ้าว และที่ พระองค์ทรงกระแสน้านั้น หมายความว่า พระองค์จะรุกไล่บกฝ่าไปในหมู่ข้าศึกจนข้าศึกแตกพ่ายไปไม่อาจจะทานพระบรมเดชานุภาพได้ ุ พอใกล้ฤกษ์ยกทัพ สมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถเสด็จไปยังเกยทรงช้างพระที่นง คอยพิชัยฤกษ์อยูทันใดนั้นพระองค์ทอดพระเนตรพระบรม ั่ ่ สารีริกธาตุส่องแสงเรืองงาม ขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง ลอยมาในท้องฟ้าทางทิศใต้หมุนเวียนรอบกองทัพเป็นทักษิณาวรรค 3 รอบ แล้วลอยวนไปทางทิศ เหนือ สมเด็จพระพี่น้องทั้งสองพระองค์ทรงปิติยินดีตื้นตันพระทัย ทรงสรรเสริญและนมัสการ อธิษฐานให้พระบรมสารีริกธาตุน้นบันดาลให้พระองค์ ั ชนะข้าศึก แล้วสมเด็จพระนเรศวรเสด็จประทับช้างทรง คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ สมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จประทับช้างทรง คือ เจ้าพระยาปราบไตรจักร เคลื่อน ขบวนทัพพยุหยาตราต่อไป ตอนที่ 7 พระมหาอุปราชาทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าปะทะหน้าของไทย ฝ่ายกองตระเวนของมอญ ซึ่งได้รับคาสั่งให้มาสืบข่าวดูกองทัพไทยซึ่งจะออกมาต่อสู้ต้านทานจะได้นาข่าวมาพระมหาอุปราชา สมิงอะคร้าน สมิงเป่อ สมิง ซายม่วน พร้อมด้วยกองม้าจานวน 500 คน ได้ไปพบกองทัพไทยตั้งค่ายรอรับอยูที่หนองสาหร่ายจึงรีบกลับไปทูลแด่องค์พระมหาอุปราชา พระองค์ ่ ตรัสถามนายกองทั้งสามว่าประมาณกาลังพลฝ่ายไทยประมาณเท่าใด นายกองกราบทูลว่า ประมาณสิบ – สิบแปด หมื่น ดูเต็มท้องทุง พระมหาอุป ่ ราชาตรัสว่ากษัตริย์ไทยทั้งสองพระองค์ออกมารอรับทัพเป็นกองใหญ่ แต่กาลังน้อยกว่าของเรา ของเรามากกว่าหลายส่วน เราจะต้องรีบโจมตีหักเอาให้ได้ตั้งแต่แรกจะได้เบาแรง แล้วจะได้ไปล้อมกรุงศรีอยุธยาชิงเอาราชสมบัติเห็นจะได้เมืองโดยสะดวก แล้วรับสั่งให้ขุนพลเตรียม ทัพให้เสร็จแต่ 3 นาฬิกา พอ 5 นาฬิกา ก็ยกไปโดยกะสว่างเอาข้างหน้า พรุงนี้เช้าจะได้เข้าโจมตี ่ เสนาผู้ใหญ่ได้ทาตามรับสั่ง เมื่อถึงเวลาตีห้า พระมหาอุปราชาแต่งองค์แล้วเสด็จประทับช้างพลายพัธกอซึ่งกาลังตกมัน พระยาศรีไสยณรงค์และพระราชฤทธานนท์ เมื่อได้รับพระบรมราชโองการให้ออกโจมตีข้าศึก จึงจัดทัพพร้อมด้วยกาลังพล 5 หมื่น และจัดทัพแบบตรี เสนา คือแบ่งเป็นทัพใหญ่ 3 ทัพ แต่ล่ะทัพแยกออกเป็น 3 กอง ดังนี้ กองหน้า เจ้าเมืองธนบุรี (นายกองหน้า ปีกซ้าย) พระยาสุพรรณบุรี ( นายกองหน้า ) เจ้าเมืองนนทบุรี (นายกองหน้า ปีกขวา) กองหลวง เจ้าเมืองสรรคบุรี (นายกอง ปีกซ้าย) พระยาศรีไสยณรงค์ (แม่ทัพ ขี่ช้างพลายสุรงคเดชะ)
  • 4. เจ้าเมืองสิงห์บุรี (นายกอง ปีกขวา) กองหลัง เจ้าเมืองชัยนาท (นายกองหลัง ปีกซ้าย) พระราชฤทธานนท์ (ปลัดทัพคุมกองหลัง) พระยาวิเศษชัยชาญ (นายกองหลัง ปีกขวา) ทัพไทยเคลื่อนออกจากหนองสาหร่ายถึงโคกเผาข้าวเวลาประมาณ 7 นาฬิกา ได้ปะทะกับทัพมอญ ทั้งสองฝ่ายได้ต่อสู้กันด้วยอาวุธชนิดเดียวกันเป็นคู่ๆ ด้วยความสามารถ ต่างฝ่ายก็ล้มตายเป็นจานวนมาก พวกที่เหลือก็ต่อสูกันอย่างไม่เกรงกลัว กองทัพมอญที่ตามมามีมากขึ้น ตีโอบล้อมกองทัพ ไทย ฝ่าย ้ ไทยกาลังน้อยกว่า กระจายออกรับไม่ไหว จึงต้องถอย ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถก็ทรงเตรียมกาลังทหารไว้อย่างพร้อมเพรียงตั้งแต่ยงไม่สว่าง จนแสงเงินแสงทองจับขอบฟ้า ั ตอนที่ 8 ทัพหน้าไทยถอยไม่เป็นกระบวน ขณะที่พราหมณ์ผู้ทาพิธีและผู้ชานาญไสยศาสตร์ ทาพิธีเบิกประตูป่าและพิธีละว้าเซ่นไก่ หลวงมหาวิชัยรับพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ ไปทาพิธีตัดไม้ข่มนาม ตามไสยศาสตร์ สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงสดับเสียงปืนซึ่งไทยกับมอญกาลังยิงต่อสู้กันอยู่ แต่เสียงนั้นอยูไ่ กลฟังไม่ถนัด จึงรับสั่งให้หมื่นทิพเสนารีบไป สืบข่าว หมื่นทิพเสนาขึ้นม้าไปอย่างรวดเร็ว ถึงกองทัพไทยที่กาลังล่าถอย รับพลางถอยพลาง มอญตามมาอย่างกระชั้นชิด หมื่นทิพเสนาได้นาขุนหมื่นผู้ หนึ่งมาเฝ้าสมเด็จพระนเรศวร ขุนหมื่นผู้นั้นกราบทูลว่า เมื่อเวลา 7 นาฬิกา ทัพไทยได้ปะทะกับทัพมอญที่ตาบลโคกเผาข้าว ทัพไทยต้องถอยร่นอยู่ ตลอดเวลา เพราะกาลังข้าศึกมีมากกว่า สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสปรึกษาแม่ทัพนายกองว่าควรคิดหาอุบายแก้ไขการศึกษาอย่างไร บรรดาแม่ทัพนายก องกราบทูลขอให้พระองค์ส่งทัพไปยันไว้ ให้ข้าศึกอ่อนกาลังลงก่อนจึงเสด็จยกทัพหลวงออกต่อสู้ภายหลัง สมเด็จพระนเรศวรตรัสตอบว่า “ทัพไทยกาลัง แตกพ่ายอยู่ ถ้าจะส่งทัพไปต้านทานอีก ก็จะพลอยแตกอีกเป็นครั้งที่ 2 ควรที่ล่าถอยลงมาโดยไม่หยุดยั้ง เพื่อลวงข้าศึกให้ละเลิงใจ ยกติดตามมาไม่เป็น ขบวนพอได้ทีให้ยกกาลังส่วนใหญ่ออกโจมตี ก็คงจะได้ชัยชนะอย่างง่ายดาย” แม่ทัพนายกองเห็นชอบด้วยกับพระราชดารินั้น สมเด็จพระนเรศวรจึงมี รับสั่งให้หมื่นทิพเสนากับหมื่นราชามาตย์ไปแจ้งทัพหน้าของไทยให้ล่าถอยโดยเร็ว ทัพหน้าไทยจึงรีบถอยร่น ทัพพม่าไม่รู้กลอุบาย ก็รุกไล่ตามจนเสีย กระบวน ตอนที่ 9 ทัพหลวงเคลื่อนพล ช้างทรงพระนเรศวรและพระเอกาทศรถฝ่าเข้าไปในกองทัพข้าศึก ขณะสมเด็จพระนเรศวรประทับบนเกย เพื่อรอพิชัยฤกษ์เคลื่อนทัพหลวง ได้บงเกิดเมฆก้อนใหญ่เย็นเยือกลอยอยูทางทิศ พายัพ แล้วก็กลับแลดู ั ่ ท้องฟ้าแจ่มกระจ่าง ดวงอาทิตย์ส่องแสงจ้าโดยไม่มอะไรบดบัง อันเป็นนิมิตที่แสดงพระบรมเดชานุภาพและชี้ให้เห็นความมีโชคดี สมเด็จพระนเรศวรและ ี พระเอกาทศรถทรงเคลื่อนพลตาม เกล็ดนาค ตามตาราพิชัยสงคราม จนปะทะเข้ากับกองทัพข้าศึก ช้างพระที่นงทั้งสอง คือ พระเจ้าไชยานุภาพ และ ั่ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ได้สดับเสียง ฆ้อง กลอง และเสียงปืนของข้าศึก ก็ส่งเสียงร้องด้วยความคึกคะนอง เพราะกาลังตกมัน ควาญบังคับไว้ ไม่อยู่ มัน วิ่งไปโดยเร็ว จนทหารในกองตามไม่ทน มีแต่กลางช้างและควาญช้างสี่คนเท่านั้นที่ตามเสด็จไปด้วยจนเข้าไปใกล้กองหน้าของข้าศึก ช้างศึกได้กลิ่น มัน ก็พา ั กันตกใจหนีไปปะทะกับพวกที่ตามมาข้างหลัง ช้างทรงไล่แทงช้างของข้าศึกอย่างเมามัน ทหารพม่าล้มตายเป็นจานวนมาก ข้าศึกยิงปืนเข้าใส่ แต่ไม่ถูกช้าง ทรง การต่อสู้เป็นแบบตะลุมบอนจนฝุ่นตลบมองหน้ากันไม่เห็น เหมือนกับเวลากลางคืน สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสประกาศแด่เทวดาทั้งหลายบนสวสรรค์ทั้งหกชัน และพรหมทั้งสิบหกชั้นว่า ที่ให้พระองค์ท่านมาประสูตรเป็นพระมหากษัตริย์ ้ ครองราชย์สมบัติก็ด้วยหวังจะให้ทะนุบารุงศาสนา และพระรัตนตรัยให้เจริญรุงเรือง เหตุใดเล่าเทวดาจึงไม่บันดาลให้ท้องฟ้าสว่างมองเห็นข้าศึกได้ชัดเจน ่ พอดารัสจบไม่นานก็เกิดพายุใหญ่พดหอบเอาฝุ่นและควันหายไป ท้องฟ้าสว่างดังเดิม มองเห็นสนามรบได้ชัดเจน พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นพระมหา ั อุปราชาทรงช้างประทับยืนอยูใ่ ต้ต้นไม้ข่อย มีทหารห้อมล้อมและตั้งเครื่องสูงครบครัน ทั้งสองพระองค์ทรงไสช้างเข้าไปหาด้วยพระพักตร์ที่ผ่องใสไม่เกรงกลัวแม้แต่น้อย ข้าศึกยิงปืนไฟเข้ามาแต่ก็มิได้ต้องพระองค์เลย ตอนที่ 10 ยุทธหัตถี และชัยชนะของไทย สมเด็จพระนเรศวรทรงมีพระราชดารัสอันไพเราะไม่มสุรเสียงขุ่นแค้นพระทัยเลยแม้แต่น้อยว่า ี “ ผู้ทรงเป็นใหญ่แห่งประเทศมอญ พระเกียรคิยศเลื่องลือไปไกลทั่วทั้งสิบทิศ ข้าศึกได้ยินก็เกรงพระบรมเดชานุภาพ ไม่กล้าสู้รบพากันหนีไป พระเจ้าผู้พี่ปกครองประเทศอันบริบูรณ์ยิ่ง เป็นการไม่สมควรเลยทีพระเจ้าพี่ประทับอยูใ่ ต้ร่มไม้ เชิญพระองค์เสด็จมาร่วมทายุทธหัตถีร่วมกัน เพื่อแสดง ่ เกียรคิไว้ให้เป็นที่ปรากฏ ต่อจากเราทั้งสองจะไม่มีอีกแล้ว การรบด้วยการชนช้างจะถึงที่สุดเพียงนี้ ต่อไปจะไม่ได้ไม่พบอีก การที่กษัตริย์ทายุทธหัตถีกัน ก็คงมีแต่เราสองพี่น้อง ตราบชั่วฟ้าดินสลาย การทายุทธหัตถีก็เปรียบประดุจการเล่นที่รื่นเริงของกษัตริย์เพื่อให้ชมเล่นเป็นขวัญตาแก่มนุษย์จนถึงเมืองสวรรค์ ขอทูลเชิญเทวดาและพรหมทั้งปวงมา
