SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘
   ๏ แรมทางกลางเถื่อน                            ห่างเพื่อนหาผู้
หนึ่งใดนึกดู                                     เห็นใครไป่มี
หลายวันถั่นล่วง                                  เมืองหลวงธานี
นามเวสาลี                                        ดุ่มเดาเข้าไป
     ๏ ผูกไมตรีจิต                               เชิงชิดชอบเชื่อง
กับหมู่ชาวเมือง                                 ฉันท์อัชฌาสัย
เล่าเรี่องเคืองขุ่น                             ว้าวุ่นวายใจ
จาเป็นมาใน                                      ด้าวต่างแดนตน
     ๏ เขาแสนสังเวช                             สังเกตอาการ
แห่งท่านอาจารย์                                 ท่าทีทุกข์ทน
ภายนอกบอกแผล                                    แน่แท้ทุพพล
เห็นเหตุสมผล                                    ให้พักอาศรัย
     ๏ ข่าวคราวกล่าวกัน                        อื้อพลันทันแพร่หลาย
ลือล่ากาจาย                                     แจ้งรั่วทั่วไป
มนตรีกราบทูล                                    เค้ามูลขานไข
แด่องค์ท้าวไท                                  แหล่งหล้าลิจฉวี
   ๏ ทรงทราบข่าวสาสน์                          โดยราชดารัส
สัญญาอาณัติ                                    ทุ่มฆาฏเภรี
ทุกไท้ราชา                                     อาณาวัชชี
มาชุมนุมมี                                     การตรึกปรึกษา
  ๏ แน่นเนืองเนื่องนับ                         ลาดับโดยหมู่
ทันใดราชผู้                                    เป็นใหญ่ในสภา
เริ่มอารัมภ์พจน์                               ตามบทมีมา
ชี้แจงจักปรา                                   รภกันฉันใด
๏ พราหมณ์หนึ่งซึ่งเขา                                                              เป็นเปาโรหิต
พวกปัจจามิตร์                                                                         มาคธเขตไกล
ต้องราชอาญูา                                                                          หนีมาอาศรัย
จาไล่ให้ไป                                                                            ฤๅรับเลี้ยงดู

                                                        ฯลฯ




                                  ถอดความวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘
     วัสสการพราหมณ์พักตามทางกลางป่า ห่างไกลจากเพื่อน ๆ จะหาผู้ใดสักคนก็ไม่มี เป็นเวลาหลายวันจึงจะเข้าเขต
เมืองเวสาลี อันเป็นเมืองหลวงของแคว้นวัชชี และมุ่งหน้าเดินเข้าไปในเมือง เข้าไปผูกมิตรกับชาวเมืองด้วยอัธยาศัยอันดี
เล่าเรื่องราวแต่หนหลังให้ฟัง ชาวเมืองพากันสงสารเห็นใจ ประกอบกับท่าทางทุกข์ทรมานและบาดแผล เห็นสมเหตุสมผล
จึงให้ที่พักอาศัย ข่าวเล่าลือกันไปแพร่หลายรู้กันทั่วไป ข้าราชการจึงนาเรื่องขึ้นกราบทูลกษัตริย์ลิจฉวี เมื่อทรงทราบข่าว
จึงมีพระราชดารัสสั่งให้ตีกลองเป็นสัญญาณ เชิญกษัตริย์ลิจฉวีทุกพระองค์มาประชุมปรึกษาหารือ เมื่อมาประชุมอย่าง
เนืองแน่นตามลาดับแล้ว กษัตริย์ลิจฉวีผู้เป็นประธานในที่ประชุมก็ทรงดารัสเริ่มต้นขึ้นถึงเรื่องที่เกิดขึ้นว่าจะทาประการใด
พราหมณ์คนหนึ่งเป็นปุโรหิตแคว้นมคธซึ่งเป็นศัตรูของเรา ต้องโทษหนีมาอาศัยอยู่ในเมืองของเรา จะขับไล่ไปให้พ้นหรือ
อุปการะไว้ดี ที่ประชุมทั้งหมดตกลงเป็นเสียงเดียวกันว่า บ้านเมืองของมันนั้นเป็นศัตรูกับวัชชีอย่างแน่ชัด อาจมีแผนการ
หรือกลอุบายมาเป็นไส้ศึกสืบความลับ หากเห็นสิ่งใดไม่ชอบมาพากลก็ไล่มันไปเสียทันที แต่ขณะนี้ยังไม่แน่ชัดเป็นเพียง
แค่ข้อสงสัยควรรั้งรอไว้ก่อน ให้ไปพาตัวเข้ามาสอบสวนความจริงเท็จเป็นประการใดเสียก่อนแล้วจึงจะสั่งการตามความ
เหมาะสมต่อไป
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
  ๑. การสรรคา เป็นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและอารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้