  • 5. ประชุมในสถานที่นี้เพื่อชมการยุทธหัตถี ผู้ใดเชี่ยวชาญกว่า ขอทรงอวยพรให้ผู้นั้นรับชัยชนะ หวังจะให้พระเกียรติยศในการรบครั้งนี้ดารงอยูชั่วฟ้าดิน ว่า ่ กษัตริย์ทั้งสองพระองค์ได้กระทาสงครามกัน ใครรู้เรื่องก็จะได้ยกย่องสรรเสริญกันตลอดไป ” เมื่อสมเด็จพระนเรศวรได้ตรัสพรรณนาดังนั้น พระมหาอุปราชาได้ทรงสดับก็บังเกิดขัตติยะมานะกล้าหาญขึ้น รีบไสช้างเข้าต่อสู้โดยเร็วด้วยความกล้า หาญ ช้างทรงของผู้เป็นใหญ่ทั้งสองพระองค์ เปรียบเหมือนช้างเอราวัณและช้างคิรีเมขล์อันเป็นพาหนะของวัสวดีมาร ต่างส่ายเศียรและหงายงาโถมแทง อยูขวักไขว่ สองกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่งามเลิศล้าน่าชมยิ่งหนัก ประหนึ่งพระอินทร์และไพจิตราสูรทาสงครามกัน หรือไม่ก็เหมือนกับพระรามรบกับทศกัณฐ์ ่ กษัตริย์อื่นในทุกประเทศและทุกทิศไม่เสมอเหมือน กษัตริย์แห่งกรุงสยามก็สามารถต้านพระมหาอุปราชาได้ ทั้งสองไม่ทรงเกรงกลัวกันเลย และไม่ได้ลด ความห้าวหาญลงแม้แต่น้อย พระหัตถ์ก็ยกพระแสงของ้าวขึ้นกวัดแกว่งตามแบบฉบับ ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรโถมเข้าใส่ไม่ทันตั้งหลักยั้งตัว ช้าง ทรงของพระมหาอุปราชาได้ล่างใช้งาทั้งคู่ค้าคางเจ้าพระยาไชยานุภาพแหงนสูงขึ้น จึงได้ทีถนัด พระมหาอุปราชาเห็นเป็นโอกาส จึงเงื้อพระแสงของ้าวจ้วง ฟันอย่างแรงราวกับจักรหมุน แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงพระมาลาหลบพร้อมกับใช้พระแสงของ้าวปัดเสียทัน อาวุธของพระมหาอุปราชาจึงไม่ถูก พระองค์ ทันใดนั้นช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรเบนสะบัดได้ล่าง จึงใช้งางัดคอช้างของพระมหาอุปราชาจนหงาย ช้างของพระมหาอุปราชาเสียท่าต้องถอยหลัง พลาดท่าในการรบ สมเด็จพระนเรศวรจึงทรงเงื้อพระแสงของ้าวฟันถูกพระมหาอุปราชาที่พระอังสาขวาขาดสะพายแล่ง พระอุระของพระมหาอุปราชาถูกฟันจนเป็นรอยแยก พระวรกายก็เอนซบอยูบนคอช้างเป็นที่น่าสลดใจ สิ้นพระชนม์แล้วได้ไปสถิตในแดนสวรรค์ ควาญ ่ ช้างของสมเด็จพระนเรศวร คือ นายมหานุภาพก็ถูกปืนข้าศึกเสียชีวิต ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทายุทธหัตถีกับ มางจาชโร (พระพี่เลี้ยงของพระมหา อุปราชา) พระเอกาทศรถได้ใช้พระแสงของ้าวฟันถูกมางจาชโรตายซบอยู่บนหลังพลายพัชเนียรนั่นเอง และกลางช้างของพระเอกาทศรถ คือ หมื่นภักดี ศวรก็ถูกปืนข้าศึกตาย ทั้งสองพระองค์รบกับข้าศึกในครั้งนี้ด้วยพระบรมเดชานุภาพ เพราะมีแค่ทหารสี่คนและพระองค์ทั้งสองเท่านั้น พระเกียรติจึงแผ่ไปไกล ทหารที่ติดตามไป ตายสองและรอดกลับมาสอง กองทัพไทยติดตามมาทันเมื่อพระมหาอุปราชาขาดคอช้างแล้ว ต่างก็รีบเข้ามาช่วยรบ ฆ่าฟันทหาร พม่า มอญ ไทยใหญ่ ลาว เชียงใหม่ ตายลงจานวน มากเหลือคณานับ ที่เหลือบุกป่าฝ่าดงหนีไป ทั้งนี้เป็นพระบรมเดชานุภาพของพระองค์โดยแท้ ตอนที่ 11 พระนเรศวรทรงสร้างสถูปและปูนบาเหน็จทหาร สมเด็จพระนเรศวรมีรับสั่งให้สร้างสถูปสวมทับที่พระองค์ทรงทายุทธหัตถี ณ ตาบลตระพังตรุ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสืบต่อไป เสร็จศึกยุทธ หัตถีแล้ว สมเด็จพระนเรศวรโปรดให้เจ้าเมือง มล่วน รวมทั้งควาญช้างกลับ ไปแจ้งข่าวการแพ้สงครามและการสิ้นพระชนม์ของพระมหาอุปราชาแก่พระเจ้า หงสาวดี แล้วพระองค์ก็ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา ชื่อเสียงของกรุงศรีอยุธยาก็ลือเลื่องไปทั้งแผ่นดิน จากนั้นก็ทรงปรารภเรื่องการพระราชทานความดี ความชอบแก่ พระยารามราฆพ ( กลางช้างของพระนเรศวร ) และ ขุนศรีคชคง ( ควาญช้างของพระเอกาทศรถ ) โดยพระราชทานบาเหน็จ เครื่องอุปโภค เงิน ทอง ทาส และเชลยให้แล้วก็พระราชทานบานาญแก่บุตร ภรรยาของ นายมหานุภาพ และ หมื่นภักดีศวร ที่เสียชีวิตในสงครามให้สมกับความดีความชอบและที่มีความภักดีต่อพระองค์ ต่อมาก็ทรงปรึกษาโทษแม่ทพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทนตามกฎของพระอัยการศึกว่า ในการที่ข้าศึกยกทัพเข้ามาเหยียบแดนถึงชานพระนคร พระองค์และ ั ั พระเอกาทศรถทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทานุบารุงเหล่าสมณพราหมณ์และประชาราษฎรมิได้ยอท้อต่อความยากลาบาก ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จ ่ ออกไปปราบอริราชศัตรู แต่แม่ทัพนายกองทั้งปวงกลับกลัวข้าศึกยิ่งกว่าพระอาญา ไม่พยายามยกไปรบให้ทน ปล่อยให้ทั้งสองพระองค์ทรงช้างพระที่นง ั ั่ ฝ่าเข้าไปท่ามกลางข้าศึกตามลาพัง จนถึงได้กระทายุทธหัตถีมีชัยชนะ ลูกขุนได้เชิญกฎพระอัยการออกค้นดู เห็นว่าจะได้รับโทษถึงประหารชีวิต แต่เนื่องจาก ใกล้วัน 15 ค่า ( บัณรสี ) จึงทรงพระกรุณางดโทษไว้ก่อน ต่อวันหนึ่งค่า (ปาฏิบท) จึงให้ลงโทษประหาร ตอนที่ 12 สมเด็จพระวันรัตขอพระราชทานอภัยโทษ ยังไม่พ้นเวลาที่สมเด็จพระนเรศวรทรงกาหนดไว้ พอถึงวันแรม 15 ค่า เวลาประมาณ 8 นาฬิกาเศษ สมเด็จพระวันรัตวัดป่าแก้ว กับพระราชาคณะ 25 องค์สองแผนก คือ ฝ่ายคามวาสี และ อรัญวาสี พากันไปยังพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้นิมนต์เข้าไปในท้องพระโรง สมเด็จพระ นเรศวรทรงประนมพระหัตถ์แสดงคารวะ พระวันรัตได้ทูลถามข่าวที่สมเด็จพระนเรศวรทายุทธหัตถีจนพระมหาอุปราชาขาดคอช้าง เมื่อสมเด็จพระ นเรศวรทรงเล่าจบ พระวันรัตกราบทูลว่า พระมหาบพิตรพระราชสมภารเจ้าทรงได้รับชัยชนะ เหตุใดเล่าเหล่าบริพารจึงต้องโทษ ได้ยินแล้วที่สงสัย สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสต่อไปว่า แม่ทัพนายกองทั้งปวงซึ่งได้รับเกณฑ์เข้าในกองทัพ เมื่อเห็นข้าศึกก็ตกใจกลัว ยิ่งกว่ากลัวพระองค์ซึ่งเป็นเจ้านาย ไม่ ตามเสด็จให้ทัน ปล่อยให้พระองค์สองพี่น้องเข้าสู้รบท่ามกลางข้าศึกจานวนมากจนมีชัยชนะรอดพ้นความตายจึงได้มาดูหน้าพวกทหารเหล่านั้น ทังนี้เพราะ้
  • 6. คุณความดียิ่งใหญ่ที่ได้ทานุบารุงบ้านเมืองไว้คอยอุดหนุนพระบรมเดชานุภาพของพระองค์สองพี่น้อง ถ้าไม่ได้ความดีแต่เก่าแล้ว ประเทศไทยจะต้องสิ้น อานาจเสียแผ่นดินแก่กรุงหงสาวดีเป็นการเสื่อมเสียเกียรติยศ จึงควรลงโทษถึงตายตามพระอัยการศึกเพื่อให้เป็นตัวอย่างมิให้คนอื่นเอาเยียงอย่างสืบไป ่ สมเด็จพระวันรัตจึงกราบทูลว่า “ บรรดาข้าทูลละอองธุลีพระบาทล้วนมีความจงรักภักดี เป็นการผิดแปลกไปจากแบบแผนแต่ก่อนที่ว่าไม่จงรักยาเกรง พระองค์ ทั้งนี้เพราะพระบรมเดชานุภาพสาแดงให้ปรากฏแก่ปวงชนเป็นทีน่าอัศจรรย์จึงบันดาลให้เป็นเช่นนั้น ่ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ( พระตรีโลกนาถ ) ทรงชนะพระยามารลาพังพระองค์เอง เช่นเดียวกับสมเด็จพระนเรศวร พระเอกาทศรถ เสด็จไปปราบ อริราชศัตรูจนแพ้พ่ายโดยปราศจากไพร่พล พระเกียรติยศจึงเลื่องลือกึกก้องไปทั่วทุกแห่งหน หากมีทหารล้อมมากมายถึงเอาชนะได้ พระเกียรติยศก็ไม่ฟ้งเฟื่องเพิ่มพูนขึ้น และกษัตริย์ทั้งหลายก็จะไม่พากันออกพระนามเอิกเกริกกันเช่นนี้ ขอพระองค์ทั้งสองอย่าได้โทมนัสน้อยพระทัยไป ุ เลย ทั้งนี้เพราะเพื่อราชกฤฎาภินิหารของพระองค์ ทวยเทพทั้งหลายจึงบันดาลให้เป็นไปดังนั้น ขอมหาบพิตรทั้งสองพระองค์ อย่าได้ทรงขุ่นแค้นพระทัย ไปเลย ทั้งนี้เป็นไปตามที่กราบทูลทุกประการ ” สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงฟังพระวันรัตถวายวิสัชนาบรรยายโดยพิสดารโดยวิธีเปรียบเทียบกับกฤฎาภินิหารแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ทรงปราโมทย์ ออกพระโอษฐ์สาธุถวายนมัสการแล้วตรัสว่า พระวันรัตกล่าวคาน่าขอบใจ ทุกสิ่งที่ชี้แจงสมควรและเป็นจริงไม่สงสัยแม้แต่น้อย พระวันรัตเห็นว่าทรงคลายกริ้วแม่ทัพนายกองแล้ว จึงกล่าวถวายพระพรให้พระองค์ปราศจากทุกข์ภัยอันตรายทั้งปวง แล้วกราบทูลต่อไปว่า แม่ ทัพ นายกองเหล่านี้มีความผิดรุนแรง ควรได้รับโทษทั้งโคตร แต่เคยได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณมาแต่ก่อนนับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระบรมราชอัยกา และสมเด็จพระ มหาธรรมราชาพระราชบิดา จนล่วงถึงสมเด็จพระนเรศวรได้ขึ้นครองราชสมบัติ เปรียบได้กับพุทธบริษัททั้งปวง ช่วยกันดารงพระพุทธศาสนาต่อมา ขอให้พระองค์ทรงงดโทษประหารชีวิตแม่ทัพนายกองไว้สักครั้งหนึ่ง เพื่อจะได้เป็นกาลังส่งเสริมพระบรมเดชานุภาพ เมื่อศึกสงครามเกิดขึ้นอีก เขาเหล่านั้น จะคิดแก้ตัว หาความดีความชอบเพื่อเพิ่มพูนพระบารมีให้แผ่ไปทั่วบ้านเมืองชองพระองค์เป็นแน่ สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงสดับข้อความของพระวันรัตที่ทูลขออภัยบรรดาแม่ทัพนายกองทั้งปวง ก็ทรงพระกรุณาที่ว่าบุคคลเหล่านี้ยงจงรักภักดีตอ ั ่ พระองค์อยู่ จึงพระราชทานอภัยโทษตามคาทูลของพระวันรัต แต่ทรงเห็นสมควรที่จะใช้ให้ไปตีเมืองตะนาวศรี ทวาย และ มะริด เป็นการชดเชยความผิด สมเด็จพระวันรัตกราบทูลว่า การรบทัพจับศึกไม่ใช่กจอันควรที่พระภิกษุจะเห็นด้วย พระองค์จะทรงมีพระราชบัญชาใช้สอยประการใดสุดแล้วแต่พระราช ิ อัธยาศัย แล้วสมเด็จพระวันรัตถวายพระพรลา พาคณะสงฆ์กลับวัด สมเด็จพระนเรศวรจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้แม่ทัพนายกองพ้นโทษ และคงดารงตาแหน่งยศเดิม สมเด็จพระนเรศวรทรงมีพระราชกาหนดให้ เจ้าพระยาคลังคุมทหาร 50,000 คน ไปตีเมืองทวาย ให้เจ้าพระยาจักรีคุมทัพจานวนรี้พลเท่ากันไปตีเมือง มะริด และ ตะนาวศรี มหาอามาตย์ทั้งสองกราบถวายบังคมลาไปเตรียมทัพยกไปทันที แล้วทั้งสองพระองค์ก็มีพระราชดารัสถึงหัวเมืองฝ่ายเหนือว่า ไทยได้กวาดต้อนครอบครัวเข้ามาจานวนมากแต่ยังไม่หมด ทรงมีพระราชดาริว่าถึงศึก พม่า มอญ ว่าคงจะลดลงถึงจะยกมาก็คงไม่นากลัว ควรจะได้ทะนุบารุงหัวเมืองฝ่ายเหนือไว้ให้รุงเรืองปรากฏเป็นเกียรติยศสืบต่อไปชั่วกัลป ่ ่ คุณธรรมทีไ่ ด้รบจากเรือง ลิลตตะเลงพ่าย ั ่ ิ 1 .ความรอบคอบไม่ประมาท ในเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายนี้เราจะเห็นคุณธรรมของพระนเรศวรได้อย่างเด่นชัดและสิ่งที่ทาให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ททรงพระปรีชาสามารถมากทีสุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท ี่ ่ ดั่งโคลงสี่สุภาพตอนหนึ่งกล่าวว่า ๖๒(๑๖๔) พระห่วงแต่ศึกเสี้ยน อัสดง เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้า คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ อาจประกันกรุงถ้า ทัพข้อยคืนถึง หลังจากที่พม่ายกกองทัพเข้ามาพระองค์ก็ทรงสั่งให้พ่ายพลทหารไปทาลายสะพานเพื่อว่าเมื่อฝ่ายไทยชนะศึกสงคราม พ่ายพลทหารของฝ่ายพม่าก็จะตก