     ๑.๑ การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการ มีการใช้คาที่ประณีตเป็นพิเศษ เมื่อ
     กล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระมหากษัตริย์ ครู อาจารย์ จะใช้คาศัพท์ภาษสีสันสกฤต


                                             ดังบทประพันธ์
     ๏ พราหมณ์หนึ่งซึ่งเขา                                                      เป็นเปาโรหิต
     พวกปัจจามิตร์                                                              มาคธเขตไกล
     ต้องราชอาญูา                                                               หนีมาอาศรัย
     จาไล่ให้ไป                                                                 ฤๅรับเลี้ยงดู



     ๑.๒ เล่นคาซ้า การใช้คาซ้ากันในตาแหน่งต่างๆของคาประพันธ์ ช่วยสร้างอารมณ์ความรู้สึกและ
     เน้นย้าความหมาย ตัวอย่างบทประพันธ์


     ๑.๓ เล่นคาซ้อน เป็นการนาคาเดี่ยว ๒ คาที่มีความหมายหรือเสียงคล้ายกัน ใกล้เคียงกันมาเข้าคู่กัน
     โดยตาแหน่งของคาซ้อนอาจอยู่ชิดกันหรือแยกจากกัน เพื่อเล่นคาล้อและย้าความ
      เช่น


        ๏ แรมทางกลางเถื่อน                                                          ห่างเพื่อนหาผู้
     หนึ่งใดนึกดู                                                                   เห็นใครไป่มี
๑.๔ การหลากคา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คาไวพจน์ ทาให้เกิดความหมายอันไพเราะกินใจ

         เป็นสิ่ง ที่สร้างสรรค์อารมณ์ซึ่งอาจเกิดได้ด้วยกลวิธีต่างๆในการแต่งของกวี



       ๒. การใช้โวหารภาพพจน์

          การใช้โวหารภาพพจน์ เป็นกลวิธีการนาเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้
          แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทาให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึก
          สะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน



          ๒.๑ บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับเหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อเข้าใจง่าย

              เช่น

               ๏ แน่นเนืองเนื่องนับ                                                 ลาดับโดยหมู่
          ทันใดราชผู้                                                               เป็นใหญ่ในสภา
          เริ่มอารัมภ์พจน์                                                           ตามบทมีมา
          ชี้แจงจักปรา                                                               รภกันฉันใด



          ๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่านเกิดภาพขึ้นใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากวี
          ตามที่กวีต้องการ



        ๒.๓ อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คาเชื่อมที่มี ความหมาย
ช่นเดียวกับ คาว่า “เหมือน” เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน เพียง เพี้ยง

พ่าง
ตัวอย่าง เ ช่น

                          อับแสงสุริยรังรจนา                ดุจมือแมนมา

                  พิจิตรด้วยแก้วแกมกล



    ๑. ลีลาการประพันธ์

ลีลา การเขียน หรือ อาจเรียกว่าโวหาร เป็นการเลือกและเรียบเรียงถ้อยคาให้ได้ความหมายตามที่ผู้เขียน
ต้องการ ผู้เขียนจะเขียนอย่างไรจึงจะเสนอความคิดต่อผู้อ่านได้ตรงเป้าหมาย เกิดความเข้าใจกันระหว่าง
ผู้เขียนและผู้อ่าน