  • 7. เป็นเชลยของไทยทั้งหมด นั่นแสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ทมีทัศนคติทกว้างไกล ซึ่งมีผลมาจากความรอบคอบไม่ประมาท ี่ ี่ 2 .การเป็นคนรูจกการวางแผน ้ั จากการที่เราได้รับการศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายเราจะเห็นได้ชัดเจนว่าในช่วงตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเปลี่ยนแผนการรบเป็นรับศึกพม่าแทน ไปตีเขมร พระองค์ได้ทรงจัดการวางแผนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอย่างไม่รอช้า ทรงแต่งตั้งให้พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพหน้าและพระราชฤทธานนท์เป็น ปลัดทัพหน้าตามด้วยแผนการอื่นๆอีกมากมายเพื่อทาการรับมือ และพร้อมที่จะต่อสู้กับข้าศึกศัตรูทางฝ่ายพม่า ยกตัวอย่างโคลงสี่สุภาพที่แสดงให้เราเห็น ถึงการรู้จักการวางแผนของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๖๓(๑๖๕) พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา คือพระยาจักรี กาจแกล้ว พระตรัสแด่มนตรี มอบมิ่ง เมืองเฮย กูไกลกรุงแก้ว เกลือกช้าคลาคืน เมื่อเราเห็นถึงคุณธรรมทางด้านการวางแผนแล้วเราก็ควรเอาเยียงอย่างเพื่อใช้ในการดาเนินชีวิตให้เป็นไปอย่างมีระเบียบ มีแบบแผน ซึ่งจากคุณธรรม ่ ข้อนี้ก็อาจช่วยเปลี่ยนแปลงให้ท่านผู้อ่านทุกท่าน ให้กลายเป็นบุคคลที่มคณภาพชีวิตทางด้านการวางแผนในการดาเนินชีวิตก็เป็นได้ถ้าเรารู้จักการวางแผน ีุ ให้กับตัวเราเอง 3. การเป็นคนรูจกความกตัญญูกตเวที ้ จากบทการราพึงของพระมหาอุปราชาถึงพระราชบิดานั้น แสดงให้เราเห็นอย่างเด่นชัดเลยทีเดียวว่าพระมหาอุปราชาทรงมีความห่วงใย อาทร ถึงพระราช บิดาในระหว่างที่ทรงออกรบ ซึ่งแสดงให้เราเห็นถึงความรักของพระองค์ที่มีต่อพระราชบิดา โดยพระองค์ได้ทรงถ่ายทออดความนึกคิด และราพึงกับ ตัวเอง ดั่งโคลงสี่สุภาพที่กล่าวไว้ว่า ๕๑(๑๕๒) ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร ใครจักอาจออกรอน รบสู้ เสียดายแผ่นดินมอญ มอด ม้วยแฮ เหตูบ่มมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ ี ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายว่า เมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเล่าจะออกไปรบแทนท่านพ่อ จากโคลงนี้ไม่ได้แสดงให้เราเห็นถึงความกตัญญูที่มต่อพระราชบิดา ี ของพระมหาอุปราชาเพียงอย่างเดียว แต่ยงมีความกตัญญู ความ ั จงรัก ภักดี ต่อชาติบ้านเมืองอีก 4. การเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ทมพระปรีชาสามารถทางด้านการมีความสติปัญญาและมีไหวพริบเป็นเลิศ ดังนั้นจึงไม่แปลกเลยที่ ี่ ี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจะทรงมีคุณธรรมทางด้านการเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ ด้วยเหตุน้ทาให้พระองค์ทรงสามารถแก้ไขสถานการณ์อันคับ ี ขันในช่วงที่ตกอยูใ่ นวงล้อมของพม่าได้ ซึ่งฉากที่แสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงมีคุณธรรมทางด้านนี้คือ
  • 8. ๑๓๐(๒๙๖) โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา บัด ธ เห็นขุนกรี หนึ่งไสร้ เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย์ เรียงคั่ง ขูเฮย หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชี้เฌอนาม ๑๓๑(๒๙๗) ปินสยามยลแท้ท่าน คะเนนึก อยูนา ่ ่ ถวิลว่าขุนศึกสา- นักโน้น ทวยทับเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ ครบเครื่องอุปโภคโพ้น เพ่งเพี้ยงพิศวง สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วิธีการสังเกตหาฉัตร5ชั้นของพระมหาอุปราชา ทาให้พระองค์ทรงทราบว่าใครเป็นพระมหาอุปราชาทั้งๆที่มีทหารฝ่ายข้าศึกร่าย ล้อมพระองค์จนรอบ แต่ด้วยความมีไหวพริบพระองค์จึงตรัสท้ารบเสียก่อนเพราะถ้าพระองค์ไม่ทรงตรัสท้ารบเสียก่อนพระองค์อาจทรงถูกฝ่ายข้าศึกรุม โจมตีก็เป็นได้ ดังนั้นเมื่อเราเห็นคุณธรรมของพระองค์ด้านนี้แล้วก็ควรยึดถือและนาไปปฏิบัติตามเพราะสิ่งดีๆเหล่านี้อาจก่อให้เกิดผลดีต่อตนเอง และต่อ ประเทศชาติได้ 5. ความซื่อสัตย์ จากเนื้อเรื่องนี้เราจะเห็นได้ว่าบรรดาขุนกรีและทหารมากมายทั้งฝ่ายพม่าและฝ่ายไทยมีความซื่อสัตย์และความจงรักภักดี ต่อประเทศชาติของตนมาก เพราะจากการที่ศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายเรายังไม่เห็นเลยว่าบรรดาทหารฝ่ายใดจะทรยศต่อชาติบ้านเมืองของตน ซึ่งก็แสดงให้เราเห็นว่าความซื่อสัตย์ ในเราองเล็กๆน้อยๆก็ทาให้เราสามารถซื่อสัตย์ในเรื่องใหญ่ๆได้ซึ่งจากเรื่องนี้ความซื่อสัตย์เล็กๆน้อยๆของบรรดาทหารส่งผลให้ชาติบ้านเมืองเกิดความเป็น ปึกแผ่นมั่นคงได้ เราก็เช่นเดียวกัน....ถ้าเรารู้จักมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองดั่งเช่นบรรดาขุนกรี ทหารก็อาจนามาซึ่งความเจริญและความมั่นคงในชีวิตก็เป็นได้ซึ่งสิ่งนี้อาจส่งผล ประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัวและชาติบ้านเมือง 5. การมีวาทศิลป์ในการพูด จากเรื่องนี้มีบคคลถึงสองท่านด้วยกันที่แสดงให้เราเห็นถึงพระปรีชาสามารถทางด้านการมีวาทศิลป์ในการพูด ท่านแรกคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ุ ในโคลงสี่สุภาพที่ว่า ๑๗๗(๓๐๓) พระพีพระผู้ผ่าน ภพอุต-ดมเอย ่ ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ เชิญการร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ สืบว่าสองเราไซร้ สุดสิ้นฤามี เราจะเห็นว่าสมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วาจาทีไ่ พเราะมีความสุภาพน่าฟังต่อพระมหาอุปราชาซึ่งเป็นพี่เมื่อครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยูทางฝ่าย ่ พม่า
  • 9. ท่านที่สองคือ สมเด็จพระวันรัต เมื่อครั้งที่พระองค์ทรงมาขอพระราชทานอภัยโทษจากพระนเรศวร ให้กับบรรดาทหารที่ตามเสด็จพระนเรศวรในการรบ ไม่ทน ซึ่งอยูใ่ นโคลงสี่สุภาพที่ว่า ั ๑๗๗(๓๕๗) พระตรีโลกนาถแผ้ว เผด็จมาร เฉกพระราชสมภาร พี่น้อง เสด็จไร้พิริยะราญ อรินาศ ลงนา เสนอพระยศยินก้อง เกียรติก้องทุกภาย การมีวาทศิลป์ในการพูดของสมเด็จพระวันรัตครั้งนี้ทาให้บรรดาขุนกรี ทหารได้รับการพ้นโทษดังนั้นจากคุณธรรมข้อนี้ทาให้เราได้ข้อคิดที่ว่า การพูดดี เป็นศรีแก่ตัวเมื่อเราทราบเช่นนี้แล้วเราทุกคนก่อนที่จะพูดอะไรต้องคิดและไตร่ตรองให้ดีก่อนที่จะพูด ข้อคิดจากเรือง - ่ 1. ลิลิตตะเลงพ่ายสะท้อนให้เห็นความรักชาติ ความเสียสละ ความกล้าหาญ ของบรรพบุรุษ ซึ่งคนไทยควรภาคภูมิใจ 2. แผ่นดินไทยต้องผ่านการทาศึกสงครามอย่างมากมายกว่าที่จะมารวมกันเป็นปึกแผ่นอย่างปัจจุบันนี้ 3. พระราชภารกิจของกษัตริย์ไทยในสมัยก่อน คือการปกครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขและรบเพื่อปกป้องอธิปไตยของไทย คุณค่าจากเรือง ่ ๑. เป็นวรรณคดีชั้นสูงของชาติซึ่งถือได้ว่าเป็นแบบอย่างที่ดีของวรรณคดีอื่นๆ ๒. ให้คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์หลายประการ เช่น การเล่นคา การแทรกบทนิราศคร่าครวญ การใช้โวหารต่างๆการพรรณนาฉากที่ทาให้ผู้อ่านมี อารมณ์ร่วมและเกิดความรู้สึกคล้อยตาม ๓. ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และลักษณะผู้ฟังที่ดี ๔. ปลุกใจให้คนไทยรักและเทิดทูนแผ่นดินไทยจนพร้อมที่จะเสียสละเพื่อบ้านเมือง
  • 10. แบบทดสอบ คาชีแจง ให้นกเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้องทีสด ้ ั ่ ุ่ 1. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายที่แท้จริงของผู้แต่งที่แต่งเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย ่ ก. บันทึกการทาสงครามยุทธหัตถีครังสาคัญ้ ข. สดุดีพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ ค. เพื่อแต่งวรรณคดีสดุดีพระมหากษัตริยเ์ ช่นเดียวกับลิลิตยวนพ่ายในสมัยอยุธยา ง. ต้องการบรรยายชัยชนะครั้งยิงใหญ่ของฝ่ายไทยในการทาสงครามระหว่างไทยกับพม่า ่ 2. เนื้อความในลิลิตตะเลงพ่ายข้อใดที่ไม่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาตอนทายุทธหัตถี ก. สองโจมสองจู่จ้วง บารู สองขัตติยสองขอชู เชิดค้า ข. งามสองสุรยราชล้า เลอพิศ พ่างพัชรินทร์ไพจิตร ศึกสร้าง ค. พระพี่พระผูผ่าน ้ ภพอุต- ดมเอย ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ ง. พระห่วงแต่ศึกเสี้ยน อัสดง เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้า 3. พระราชดารัสของสมเด็จพระนเรศวรข้อใดที่ทาให้พระมหาอุปราชาตัดสินพระทัยกระทายุทธหัตถี ก. สงครากษัติรย์ทรง ภพแผ่น สองฤา สองราชรอนฤทธิร้า ์ เรื่องรู้สรรเสริญ ข. ขัตติยายุทธ์บรรหาร คชคู่ กันแฮ คงแต่เผือพี่น้อง ตราบฟ้าดินกษัย ค. เชิญราชร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ สืบกว่าสองเราไสร้ สุดสิ้นฤามี ง. ไว้เพื่อผดุงเดชเจ้า จอมปราณ ก่อเกิดราชราบาญ ใหม่แม้ 4. ความในข้อใดแสดงลักษณะวรรณศิลป์มากที่สุด ก. พวกพลทัพรามัญ เห็นไทยผันหนีหน้า ไป่หยุดยั้งช้า ตื่นต้อนแตกฉาน น่านนา ข. ว่องต่อว่องชิงชัย ไวต่อไวชิงชนะ ม้าไทยพะม้ามอญ ต่างเข้ารอนเข้าโรม ค. ธก็ไสสองสารทรง ตรงเข้าถีบเข้าแทง ด้วยแรงมันแรงกาย หงายงาเสยสารเศิก ง. ธุมาการเกิดกระลบ อบอลเวงฟากฟ้า ดูบ่รู้จักหน้า หนึ่งสิ้นแสงไถง แลนา
  • 11. 5. สมเด้จพระวันรัตใช้กลวิธีการโน้มน้าวจิตใจอย่างไรจึงทาให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระราชทานอภัยโทษ ประหารชีวิตแก่แม่ทัพนายกอง ก. พูดโน้มน้าวให้เห็นโทษของการสั่งประหารชีวิต ข. พูดโน้มน้าวให้เห็นจริงตามกระบวนการของเหตุผล ค. พูดโน้มน้าวให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย ง. พูดโน้มน้าวให้เห็นความน่าเชือถือของบุคคลที่พูด ่ 6. คาประพันธ์ข้อใดใช้อุปมาภาพพจน์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พระตรีโลกนาถแผ้ว เผด็จมาร เฉกพระราชสมภาร พี่น้อง ก. เห็นประภาพเจ้าช้าง เชี่ยวกว่าเชี่ยวเหลืออ้าง เอิกเอื้ออัศจรรย์ ยิ่งนา ข. สองฝ่ายหาญใช่ชา ้ คือสีหสู้สีหกล้า ต่อแกล้วในกลาง สมรนา ค. กองทัพตามกันเต้า เสียงสนั่นลันเท้า ่ พ่างพื้นไพรพัง เพิกฤา ง. ดังตรลบโลกแล้ ฤาบ่ร้างรู้แพ้ ชนะผูใ้ ดดาล ฉงนนา 7. คาประพันธ์ในข้อใดใช้การสัทพจน์เป็นกลวิธีในการประพันธ์ ก. ดูคะคลาคะคล่า บ่รู้กี่สาสับสน ่ ข. ศรต่อศรยิงยืน ปืนต่อปืนยิงยัน ค. อุดอึงโห่เอาฤกษ์ เอิกอึงโห่เอาชัย ง. เงื้อดาบฟันฉะฉาด ง่าง้าวฟาดฉะฉับ 8. คาประพันธ์ในข้อใดใช้คาว่า "ฉัตร" ต่างจากข้ออื่น ก. อลงกตแก้วแกมกาญจน์ เครื่องพุดตานตกแต่ง แข่งสีทองทอเนตร ปักเศวตรฉัตรฉานฉาย ข. ซึ่งแสร้งรังสฤษฎ์ให้ มาอุบติั ในประยูรเศวตฉัตร สืบเชื้อ ค. บัดธเห็นขุนกรี หนึ่งไสร้ เถลิงฉัตรจัตรพิรีย์ ุ เรียงคั่ง ขูเฮย
  • 12. ง. ภูธรเมิลอมิตรไท้ ธารง สารแฮ ครบสิบหกฉัตรทรง เทริดเกล้า 9. ข้อใดแสดงลักษณะที่ขาดความมีระเบียบวินัยของกองทัพ ก. เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตากเต็มท่งแถวเถื่อน เกลื่อนแสนยาทัพ ถับปะทะไพรินทร์ ข. ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดูมหมาดาดาษ สะพราศพร้อมโดยขบวน ค. ไล่โรมรอนทวยสยาม หลามเหลือหลั่นคั่งคับ ซับซ้อนแทรกสับสน ยลบ่เป็นทัพเป็นกอง ง. ปวงทัพปลูกค่ายสร้าง กลางสมร ภูมิพยุหไกรสร ศึกตั้ง 10. ตอนใดที่แสดงให้เห้นชัดว่า สมเด็จพระนเรศวรทรงแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยสติและความเด็ดเดี่ยวสมกับเป็นผู้นาที่ ดี ก. ตอนที่ทรงทราบว่าทัพหน้าแตกยับเยิน ข. ตอนที่ทรงท้ารบกับพระมหาอุปราชา ค. ตอนที่ทรงทราบข่าวศึกพม่าจากเมืองกาญจนบุรี ง. ตอนพระมหาอุปราชาสั่งกองทัพทังหมดเข้าจู่โจมตีทัพไทยที่ออกมาตั้งรับนอกพระนคร ้