     ถ้าผู้เขียนเพียงแต่ต้องการอธิบายความ ควรใช้ภาษาง่ายๆ จัดระเบียบความคิดให้ถูกต้อง และมีการ
ยกตัวอย่างประกอบข้อความชัดเจน ถ้าต้องการพรรณนา จะต้องเขียนด้วยความรู้สึก ถ้อยคาที่ใช้จะต้อง
เลือกสรรอย่างประณีต เขียนให้เกิดความสนใจและประทับใจ เปรียบเทียบให้เห็นจริง ใช้ภาพพจน์ช่วยให้
เกิดความประทับใจ หยิบลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆ ขึ้นมาบรรยายให้เกิดความชัดเจน

   การทาให้เกิดความประทับใจกับคนอ่านลองใช้วิธีเหล่านี้ดู

             1.  ใช้ถ้อยคาชัดเจนแจ่มแจ้ง ไม่คลุมเครือหรือแย้งได้
             2.  ใช้คาพื้นๆ อ่านเข้าใจง่าย ผูกประโยคสั้นๆ ไม่ซับซ้อน
             3.  มีความกระชับ เขียนได้กะทัดรัด และตรงจุด
             4.  ใช้ภาษาถูกต้อง ตรงตามยุคสมัย
             5.  รู้จักเลือกสรร พูดในสิ่งที่ควรพูด ละเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์
             6.  มีแนวคิดแปลกๆ ใหม่ๆ ที่ผู้อ่านคาดไม่ถึง
             7.  พยายามใช้คาไทย คาสุภาพ คามีอานาจ ละเว้นคาสแลง คาหยาบ ศัพท์ยากๆ หรือ
                 ภาษาต่างประเทศ
             8. มีความไพเราะกลมกลืน ผูกประโยคได้สละสลวย ใช้คาเกลี้ยงเกลา ไม่สะดุดหู ข้อความทุก
                 ตอน ทุกย่อหน้า เชื่อมกันได้สนิท
             9. สามารถโน้นน้าวผู้อ่านให้สนใจ และประทับใจในเรื่องที่เขียน
             10. ลีลาการเขียนที่ดี จึงต้องให้คาน้อยที่สุด แต่แจ่มแจ้ง และเข้าใจง่าย
จัดทาโดย
นาย พงศกร สุดาหวัง เลขที่ ๗ ม.๖/๓

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์MilkOrapun
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12MilkOrapun
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2B'Ben Rattanarat
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 

What's hot (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์วิชุมมาลา ฉันท์
วิชุมมาลา ฉันท์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

วิช
วิชวิช
วิช
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
เหรียญจักรพรรดิมาลา
เหรียญจักรพรรดิมาลาเหรียญจักรพรรดิมาลา
เหรียญจักรพรรดิมาลา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 

Similar to วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ

สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบลอิ่' เฉิ่ม
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯ
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯ
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯMilkOrapun
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์อิ่' เฉิ่ม
 

Similar to วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ (20)

สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
 
งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
fff
ffffff
fff
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯ
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯ
ว ชช มมาลา ฉ_นท_ฯ
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
Lion
LionLion
Lion
 

วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ

  • 1. วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ ๏ แรมทางกลางเถื่อน ห่างเพื่อนหาผู้ หนึ่งใดนึกดู เห็นใครไป่มี หลายวันถั่นล่วง เมืองหลวงธานี นามเวสาลี ดุ่มเดาเข้าไป ๏ ผูกไมตรีจิต เชิงชิดชอบเชื่อง กับหมู่ชาวเมือง ฉันท์อัชฌาสัย เล่าเรี่องเคืองขุ่น ว้าวุ่นวายใจ จาเป็นมาใน ด้าวต่างแดนตน ๏ เขาแสนสังเวช สังเกตอาการ แห่งท่านอาจารย์ ท่าทีทุกข์ทน ภายนอกบอกแผล แน่แท้ทุพพล เห็นเหตุสมผล ให้พักอาศรัย ๏ ข่าวคราวกล่าวกัน อื้อพลันทันแพร่หลาย ลือล่ากาจาย แจ้งรั่วทั่วไป มนตรีกราบทูล เค้ามูลขานไข แด่องค์ท้าวไท แหล่งหล้าลิจฉวี ๏ ทรงทราบข่าวสาสน์ โดยราชดารัส สัญญาอาณัติ ทุ่มฆาฏเภรี ทุกไท้ราชา อาณาวัชชี มาชุมนุมมี การตรึกปรึกษา ๏ แน่นเนืองเนื่องนับ ลาดับโดยหมู่ ทันใดราชผู้ เป็นใหญ่ในสภา เริ่มอารัมภ์พจน์ ตามบทมีมา ชี้แจงจักปรา รภกันฉันใด
  • 2. ๏ พราหมณ์หนึ่งซึ่งเขา เป็นเปาโรหิต พวกปัจจามิตร์ มาคธเขตไกล ต้องราชอาญูา หนีมาอาศรัย จาไล่ให้ไป ฤๅรับเลี้ยงดู ฯลฯ ถอดความวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ วัสสการพราหมณ์พักตามทางกลางป่า ห่างไกลจากเพื่อน ๆ จะหาผู้ใดสักคนก็ไม่มี เป็นเวลาหลายวันจึงจะเข้าเขต เมืองเวสาลี อันเป็นเมืองหลวงของแคว้นวัชชี และมุ่งหน้าเดินเข้าไปในเมือง เข้าไปผูกมิตรกับชาวเมืองด้วยอัธยาศัยอันดี เล่าเรื่องราวแต่หนหลังให้ฟัง ชาวเมืองพากันสงสารเห็นใจ ประกอบกับท่าทางทุกข์ทรมานและบาดแผล เห็นสมเหตุสมผล จึงให้ที่พักอาศัย ข่าวเล่าลือกันไปแพร่หลายรู้กันทั่วไป ข้าราชการจึงนาเรื่องขึ้นกราบทูลกษัตริย์ลิจฉวี เมื่อทรงทราบข่าว จึงมีพระราชดารัสสั่งให้ตีกลองเป็นสัญญาณ เชิญกษัตริย์ลิจฉวีทุกพระองค์มาประชุมปรึกษาหารือ เมื่อมาประชุมอย่าง เนืองแน่นตามลาดับแล้ว กษัตริย์ลิจฉวีผู้เป็นประธานในที่ประชุมก็ทรงดารัสเริ่มต้นขึ้นถึงเรื่องที่เกิดขึ้นว่าจะทาประการใด พราหมณ์คนหนึ่งเป็นปุโรหิตแคว้นมคธซึ่งเป็นศัตรูของเรา ต้องโทษหนีมาอาศัยอยู่ในเมืองของเรา จะขับไล่ไปให้พ้นหรือ อุปการะไว้ดี ที่ประชุมทั้งหมดตกลงเป็นเสียงเดียวกันว่า บ้านเมืองของมันนั้นเป็นศัตรูกับวัชชีอย่างแน่ชัด อาจมีแผนการ หรือกลอุบายมาเป็นไส้ศึกสืบความลับ หากเห็นสิ่งใดไม่ชอบมาพากลก็ไล่มันไปเสียทันที แต่ขณะนี้ยังไม่แน่ชัดเป็นเพียง แค่ข้อสงสัยควรรั้งรอไว้ก่อน ให้ไปพาตัวเข้ามาสอบสวนความจริงเท็จเป็นประการใดเสียก่อนแล้วจึงจะสั่งการตามความ เหมาะสมต่อไป
  • 3. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. การสรรคา เป็นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและอารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้ ๑.๑ การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการ มีการใช้คาที่ประณีตเป็นพิเศษ เมื่อ กล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระมหากษัตริย์ ครู อาจารย์ จะใช้คาศัพท์ภาษสีสันสกฤต ดังบทประพันธ์ ๏ พราหมณ์หนึ่งซึ่งเขา เป็นเปาโรหิต พวกปัจจามิตร์ มาคธเขตไกล ต้องราชอาญูา หนีมาอาศรัย จาไล่ให้ไป ฤๅรับเลี้ยงดู ๑.๒ เล่นคาซ้า การใช้คาซ้ากันในตาแหน่งต่างๆของคาประพันธ์ ช่วยสร้างอารมณ์ความรู้สึกและ เน้นย้าความหมาย ตัวอย่างบทประพันธ์ ๑.๓ เล่นคาซ้อน เป็นการนาคาเดี่ยว ๒ คาที่มีความหมายหรือเสียงคล้ายกัน ใกล้เคียงกันมาเข้าคู่กัน โดยตาแหน่งของคาซ้อนอาจอยู่ชิดกันหรือแยกจากกัน เพื่อเล่นคาล้อและย้าความ เช่น ๏ แรมทางกลางเถื่อน ห่างเพื่อนหาผู้ หนึ่งใดนึกดู เห็นใครไป่มี
  • 4. ๑.๔ การหลากคา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คาไวพจน์ ทาให้เกิดความหมายอันไพเราะกินใจ เป็นสิ่ง ที่สร้างสรรค์อารมณ์ซึ่งอาจเกิดได้ด้วยกลวิธีต่างๆในการแต่งของกวี ๒. การใช้โวหารภาพพจน์ การใช้โวหารภาพพจน์ เป็นกลวิธีการนาเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้ แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทาให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึก สะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน ๒.๑ บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับเหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อเข้าใจง่าย เช่น ๏ แน่นเนืองเนื่องนับ ลาดับโดยหมู่ ทันใดราชผู้ เป็นใหญ่ในสภา เริ่มอารัมภ์พจน์ ตามบทมีมา ชี้แจงจักปรา รภกันฉันใด ๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่านเกิดภาพขึ้นใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากวี ตามที่กวีต้องการ ๒.๓ อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คาเชื่อมที่มี ความหมาย ช่นเดียวกับ คาว่า “เหมือน” เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน เพียง เพี้ยง พ่าง
  • 5. ตัวอย่าง เ ช่น อับแสงสุริยรังรจนา ดุจมือแมนมา พิจิตรด้วยแก้วแกมกล ๑. ลีลาการประพันธ์ ลีลา การเขียน หรือ อาจเรียกว่าโวหาร เป็นการเลือกและเรียบเรียงถ้อยคาให้ได้ความหมายตามที่ผู้เขียน ต้องการ ผู้เขียนจะเขียนอย่างไรจึงจะเสนอความคิดต่อผู้อ่านได้ตรงเป้าหมาย เกิดความเข้าใจกันระหว่าง ผู้เขียนและผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเพียงแต่ต้องการอธิบายความ ควรใช้ภาษาง่ายๆ จัดระเบียบความคิดให้ถูกต้อง และมีการ ยกตัวอย่างประกอบข้อความชัดเจน ถ้าต้องการพรรณนา จะต้องเขียนด้วยความรู้สึก ถ้อยคาที่ใช้จะต้อง เลือกสรรอย่างประณีต เขียนให้เกิดความสนใจและประทับใจ เปรียบเทียบให้เห็นจริง ใช้ภาพพจน์ช่วยให้ เกิดความประทับใจ หยิบลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆ ขึ้นมาบรรยายให้เกิดความชัดเจน การทาให้เกิดความประทับใจกับคนอ่านลองใช้วิธีเหล่านี้ดู 1. ใช้ถ้อยคาชัดเจนแจ่มแจ้ง ไม่คลุมเครือหรือแย้งได้ 2. ใช้คาพื้นๆ อ่านเข้าใจง่าย ผูกประโยคสั้นๆ ไม่ซับซ้อน 3. มีความกระชับ เขียนได้กะทัดรัด และตรงจุด 4. ใช้ภาษาถูกต้อง ตรงตามยุคสมัย 5. รู้จักเลือกสรร พูดในสิ่งที่ควรพูด ละเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ 6. มีแนวคิดแปลกๆ ใหม่ๆ ที่ผู้อ่านคาดไม่ถึง 7. พยายามใช้คาไทย คาสุภาพ คามีอานาจ ละเว้นคาสแลง คาหยาบ ศัพท์ยากๆ หรือ ภาษาต่างประเทศ 8. มีความไพเราะกลมกลืน ผูกประโยคได้สละสลวย ใช้คาเกลี้ยงเกลา ไม่สะดุดหู ข้อความทุก ตอน ทุกย่อหน้า เชื่อมกันได้สนิท 9. สามารถโน้นน้าวผู้อ่านให้สนใจ และประทับใจในเรื่องที่เขียน 10. ลีลาการเขียนที่ดี จึงต้องให้คาน้อยที่สุด แต่แจ่มแจ้ง และเข้าใจง่าย